หนว่ ยท่ี 1การสอื่ สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บอ้ื งตน้ เสนอ ครู เพยี รวทิ ย์ ขามณี จดั ทาโดย นายวรษิ ฐ์ หวงั พงึ่ เดช ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ (ม.6) เลขท่ี 12
ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั เครอื ขา่ ย การประดษิ ฐค์ อมพวิ เตอรใ์ นสมัยแรกมีจดุ ประสงค์ เพ่ือจะให้คอมพวิ เตอรท์ างานบางอยา่ งแทนมนษุ ย์ เช่น การคานวณเลข เพราะคอมพวิ เตอรส์ ามารถคานวณได้เร็วกวา่ อกีทง้ั ยงั มคี วามแม่นยาและมคี วามผิดพลาดน้อยกวา่ มนษุ ย์ การทางานนน้ั ถา้ จะใหม้ ีประสิทธภิ าพสงู จะตอ้ งทาเป็นหมคู่ ณะ หรอื ทมี เวริ ค์ (Teamwork) คอมพิวเตอร์กเ็ ช่นกนัหากทาการเช่อื มต่อกนั เปน็ เครือขา่ ย กย็ ่อมมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ การทางานแบบเดี่ยว ๆการทางานเป็นกลมุ่ ของคอมพวิ เตอรน์ ี้จะเรยี กว่า “เครอื ขา่ ย” (Network)
ความหมายของเครือขา่ ย และการสอ่ื สารการสอื่ สาร(communication) หมายถงึ กระบวนการถา่ ยทอดหรอื แลกเปลย่ี นสารหรือสอ่ืระหว่างผูส้ ง่ กับผรู้ ับโดยสง่ ผา่ นชอ่ งทางนาสารหรอื สอื่ เพ่อื ให้เกดิ ความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกันการสื่อสารขอ้ มลู (datacommunication) หมายถึงกระบวนการหรอื วิธถี า่ ยทอดขอ้ มลูระหวา่ งผใู้ ชก้ บั คอมพวิ เตอรท์ ่มี ักจะอย่หู า่ งไกลกนั และจาเป็นต้องอาศัยระบบการส่อื สารโทรคมนาคม (telecommunication) เปน็ สอ่ื กลางในการรบั ส่งขอ้ มลูเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (computer network) หมายถงึ การเช่ือมโยงระหว่างเคร่อื งคอมพวิ เตอรต์ ัง้ แต่ 2 เครอื่ งขึ้นไป เพื่อให้สามารถสอื่ สารและแลกเปลยี่ นขอ้ มลู รวมทั้งสามารถใช้อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ภายในเครอื ขา่ ยรว่ มกนั ได้ เช่น ฮารด์ ดิสก์ เคร่อื งพมิ พ์ เป็นตน้ สว่ นประกอบของระบบสอื่ สารขอ้ มลู
1. ผสู้ ่ง (Sender) เป็นอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการส่งขา่ วสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหนา้ ทเี่ ตรยี มสร้างข้อมูล เช่น ผพู้ ดู โทรทศั น์ กลอ้ งวดิ โี อ เป็นต้น 2. ผ้รู บั (Receiver) เป็นปลายทางการสอื่ สาร มหี น้าทรี่ บั ขอ้ มูลท่สี ่งมาให้ เช่น ผฟู้ งัเคร่อื งรบั โทรทศั น์ เครือ่ งพิมพ์ เปน็ ตน้ 3. ส่ือกลาง (Medium) หรอื ตัวกลาง เปน็ เสน้ ทางการส่อื สารเพ่ือนาข้อมลู จากตน้ ทางไปยังปลายทาง ส่ือสง่ ข้อมูลอาจเปน็ สายคู่บดิ เกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรอื คล่ืนที่สง่ ผา่ นทาง 4. ขอ้ มูลข่าวสาร (Message) คอื สัญญาณอิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีส่งผา่ นไปในระบบสอื่ สาร ซ่ึงอาจถกู เรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบง่ เปน็ 5รูปแบบ ดงั น้ี 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตวั อกั ขระต่าง ๆ ซึง่ จะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เชน่ รหสั แอสกี เปน็ ต้น 4.2 ตัวเลข (Number) ใชแ้ ทนตัวเลขตา่ ง ๆ ซ่งึ ตัวเลขไม่ได้ถกู แทนดว้ ยรหัสแอสกีแต่จะถกู แปลงเปน็ เลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ขอ้ มลู ของรปู ภาพจะแทนด้วยจุดสีเรยี งกนั ไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสยี ง (Audio) ขอ้ มูลเสยี งจะแตกต่างจากขอ้ ความ ตัวเลข และรปู ภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเปน็ สัญญาณตอ่ เนอื่ งกนั ไป 4.5 วดิ โี อ (Video) ใช้แสดงภาพเคลอื่ นไหว ซง่ึ เกดิ จากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆรปู 5. โปรโตคอล (Protocol) คอื วธิ กี ารหรือกฎระเบียบทใี่ ชใ้ นการส่อื สารขอ้ มูลเพอื่ ให้ผู้รบัและผสู้ ง่ สามารถเข้าใจกนั หรอื คยุ กนั รเู้ รื่อง โดยท้ังสองฝง่ั ทง้ั ผู้รบั และผู้ส่งไดต้ กลงกนั ไว้ก่อนลว่ งหนา้ แลว้
การใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอื่ สารขอ้ มลู ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการส่อื สาร ทาให้เราหันมาใหค้ วามสาคัญตอ่การติดตอ่ ส่อื สารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาใหเ้ ราสามารถติดตอ่ เชือ่ มโยงข้อมลู ถึงกนั ได้ทว่ัโลก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของอนิ เทอร์เน็ต หรือด้านการตดิ ต่อสือ่ สารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ กอ่ ใหเ้ กิดการนาเทคโนโลยีการสื่อสารขอ้ มูลมาใชใ้ นวงการธรุ กจิ ตา่ ง ๆ เป็นการนาความรู้จากข้อมลู ข่าวสารท่ไี ดร้ ับมาสรา้ งทางเลือกในการตดั สนิ ใจในการดาเนนิ ธุรกจิ ตา่ ง ๆสง่ ผลใหเ้ ราสามารถลดตน้ ทุน ลดเวลาในการตดิ ต่อส่อื สารสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการใชง้ านทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเหมาะกับสภาพขององคก์ รในปัจจุบันที่ตอ้ งการการแข่งขันท่ีคอ่ นข้างสงู จากจุดเร่ิมแรกทาให้มกี ารใช้บริการด้านการส่อื สารโทรคมนาคมเพิ่มมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็นการใชง้ านผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต และเว็บไซต์เพื่อการพาณิชยต์ า่ ง ๆ ส่งผลให้เกิดแรงผลกั ดันในการพัฒนาเทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ พ่มิ ข้ึนอยา่ งรวดเรว็ เห็นได้ง่าย ๆ จากการเปล่ยี นแปลงจากการสื่อสารแบบอนาล็อกเป็นเทคโนโลยีเครือข่ายดิจิทลั ทาใหม้ คี วามเรว็ ในการสง่ ข้อมลู สูงขนึ้และส่งข้อมลู ได้เปน็ จานวนมาก ลดความผิดพลาดในการสง่ ขอ้ มูล ซงึ่ สามารถส่งสารสนเทศท้ังที่เปน็ ขอ้ มูลประเภท เสยี ง และวดิ ีโอ ไปพรอ้ ม ๆ กัน อกี ทัง้ การใชด้ าวเทยี มส่อื สารทาให้สามารถส่งข้อมูลภาพและเสียงข้ามซีกโลกได้อย่างรวดเร็ว รวมท้ังการใช้เซลลูลาห์หรือเครือขา่ ยไร้สายอน่ื ๆ
ประโยชนข์ องเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์1. ความสะดวกในการจัดเก็บขอ้ มลู การจดั เกบ็ ข้อมลู ซึง่ อยใู่ นรปู ของสญั ญาณอิเลก็ ทรอนิกส์สามารถจัดเกบ็ ไวใ้ นแผ่นบันทึก ทีม่ ีความหนาแน่นสงู ได้2. ความถกู ตอ้ งของข้อมลู โดยปกตมิ กี ารส่งขอ้ มูลดว้ ยสญั ญาณอิเลก็ ทรอนกิ ส์จากจดุ หนง่ึ ไปยงัอกี จดุ หนึง่ ด้วยระบบดจิ ทิ ลั3. ความเรว็ ของการทางาน สญั ญาณทางไฟฟา้ จะเดนิ ทางด้วยความเรว็ เท่าความเรว็ แสงทาให้การใชค้ อมพิวเตอรส์ ่งข้อมลู จากซกี โลกหนึ่งไปยังอกี ซกี โลกหนง่ึ4. ประหยัดตน้ ทุนในการสอื่ สารขอ้ มลู การเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอรก์ ันเป็นเครือขา่ ย เพื่อส่งหรอืสาเนาขอ้ มลู ไมส่ ูงนกั เมอื่ เทยี บกับการจดั สง่ แบบวิธอี ่นื5. สามารถเก็บขอ้ มลู เปน็ ศูนย์กลาง สามารถมีขอ้ มูลเพยี งชุดเดียวในระบบเครอื ข่ายซ่งึ ถอื เป็นขอ้ มลู สว่ นกลาง โดยในแตล่ ะแผนกในบริษทั สามารถดึงไปใช้ได้จากทเี่ ดยี วกัน6. การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ในระบบเครอื ขา่ ยน้ัน จะทาให้สามารถใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์รว่ มกันได้ โดยทอ่ี ปุ กรณต์ ัวน้นั อาจตอ่ อยู่กบั เครอื่ งใดเครือ่ งหนง่ึ ในเครือขา่ ย7. การทางานแบบกลมุ่ สามารถใช้ระบบเครือขา่ ยในการทางานในแผนกหรือกลมุ่ งานเดยี วกนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
การสอ่ื สารโทรคมนาคม การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถงึ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารดว้ ยการรับส่งขอ้ มลู ขา่ วสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านสอ่ื กลางทเ่ี ชื่อมต้นทางและปลายทางที่ห่างกัน โดยใช้อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ ลายรปู แบบ ตามกฎเกณฑ์ หรอื ระเบยี บวิธกี ารที่กาหนดขึ้นในแตล่ ะอปุ กรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การเช่ือมต่อเครอื่ งคอมพวิ เตอรต์ ้ังแตส่ องเครอ่ื งขึ้นไป เพอ่ื ขยายขดี ความสามารถท่มี จี ากัด ทาใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นข้อมลู หรอื แบง่ ปนั ทรัพยากรใหม้ กี ารใชง้ านร่วมกัน โปรโตคอล (Protocol) หมายถึง ระเบียบวิธกี าร มาตรฐาน หรอื กฎเกณฑ์ในการตดิ ตอ่ สื่อสาร ระหวา่ งกันของเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ตา่ ง ๆ หรอื วธิ ที ีถ่ กูกาหนดขึน้ เพือ่ การสอื่ สารขอ้ มลู ซงึ่ ผสู้ ง่ ขอ้ มลู จะตอ้ งสง่ ข้อมลู ในรปู แบบตามวิธกี ารสอ่ื สารท่ีตกลงไวก้ บั ผรู้ ับขอ้ มูล จงึ จะสามารถสอ่ื สารข้อมลู กันได้ อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถงึ การเชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์เข้าดว้ ยกนั ตามโครงการของอาร์ปา้ เน็ต (ARPAnet = Advanced Research ProjectsAgency Network) เปน็ หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงกลาโหมของสหรฐั(U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อต้งั เมอ่ื ประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพฒั นาเร่ือยมา
ความนา่ เชอื่ และมาตรฐานเครอื ขา่ ย ความน่าเชอื่ ถอื ของระบบเครือข่าย สามารถประเมินได้จากความถข่ี องความลม้ เหลวเครอื ขา่ ยทกุ ระบบมโี อกาสลม่ ได้เสมอ อยา่ งไรกต็ ามเครอื ขา่ ยทีไ่ ด้รบั การออกแบบที่ดี หากเครือข่ายเกิดข้อขัดข้องหรอื ลม้ เหลวดว้ ยประการใดกต็ าม ควรสง่ ผลกระทบต่อผ้ใู ชง้ านใหน้ อ้ ยที่สดุ เทา่ ท่ีเปน็ ไปไดแ้ ละหากเครือข่ายมคี วามถใี่ นการล้มเหลวอย่บู อ่ ยครัง้ นัน่ หมายถึงเครอื ขา่ ยน่นั มคี วามน่าเชื่อถอื ตา่ ระยะเวลาในการกคู้ นื ระยะเวลาในการกคู้ ืนระบบ กรณีเครอื ข่ายลม่ หรือเกดิ ข้อขัดข้องใด ๆ หากการกู้คนื ระบบสามารถแกไ้ ขได้ดว้ ยระยะเวลาอันส้นัย่อมดกี วา่ การกคู้ ืนระบบที่ตอ้ งใชร้ ะยะเวลายาวนาน โดยการก้คู นื หมายถงึ การกู้ระบบใหก้ ลับคนื สภาพเดมิ ทส่ี ามารถใช้งานได้ รวมถงึ การกู้คนื ข้อมูลกรณีทข่ี ้อมลู เกดิ ความสูญเสยี ความคงทนตอ่ ขอ้ ผดิ พลาดเครอื ขา่ ยทดี่ จี ะต้องมีระบบปอ้ งกันภัยตา่ ง ๆ ท่อี าจเกิดขึ้นจากเหตุการณใ์ ด ๆ ท่ีไม่คาดคิดได้เสมอไมว่ า่ จะเปน็ ระบบไฟฟา้ รวมถึงภยั ธรรมชาตทิ ไ่ี มส่ ามารถคาดการณล์ ่วงหนา้ ได้ดงั นั้นระบบเครือข่ายทีด่ ีจึงตอ้ งได้รบั การออกแบบให้มรี ะบบสารองขอ้ มลู ท่นี า่ เชอื่ ถอื รวมถงึอุปกรณส์ าคัญของระบบ หากทางานขดั ขอ้ ง อุปกรณต์ วั แทนสารถทางานแทนได้ทนั ทีเปน็ ตน้
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: