Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานการนิเทศแนวใหม่

ใบงานการนิเทศแนวใหม่

Published by mantana130442, 2021-08-01 11:35:05

Description: ใบงานการนิเทศแนวใหม่

Search

Read the Text Version

ใบงาน การนิเทศการสอนแนวใหม่ ❖ ให้นกั ศกึ ษาตอบคำถามดังต่อไปนี้ ✓ การนิเทศแนวใหม่ประกอบด้วย ตอบ 1. การนิเทศแบบชแี้ นะสะท้อนคดิ ( Coaching) 2. การนิเทศแบบเป็นพเี่ ล้ยี งและสนบั สนนุ (Mentoring and Supporting) 3. การนิเทศแนวใหมบ่ นพืน้ ฐานการวจิ ยั (Research Based Supervision : RBS) ✓ กจิ กรรมการพฒั นาด้านเทคนคิ แนวใหมป่ ระกอบด้วย ตอบ 1. การสร้างความเข้าใจใหก้ บั ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจจุดมุ่งหมาย แนวทางการดำเนนิ งานและ พรอ้ มใหค้ วามรว่ มมอื 2. การพฒั นาการศึกษานเิ ทศกใ์ หม้ ีคุณลักษณะและความพรอ้ ม สรา้ งแรงจงู ใจในการทำงานเพื่อพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา 3. สร้างเครือขา่ ยการทำงานร่วมกนั ในทุกระดบั 4. สนับสนุนให้ศกึ ษานเิ ทศก์ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ การนเิ ทศแนวใหม่ ไดแ้ ก่ 1. การนิเทศแบบชแี้ นะสะท้อนคิด (Coaching) คอื ? การชแ้ี นะสะทอ้ นคิด เป็นกระบวนการให้คำแนะนำ หรอื ให้คำปรกึ ษาหรอื กระตนุ้ ใหเ้ กิดความคิดไตร่ตรอง ทบทวน (Reflective Thinking) พินิจวิเคราะห์และพิจารณาสิ่งต่าง ๆ อย่างรอบคอบ โดยใช้สติและสมาธิ ซึ่งเป็น วิธีการท่ที ำให้บุคคลได้ทบทวนและสะท้อนการกระทำของตน (Reflective Practice) ช่วยใหเ้ กิดความ เข้าใจและ เกดิ การเรยี นรู้จากประสบการณ์ นำไปสูก่ ารพัฒนา ปรบั ปรงุ ตนเอง ปรบั ปรุงงาน 2.การนิเทศแบบเปน็ พ่เี ลย้ี งและสนบั สนุน (Mentoring and Supporting) คือ? การนิเทศแบบพี่เลี้ยง (Mentoring) : ผู้ให้คำปรึกษาแนะนำช่วยเหลือผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน ในเรอื่ งการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและคุณภาพผ้เู รียนเพ่ือให้มศี ักยภาพการทำงานสงู ข้ึน

3.การนิเทศแนวใหม่บนพน้ื ฐานการวิจยั (Research Based Supervision : RBS) มีกระบวนการ อย่างไร? มีกระบวนการดังน้ี การวิเคราะห์ปัญหา การศกึ ษาหลกั การทฤษฎนี วัตกรรมทเ่ี ป็นไปได้ในการแก้ปัญหา เลือกนวัตกรรมที่เหมาะสมท่สี ุด สร้างตนั แบบนวตั กรรม ทดลองใช้และปรับปรุงอยา่ งต่อเนอื่ งทดลอง ภาคสนาม และการประเมนิ การทดลองใช้สรปุ ผล ➢ รูปแบบการนเิ ทศ แฮริส แบง่ เป็น 2 แบบ คือ 1. การนิเทศแบบเน้นการใหค้ ำแนะนำ (Tractive Supervision) คือ ตอบ แบบนผี้ นู้ เิ ทศจะไดค้ ำแนะนำใหผ้ ไู้ ดร้ บั การนิเทศไปปรับปรงุ แกไ้ ข 2. การนิเทศแบบเน้นความเป็นพลวัติ (Dynamic Supervision) คือ ตอบ แบบนี้ผู้นิเทศจะจุดประกายทางด้านความคิดเพื่อส่งเสริมให้ผู้ได้รับการนิเทศนำไปปฏิบัติ ผู้ได้รับ การนิเทศสามารถใช้ความรู้ความ สามารถตลอดจนประสบการณ์ที่ตนเองมีมาปรับปรุงการสอนตามความ เหมาะสมกบั สภาพความเปน็ จรงิ ➢ ดิ เทนเนอร์ และ แอลเทนเนอร์ 4 แบบ 1. การนิเทศแบบตรวจตรา (Inspection Supervision) คือ ตอบ ผู้นิเทศจะตรวจการทำงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎระเบียบของหลักสูตรที่กำหนดไว้ การ นเิ ทศแบบนเ้ี ป็นแบบเก่าแกท่ ใ่ี ช้มานาน 2. การนิเทศแบบเน้นผลงาน (Supervision as Production) คือ ตอบ การนิเทศแบบนี้จะดูผลงานของสถานศึกษาว่าสามารถผลิตผู้เรียนออกสู่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ มากหรอื ไมม่ ากน้อยเพยี งใด บางคนเรยี กการนเิ ทศแบบวิทยาศาสตร์ เพราะมีการวางแผนการทำงาน อย่างมีระบบ ระเบียบตรวจสอบย้อนกลับได้อย่างมีข้ันตอนท่ีชดั เจน) 3. การนิเทศแบบคลินกิ (Clinical Supervision) คือ ตอบ การนิเทศแบบนี้เน้นการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนในลักษณะที่พิจารณา และแก้ไขตาม ความเหมาะสมของผู้ได้รับการนิเทศแต่ละแห่ง จึงคล้ายกับการรักษาอาการเจ็บป่วยของคนไข้ ให้มีการ ฟื้นฟู สภาพได้ดีขึ้น แต่การนิเทศการศึกษาจะมุ่งให้ผู้ได้รับการนิเทศเปลี่ยนแปลงพฤติกรรการเรียนการ สอนให้มีความ เหมาะสม โดยผู้นิเทศและผู้ได้รับการนิเทศจะได้พบปะเผชิญหน้ากันไปปรับใช้ตามความ เหมาะสมและความ จำเปน็ เพ่ือประโยชน์ของการใชง้ าน 4. การนิเทศแบบเนน้ การพฒั นา (Developmental Supervision) คอื ตอบ การนิเทศแบบนี้เนน้ พฒั นาผไู้ ดร้ บั การนเิ ทศ ใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในการแก้ไขปัญหาของตนเอง ได้

การนเิ ทศการสอนแบบกลั ยาณมติ ร เนน้ ประเด็นสำคญั 4 ประการ 1. การสรา้ งศรัทธา หมายความวา่ ผนู้ เิ ทศจะต้องสร้างศรัทธา เพื่อให้เพื่อนครยู อมรบั และเกดิ ความสนใจที่ จะใฝ่รู้ ใฝป่ รับปรงุ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 2. การสาธิตรูปแบบการสอน หมายความว่า ผู้ให้นิเทศจะต้องเสดงให้เป็นที่ประจกั ษ์ชัดว่า การสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั นน้ั สามารถปฏบิ ัตแิ ละทำได้จริงๆ แล้วเพอื่ นครูสามารถนำรูปแบบโปประยกุ ต์ในช้ันเรียน ได้ 3. การร่วมคิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หมายความว่า ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ จะต้องมีการพบปะกันอย่าง สม่ำเสมอ มีการร่วมคิดแกป้ ญั หาและแลกเปล่ียนเรยี นรู้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ ซึ่งกันเละกัน 4. การตดิ ตามประเมินผลตลอดกระบวนการ หมายความว่า ผู้นิเทศจะต้องบันทกึ การนิเทศอย่างสม่ำเสมอ สังเกตและรับฟังข้อมูลป้อนกลับจากเพื่อนครูผู้รับการนิเทศ ศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไข เพื่อสร้าง สังคมแห่งการเรยี นอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ งสบื ไป • การนิเทศแบบร่วมพัฒนา( Cooperative Development Supervision) เป็นปฏิสัมพันธ์ทางการ นิเทศ ระหวา่ งกฝี่ ่าย ใครบา้ ง ตอบ เป็นปฏิสัมพันธ์ทางการนิเทศ ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์และครูผู้สอนในกระบวน นิเทศการศึกษาทีม่ งุ่ แก้ปญั หาและพัฒนาการเรยี นการสอนอย่างเป็นระบบ • การนิเทศแบบสอนงาน (Coaching) หมายถึง การให้คำปรึกษาแนะนำเป็นการพบระหว่างผู้นิเทศกับ ผู้รับการนิเทศ เป็นวิธีการพัฒนาบุคลากรให้สามารรถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแนะนำ หรอื เรยี นร้จู ากผ้ชู ำนาญ(Coach) ในลกั ษณะท่ีไดร้ บั คำแนะนำหรือเรยี นรไู้ ปพรอ้ ม ๆ กับการปฏิบตั ิ ขน้ั ตอนแบบโค้ชช่ิง มี 4 ขั้นตอน CQCD 1) C ย่อมาจากคำว่า Compliment หมายถึง การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ที่ทำหน้าที่เป็น Coach และผู้ให้คำแนะนำซ่ึงเปน็ สมั พนั ธภาพที่สรา้ งความไว้วางใจ ความสบายใจ ยนิ ดีรว่ มในทางของ Coaching Techniques นับเปน็ บทบาทสำคัญของ Coach ควรดำเนนิ การอยา่ งไร? ตอบ Coach ทจ่ี ะต้องดำเนนิ การ ดังนนั้ ควรดำเนนิ การดังนี้ 1. ศกึ ษาขอ้ มูลของผูท้ ี่ไดร้ ับการแนะนำเช่น จดุ เด่น ผลงานเดน่ ความชอบ อธั ยาศยั จุดอ่อน จุด ท่ตี ้อง ปรับปรุง ข้อมูลต่าง ๆ ควรบันทกึ ไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบมีความเหมาะสม 2. นำข้อมูลมาเป็นแนวทางในการสร้างสัมพันธภาพ ได้แก่ การชมเชย หรือการสร้างบรรยากาศ เพอ่ื การ เชอื่ มโยงไปสู่ขัน้ ตอ่ ไป 2) Q ย่อมาจากคำว่า Question หมายถึง การถามเน้นการถามในเชิงขอความคิดเห็นไม่ให้ผู้ตอบจนมุม หรือเกดิ ความไมส่ บายใจทจี่ ะตอบคำถาม Coach ควรดำเนนิ การอยา่ งไร? ตอบ ซ่งึ ผูเ้ ป็น Coach อาจจะใชค้ วามเหมาะสมของผรู้ บั คำแนะนำ และ สภาพปญั หา เช่น

- คณุ คิดวา่ ผมจะทำอะไรได้บ้าง - คณุ คิดวา่ มีวิธีการอะไรบ้างแกป้ ญั หาน้ี - คณุ คดิ วา่ ถา้ ใชว้ ธิ กี ารนี้แล้วจะเกิดอะไรขึ้น 3) C ย่อมาจากคำว่า Correct หมายถึง การเสนอแนะแนวทางแก้ไข Coach ควรดำเนินการอย่างไร? ตอบ ในขั้นตอนนี้ผู้เป็น C๐ach ควรให้ความสำคัญในชั้นตอนที่สืบเนื่องจากขั้น Question นำ คำตอบ ของผู้รับคำแนะนำมาวิเคราะห์และนำเสนอในส่วนที่ยังบกพร่องสังเคราะห์เป็นแนวการปฏิบัติ หรือการ พัฒนางานในลักษณะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และในขั้นตอนนี้ควรกำหนดบทบาทในการ ปฏบิ ตั ิแต่ละ เรอ้ื งชัดเจน 4) D ย่อมาจากคำว่า Demonstrate หมายถึง การนำข้อเสนอหรือแนวทางที่ตกลงกนั ไวใ้ นขั้นตอนของ การนิเทศ C - Correct หรือแผนการใช้นวัตกรรม ซึ่งผู้รับคำแนะแนวทางเป็นผู้ปฏิบัติ Coach ควร ดำเนนิ การอยา่ งไร? ตอบ ส่วนผ้ทู ่เี ปน็ Coach เป็นผแู้ นะนำอย่างใกล้ชดิ บางคร้งั Coach จะตอ้ งสาธติ ให้ดดู ้วย ช่ือ นางสาวมัณฑนา แววทราย รหัส 6110540231020 ชั้นปีท่ี 4 สาขาการสอนภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ มมร. วิทยาเขตล้านนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook