44 ๑๐. ค่าอาหารสําหรับการจัดกิจกรรมมื้อละไม่เกิน ๘๐ บาท หรือกรณีจําเป็นต้องจัดกิจกรรม ในสถานท่ขี องเอกชนให้เบิกจา่ ยไดเ้ ท่าที่จ่ายจรงิ แต่ไมเ่ กินมือ้ ละ ๑๕๐ บาท ๑๑. กรณีท่ีไม่สามารถจัดอาหารให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกมื้อ หรือจัดอาหารให้เพียงบางมื้อ ให้เบิกค่าใชจ้ า่ ย ดังนี้ ๑๑.๑ สําหรับครูให้เบิกจา่ ยค่าเบ้ยี เลี้ยงเหมาจ่าย ๑๑.๑.๑ โดยคํานวณเวลาต้ังแต่เวลาท่ีเดินทางออกจากสถานที่อยู่หรือสถานที่ปฏิบัติ ราชการ ตามปกติจนกลับถึงสถานท่ีอยู่หรือสถานที่ปฏิบัติราชการปกติแล้วแต่กรณี (นับเวลา ๒๔ ช่ัวโมง = ๑ วัน สว่ นทเ่ี กิน ๒๔ ช่วั โมง หากนบั ไดเ้ กิน ๑๒ ชวั่ โมง ใหน้ ับเพม่ิ อีก ๑ วนั ) ๑๑.๑.๒ นําจํานวนวนั ทัง้ หมด (ตามขอ้ ๑๑.๑.๑) คณู กับอตั ราคา่ เบี้ยเลย้ี งเหมาจ่ายตามสทิ ธิ ๑๑.๑.๓ นบั จํานวนมอ้ื อาหารทจี่ ดั ใหต้ ลอดการจัดกิจกรรม ๑๑.๑.๔ คํานวณค่าอาหารทั้งหมดโดยให้คิดค่าอาหารม้ือละ ๑ ใน ๓ ของอัตรา คา่ เบีย้ เลี้ยงเหมาจ่ายทีไ่ ด้รบั ๑๑.๑.๕ นําจํานวนเงินค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายท่ีคํานวณได้ตาม (ข้อ ๑๑.๑.๒) หักด้วย จาํ นวนเงินค่าอาหารทค่ี ํานวณได้ตาม (ขอ้ ๑๑.๑.๔) สว่ นทีเ่ หลอื เป็นคา่ เบย้ี เลยี้ งทีจ่ ะไดร้ บั ๑๑.๒ สาํ หรับนักเรียนใหเ้ บกิ จ่ายเปน็ ค่าอาหารในลักษณะเหมาจ่ายในอตั ราดังน้ี ที่ การจดั อาหารตอ่ วนั เบกิ คา่ อาหารในลกั ษณะเหมาจ่าย ๑ จัดอาหาร ๒ มอ้ื คนละไม่เกนิ ๘๐ บาทต่อวัน ๒ จดั อาหาร ๑ มื้อ คนละไมเ่ กิน ๑๖๐ บาทตอ่ วัน ๓ ไมจ่ ัดอาหารทัง้ ๓ ม้อื คนละไมเ่ กนิ ๒๔๐ บาทต่อวนั โดยใช้แบบใบสําคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมสําหรับนักเรียน เอกสารแนบ ๒ (หน้า 47) เปน็ หลักฐานการจ่าย ๑๒. ค่าเช่าท่ีพักตามที่หน่วยงานให้บริการที่พักเรียกเก็บหรือกรณีจําเป็นต้องพักในสถานที่ ของเอกชน ให้เบกิ จ่ายได้เทา่ ท่ีจ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กินอตั ราท่กี าํ หนด ดงั น้ี คา่ เช่าหอ้ งพกั คู่ ไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทตอ่ วนั ค่าเชา่ พักพักเด่ยี ว ไมเ่ กินคนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวัน ๑๓. คา่ จา้ งเหมาพาหนะรบั -สง่ ครแู ละนักเรยี นไปร่วมกิจกรรม/ขนส่งอปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการจัดกิจกรรม ๑๔. คา่ ใช้จ่ายเกย่ี วกบั การใชบ้ รกิ ารสุขาใหเ้ บิกไดต้ ามอตั ราที่หนว่ ยงานท่ใี หบ้ รกิ ารเรียกเกบ็ ๑๕. ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับการใชบ้ ริการพยาบาลใหเ้ บกิ ไดต้ ามอัตราทหี่ น่วยงานทีใ่ ห้บริการเรยี กเก็บ ๑๖. คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดประกวดหรือแข่งขัน ๑๖.๑ คา่ ตอบแทนกรรมการตัดสนิ ๑๖.๑.๑ กรรมการท่เี ป็นบุคลากรของรัฐเบกิ จ่ายไดใ้ นอัตราไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทตอ่ วัน ๑๖.๑.๒ กรรมการทม่ี ไิ ด้เปน็ บคุ ลากรของรฐั เบกิ จ่ายได้ในอัตราไมเ่ กินคนละ ๑,๒๐๐บาทต่อวัน ๑๖.๒ ค่าโล่หรือถ้วยรางวัลหรือของรางวัลท่ีมอบให้ผู้ชนะการประกวดหรือแข่งขัน เพ่ือเป็น การประกาศเกยี รติคุณชนิ้ ละไม่เกนิ ๑,๕๐๐ บาท ๑๗. ค่าใช้จา่ ยอ่นื ทจ่ี าํ เปน็ สาํ หรบั การจดั กิจกรรม
45 กรณีที่ ๒ โรงเรียนพานักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ร่วมการแข่งขันกับโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่น ซง่ึ เป็นผ้จู ัดกจิ กรรม/การแขง่ ขันให้เบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายได้ดังนี้ ๑. สาํ หรับครู ๑.๑ กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอ่ืนซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันมีการจัดอาหาร ท่ีพัก และพาหนะใหแ้ ล้ว ใหง้ ดเบกิ ค่าใช้จา่ ยดังกลา่ ว ๑.๒ กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซึ่งเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันไม่จัดอาหาร ท่ีพัก พาหนะท้ังหมดหรือจัดให้บางส่วนให้เบิกค่าใช้จ่ายท้ังหมดหรือส่วนท่ีขาดสําหรับครูตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ท่กี ําหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ ยกเวน้ คา่ เช่าทพ่ี กั ใหเ้ บกิ ได้เท่าทจ่ี ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทต่อวนั สาํ หรบั ค่าเชา่ ห้องพกั คแู่ ละไม่เกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทตอ่ วนั คา่ เชา่ ห้องพักเดี่ยว ค่าเบยี้ เล้ยี งเดนิ ทางใหค้ าํ นวณเชน่ เดยี วกันกับกรณีที่ ๑ ขอ้ ๑๑.๑ ๒. สาํ หรับนักเรยี น ๒.๑ กรณีโรงเรียนอ่ืนหรอื หน่วยงานอืน่ ซึ่งเป็นผู้จดั กิจกรรม/การแขง่ ขนั มีการจัดอาหาร ทีพ่ กั และพาหนะให้แล้ว ให้งดเบกิ ค่าใชจ้ ่ายดงั กลา่ ว ๒.๒ กรณีโรงเรียนอ่ืนหรือหน่วยงานอ่ืนซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันไม่จัดอาหาร ท่ีพัก พาหนะทงั้ หมดหรือจัดให้บางส่วน ใหเ้ บิกค่าใชจ้ า่ ยทั้งหมดหรอื สว่ นท่ีขาดให้กับนักเรยี น ดังน้ี คา่ อาหารในลกั ษณะเหมาจา่ ย ตามขอ้ ๑๑.๒ (ส่วนของนักเรียน) ค่าเชา่ ทีพ่ ักเหมาจา่ ยไมเ่ กนิ คนละ ๕๐๐ บาทตอ่ วัน คา่ พาหนะให้เบกิ จา่ ยไดต้ ามสทิ ธิของขา้ ราชการตาํ แหน่ง ประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงาน (เทยี บเทา่ ระดับ ๑-๔) ใชแ้ บบใบสําคญั รบั เงนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดกจิ กรรมสําหรบั นักเรียน เอกสารแนบ ๒ (หนา้ 52) เปน็ หลกั ฐานการจา่ ย ๓. ค่าใชจ้ า่ ยอ่ืนทีจ่ าํ เป็นสาํ หรบั การพานกั เรียนไปรว่ มกิจกรรม/รว่ มการแข่งขัน หมายเหตุ การพิจารณาเบกิ จ่ายคา่ ใช้จ่ายดังกล่าวใหค้ าํ นึงถึงความจําเปน็ เหมาะสม ประหยดั ภายในวงเงิน ที่อยใู่ นความรับผดิ ชอบเทา่ นนั้ และต้องไม่เปน็ เหตใุ นการเรยี กเกบ็ เงนิ จากผู้ปกครองเพิม่ เตมิ ด้วย
46 เอกสารแนบ ๑ ใบสาํ คญั รบั เงนิ สาํ หรบั วทิ ยากร ชื่อสว่ นราชการผจู้ ดั กจิ กรรม...................................................................................................................... โครงการ/หลกั สตู ร/กจิ กรรม...................................................................................................................... วันท่.ี ......เดอื น...............พ.ศ................... ขา้ พเจา้ ....................................................................อย่บู ้านเลขที่......................................... ตาํ บล/แขวง.....................................อาํ เภอ/เขต......................................จังหวดั ........................................ ไดร้ บั เงินจาก..................................................................................ดังรายการต่อไปน้ี รายการ จํานวนเงิน จาํ นวนเงนิ (.........................................................................................................) (ตัวอักษร) ลงชอื่ .................................................................ผูร้ ับเงิน (................................................................) ลงชอ่ื ................................................................ผู้จ่ายเงนิ (................................................................)
47 เอกสารแนบ ๒ แบบใบสําคญั รบั เงนิ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั กจิ กรรมสาํ หรบั นกั เรียน ชื่อส่วนราชการผจู้ ดั กจิ กรรม...........................................โครงการ/หลกั สตู ร/กจิ กรรม................................... วันท.่ี ............เดอื น.............................พ.ศ. ...............ถงึ วันท.่ี ............เดอื น..............................พ.ศ. .............. จํานวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมท้งั สนิ้ .....................คน ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมได้รับเงินจากโรงเรยี น................................ สังกดั สพป. ..................................................../สพม. .................................................ปรากฏรายละเอยี ดดงั น้ี ลําดับที่ ชื่อ – สกุล ทอ่ี ยู่ ค่าอาหาร คา่ เชา่ ท่ีพัก ค่าพาหนะ รวมเปน็ เงนิ วนั เดือน ปี ลายมือชอ่ื (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ที่รับเงิน รวมเปน็ เงนิ ทง้ั ส้ิน ลงชอื่ .................................................................ผูจ้ ่ายเงิน (..........................................................) ตําแหน่ง..............................................................
48 แนวทางการดาํ เนนิ การเลอื กซือ้ หนงั สอื เสริมประสบการณ์ สําหรบั เดก็ ปฐมวัยตามกิจกรรมการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ตามโครงการขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งทว่ั ถึงและมีคณุ ภาพ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 รัฐบาลกําหนดนโยบายด้านการศึกษาให้ทุกคนมีโอกาสได้รับโครงการขยายโอกาสการเข้าถึงบริการ ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยจัดงบประมาณสําหรับหนังสือเสริม ประสบการณ์ อุปกรณ์การเรยี น เครื่องแบบนักเรียนและกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ซึ่งในแต่ละรายการ มีรายละเอียดทีเ่ กีย่ วกบั การศกึ ษาระดับอนบุ าล ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61 ดังนี้ หนงั สอื เสริมประสบการณ์สําหรบั เดก็ ปฐมวัย ๒๐๐ บาท/ปี อปุ กรณก์ ารเรียน ๑๐๐ บาท/ภาคเรียน (เชน่ สีเทยี น ดินนํ้ามนั ไรส้ ารพษิ กรรไกร ฯลฯ) เคร่ืองแบบนักเรยี น (๒ ชุด/ป)ี ๓๐๐ บาท/ปี กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ๒๑๕ บาท/ภาคเรียน (กจิ กรรมวิชาการ กิจกรรมคณุ ธรรม/ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาดทศั นศึกษา การบรกิ ารเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) หนังสอื เสริมประสบการณส์ าํ หรบั เดก็ ปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕60 กําหนดหลักการจัดประสบการณ์สําหรับเด็กปฐมวัย อายุ ๓-๕ ปี เพ่ือพัฒนาเด็กองค์รวม อย่างต่อเน่ืองในรูปแบบบูรณาการ ไม่สอนเป็นรายวิชา ยึดหลักการบูรณา การท่ีว่า หน่ึงแนวคิดเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หน่ึงกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะ หลายประสบการณ์สําคัญ การท่ีเด็กมีโอกาสได้เลือกอ่านหนังสือบ่อยๆ จะทําให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ หนังสือและคุ้นเคยกับตัวหนังสือ ส่ิงสําคัญท่ีควรตระหนักคือหากเด็กมีประสบการณ์ท่ีดีและมีความสุข ในการใช้หนังสือ จะเป็นส่วนสําคัญท่ีช่วยปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านได้อย่างดีย่ิงในอนาคต หนังสือ เสริมประสบการณ์สําหรับเด็กปฐมวัยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสนองความต้องการของเด็ก เสริมสร้างความคิด สรา้ งสรรค์ พัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นภาษา ปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคตใิ ห้เด็กเกิดนสิ ยั รักการอา่ น คณุ สมบตั หิ นงั สือเสรมิ ประสบการณส์ ําหรบั เดก็ ปฐมวัยสิ่งทค่ี วรคาํ นงึ ถึง ๑. ความสอดคล้องกับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕60 ๑.๑ สอดคล้องกับจุดหมายของการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๑.๒ สอดคล้องกบั หลกั การจดั ประสบการณก์ ารศกึ ษาปฐมวัย ๑.๓ เหมาะสมกับวัยความสนใจความสามารถและพฒั นาการของเด็กปฐมวัย 1.4 เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม บรบิ ทสังคมและวฒั นธรรมของท้องถิ่น อายุ ๓-4 ปี เด็กวัยนี้มีความอยากรู้อยากเห็นในสิ่งต่าง ๆ รอบตัว พูดได้มากข้ึน สนใจในความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล รู้ถึงความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย ควรตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก เดก็ สามารถเลา่ เรื่องที่ตนประสบมาใหผ้ ้อู ื่นฟังเขา้ ใจ ถามอะไร ทีไ่ หนและเดก็ สามารถวาดวงกลมได้ตามแบบ
49 อายุ ๔-5 ปี เด็กวัยนี้เป็นวัยท่ีอยากรู้อยากเห็น ต้องการที่จะรู้ว่าส่ิงนั้นส่ิงนี้มาจากไหน ทําไมจึงเป็นเช่นนี้ ทําไมจึงเป็นอย่างน้ันอย่างน้ี สิ่งนี้ความเป็นมาอย่างไร วัยนี้เร่ิมจะเข้าใจข้อแตกต่างระหว่างความจริงและเรื่อง สมมติ นิทานท่ีเหมาะสําหรับเด็กวัยน้ีควรจะเป็นเรื่องส้ันเข้าใจง่าย มีตัวละครตัวเอกเพียงตัวเดียว และตัวละคร ร่วมอีก ๒-๓ ตัว เรื่องท่ีส่งเสริมจินตนาการและอิงความจริงอยู่บ้าง เด็กสามารถเล่าเรื่อง นิทานและออกเสียงได้ ถูกตอ้ ง อายุ ๕-6 ปี เด็กวัยน้ีเรม่ิ สนใจโลกของความเปน็ จริง ร้จู กั ส่งิ แวดลอ้ มท่ีห่างตัวมากขึ้น เร่ิมเขา้ ใจว่าตัวเอง เป็นส่วนหน่ึงของส่ิงแวดล้อม ไม่ใช่เป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่างเช่นแต่ก่อน เนื้อหาของเร่ืองควรส่งเสริม พฒั นาการด้านสติปญั ญาดว้ ยจะเปน็ เรอื่ งจรงิ ในปจั จุบันหรอื เป็นเรอื่ งประเภทวีรบุรุษทงั้ หลายกไ็ ด้ ๒. คุณลกั ษณะของหนงั สอื ๒.๑ รูปเลม่ ๑) ปกมีความสวยงามนา่ สนใจ ๒) ขนาดรปู เล่มเหมาะสมกบั วัยของเด็ก ๓) ขนาดของตวั อกั ษรเหมาะสมกับวัยของเด็ก ๔) จาํ นวนหนา้ และจํานวนคําศพั ทเ์ หมาะสมกับวัยของเดก็ ๒.๒ สสี บายตาและไม่ใช้สสี ะท้อนแสง ๒.๓ ภาพประกอบ - มภี าพชัดเจนเหมาะสมกบั วยั เดก็ ออกแบบรูปภาพนา่ สนใจใหเ้ รื่องราวต่อเนื่อง และ ตอ้ งไมเ่ ปน็ ภาพที่ทําให้เด็กเกิดความหวาดกลัวและมชี อ่ งว่างพกั สายตา ขนาดเหมาะสมกับวัยของเดก็ ๒.๔ กระดาษ - ควรเปน็ กระดาษชนิดดี เชน่ กระดาษปอนด์ กระดาษอาร์ต ฯลฯ ๒.๕ ภาษา - ภาษาท่ีใช้ควรมีความถูกต้อง สละสลวย ชว่ ยใหเ้ กิดจินตนาการและเหมาะสมกับวัยของเด็ก ๒.๖ เนื้อหา - เนอื้ เร่อื งไม่ยากเกินไป ไม่สลับซบั ซอ้ น ไม่ขดั แย้งกับคา่ นยิ มคุณธรรม ๓. ประเภทของหนังสอื ท่ีหลากหลายเหมาะสมกบั วัยของเด็กปฐมวยั ประเภทของหนงั สอื ที่เหมาะสมกบั เดก็ ปฐมวยั ควรมีความหลากหลายมเี หตกุ ารณ์ที่คาดเดาได้ มลี ักษณะเป็นคาํ กลอน คาํ คล้องจองเป็นจังหวะ มีรูปแบบซ้ํา ภาพสวยงาม เช่น ๓.๑ หนังสือนิทาน เชน่ นิทานพ้ืนบ้าน นิทานชาดก เทพนยิ าย นิทานอสี ปทงั้ ทเี่ ปน็ รอ้ ยแก้ว และรอ้ ยกรอง ๓.๒ หนังสอื ภาพ เช่น หนงั สอื ภาพประกอบ/หนังสอื ภาพสามมติ ิ ๓.๓ สารานกุ รมภาพสาํ หรบั เด็กอนุบาล ๓.4 หนงั สือทแ่ี สดงวธิ ีการทําหรอื ประดษิ ฐ์ส่งิ ตา่ ง ๆ ๓.5 นิตยสารสําหรับเด็ก ๓.6 หนงั สอื เสริมประสบการณก์ ารเรียนรสู้ าํ หรับเดก็ ปฐมวัย ๓.7 หนังสือท่ีมีเสียงประกอบ หนังสือพลาสติก หนังสือผ้า หนังสือที่ผลิตจากวัสดุอื่น ที่ไมเ่ ปน็ อนั ตราย หนงั สือรปู ทรงขนาดผิวสมั ผสั ท่แี ตกตา่ งกนั ทาํ ให้เกิดการเปรยี บเทยี บจัดหมวดหมู่ ฯลฯ
50 แนวทางการเลอื กหนังสอื เสรมิ ประสบการณ์สาํ หรบั เดก็ ปฐมวัย การคัดเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์สําหรับเด็กปฐมวัย สถานศึกษาดําเนินการตามขั้นตอน คือ ครูผู้สอนเป็นผู้เลือกหนังสือเสริมประสบการณ์สําหรับเด็กปฐมวัยเสนอให้คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการ ภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชนและผู้แทน กรรมการนักเรยี น) ร่วมกนั พิจารณาคัดเลือกหนังสอื เสริมประสบการณ์สําหรบั เดก็ ปฐมวัย ดังนี้ ๑. คัดเลือกจากประเภทหนังสือเสริมประสบการณ์สําหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณสมบัติส่งเสริม และ พัฒนาเด็กตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕60 และ คณุ สมบตั ิหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์สําหรบั เด็กปฐมวัยท่ีเสนอแนะข้างต้นและ/หรือ ๒. เลือกจากตัวอย่างรายช่ือหนังสือเสริมประสบการณ์สําหรับเด็กปฐมวัยที่ผ่านการประกวด/ การคดั เลือกจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หมายเหตุ รายละเอยี ด Download จากเว็บไซตข์ องสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ท่ี (http://academic.obec.go.th) และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (http://www.obec.go.th) ขอ้ เสนอแนะ ๑. ควรเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ท่ีหลากหลายประเภท มีความหลากหลายในด้านของผู้แต่ง ผู้วาดภาพประกอบ และเนื้อหาการเรียนรู้ เพราะจะช่วยให้เด็กมีโอกาสอ่านหนังสือเสริมประสบการณ์ ท่หี ลากหลายและเกดิ การเรียนรู้ไดม้ ากทสี่ ุด ๒. จาํ นวนหนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ควรเพยี งพอกับจาํ นวนเดก็
51 ขั้นตอนการจดั ซื้อหนงั สือเรยี น ศึกษาแนวทางการดาํ เนนิ งาน โครงการขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ าร ทางการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งทัว่ ถึงและมีคณุ ภาพ แต่งตง้ั 1. คณะกรรมการวิชาการ 2. คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย 3. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครผู ู้สอนคัดเลือกรายการหนงั สอื รายวชิ าพน้ื ฐานจากเวบ็ ไซต์ http://academic.obec.go.th/textbook/web โดยเลอื กจากบัญชี 1.1 และ 1.2 ซ้ือ ให้ครบทุกช้นั ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และครบทุกคน เสนอรายช่อื หนังสือผ่านความเห็นชอบคณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการภาคี 4 ฝา่ ย ฝา่ ยพสั ดพุ ิจารณาวิธกี ารจัดซ้อื โดยพิจารณา จากงบประมาณการจดั ซ้ือ วธิ เี ฉพาะเจาะจง มาตรา 56 (2) (ข) 1. คณะกรรมการ วงเงินไม่เกิน 500,000 บาท ซ้ือโดยวธิ ีคัดเลอื ก วธิ คี ดั เลือก มาตรา 56 (1) (ง) ขอใบเสนอราคาจากผ้ขู ายโดยตรง วงเงินเกนิ 500,000 บาท 2. คณะกรรมการ ตรวจรบั รายงานขอซอ้ื พร้อมแตง่ ต้งั คณะกรรมการ 2 ชดุ และ ประมาณ 3 วนั ทําการ ประมาณ 2 วันทาํ การ รายงานขอซ้อื พร้อมแต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ คณะกรรมการจดั ซอ้ื โดยวิธคี ดั เลือก และจดั ทาํ ใบส่ังซือ้ จัดทําหนงั สอื เชญิ ผขู้ ายอย่างนอ้ ย 3 ราย โดยมีคุณสมบตั ิตรงตามเง่ือน ไขที่หนว่ ยงานกาํ หนด ประมาณ 2 วันทาํ ก าร ประมาณ 3-5 วนั ทาํ การ ผขู้ ายจัดสง่ หนงั สือเรียน คณะกรรมการจัดซ้ือโดยวธิ คี ัดเลือก พิจารณาคัดเลือกผู้เสนอราคาเฉพาะราย ท่ีคณะกรรมการฯ ได้มีหนงั สือเชิญชวนเท่าน้นั
52 (ตอ่ ) คณะกรรมการจัดซือ้ โดยวิธคี ดั เลือก พจิ ารณาคัดเลือกผูเ้ สนอราคาเฉพาะราย ที่คณะกรรมการฯ ไดม้ ีหนงั สือเชิญชวนเทา่ น้ัน ประมาณ 1-2 วนั ทําการ ทํารายงานการจัดซอ้ื หนังสอื จากผูข้ ายทพี่ ิจารณาคัดเลอื กได้ ประมาณ 1-2 วนั ทาํ การ ทาํ หนงั สอื เชญิ ผู้ขายมาลงนาม ในสญั ญาซ้อื ขาย (ผ้ขู ายเตรียมหลักประกนั สัญญา 5% มาด้วย) ประมาณ 7 วนั ทําการ ผู้ขายจัดสง่ หนงั สอื เรยี น กรณีสง่ หนังสือตรงตามกาํ หนด กรณที ีส่ ง่ หนังสอื เรยี นเกินกําหนด คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ โรงเรียนแจง้ สงวนสทิ ธิการปรบั ดาํ เนนิ การตรวจรบั หนังสอื เรยี น ใหผ้ ้ขู ายทราบ (แจง้ อัตราการปรบั ) โรงเรยี นเบกิ จ่ายเงิน วนั ที่ผู้ขายสง่ หนังสือครบ คํานวณค่าปรับ คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ และแจ้งจาํ นวน ดําเนินการตรวจรบั หนงั สือเรยี น คา่ ปรบั ให้ผู้ขาย โรงเรียนเบิกจา่ ยเงินโดยหกั คา่ ปรับ ทราบ
ตารางแสดงการลดค่าใช้จ 1. โรงเรยี นปกติ ภาคเรยี นที่ 2/๒๕60 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ช้ัน ๑. ๒. ๓. รวม ๑. ห รายหัว อุปกรณ์ กิจกรรมพัฒนา รายหวั 1 การเรยี น คุณภาพผู้เรียน ๘๕๐ ๑ ๘๕๐ ๑ ก่อนประถมศกึ ษา ๘๕๐ อ.๑ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐ ๙๕๐ อ.๒ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐ ๙๕๐ อ.3 ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๙๕๐ ๙๕๐ ประถมศึกษา ๑,๗๕๐ ป.๑ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๑,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ป.๒ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๑,๙๐๐ ป.๓ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๑,๙๐๐ ๑,๙๐๐ ป.๔ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ป.๕ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ป.๖ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ มธั ยมศึกษาตอนต้น ม.๑ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕
จา่ ยของผปู้ กครอง/นกั เรยี น 53 ภาคเรยี นท่ี 1/๒๕61 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) รวม ๒ ภาคเรยี น ๒. ๓. ๔. ๕. ๒,๘๓๐ หนังสือ อปุ กรณ์ เครื่องแบบ กิจกรรมพฒั นา รวม ๒,๘๓๐ ๒,๘๓๐ เรียน การเรียน นักเรียน คุณภาพผู้เรียน ๑,๖๖๕ ๑,๖๖๕ ๓,755 ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ 3,749 ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๓,๗๕๒ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ 2,370 3,803 2,364 3,936 625 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๖๗ ๓,๙๔๘ 619 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,418 ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 2,551 6,014 673 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๕๖๓ 6,127 806 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๑๙๙ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 3,614 3,727 7,028 764 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๗๙๙ ๖,๙๗๓ 877 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๖,๘19 ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 4,423 ๔,๓๖๘ 1,318 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๒๑4 ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑,๑09 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕
ก. เงนิ ปจั จัยพน้ื ฐานนกั เรียนยากจน 1. โรงเรยี นปกติ ภาคเรียนท่ี 2/๒๕60 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ช้ัน ๑. ๒. ๓. รวม ๑. รายหัว อุปกรณ์ กจิ กรรมพฒั นา รายหวั การเรียน คุณภาพผู้เรียน ระดบั ประถมศึกษา จดั ให้กับนกั เรียนท่ีผา่ นเกณฑ์การคดั กรอง (รายได้เฉล่ียครวั เรือนไมเ่ กนิ 3,000 บาท แ คนละ ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี ป.๑ 500 ๕๐๐ 500 ป.๒ 500 ๕๐๐ 500 ป.๓ 500 ๕๐๐ 500 ป.๔ 500 ๕๐๐ 500 ป.๕ 500 ๕๐๐ 500 ป.๖ 500 ๕๐๐ 500 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น จดั ให้กับนกั เรียนท่ีผา่ นเกณฑ์การคดั กรอง (รายได้เฉลี่ยครวั เรือนไมเ่ กนิ 3,000 บาท แ คนละ ๓,๐๐๐บาท/คน/ปี ม.๑ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500 ม.๒ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500 ม.๓ 1,500 ๑,๕๐๐ 1,500
54 ภาคเรียนที่ 1/๒๕61 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม ๒ ภาคเรียน หนงั สอื อปุ กรณ์ เครอ่ื งแบบ กิจกรรมพัฒนา รวม ๑,๐๐๐ เรยี น การเรยี น นกั เรียน คณุ ภาพผู้เรยี น ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ และเกณฑ์สถานะครวั เรือน) ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ และเกณฑส์ ถานะครัวเรอื น) ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๑,๕๐๐
ข. จดั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ) 1. จัดโดยครอบครัว ภาคเรยี นที่ 2/๒๕60 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ช้นั ๑. ๒. ๓. รวม ๑. รายหวั อ.1 รายหวั อุปกรณ์ กิจกรรมพฒั นา ห อ.๒ ๓,๕๙๖ อ.3 การเรยี น คณุ ภาพผู้เรยี น ๓,๕๙๖ 1 ป.๑ ๓,๕๙๖ ๑ ป.๒ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๖๘๑ ๑ ป.๓ ๓,๖๘๑ ป.๔ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๖๘๑ ป.๕ ๓,๖๘๑ ป.๖ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๖๘๑ ม.๑ ๓,๖๘๑ ม.๒ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๕,๑๓๘ ม.๓ ๕,๑๓๘ ม.๔ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๕,๑๓๘ ม.๕ ๕,๓๐๓ ม.๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๕,๓๐๓ ๕,๓๐๓ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘
55 ภาคเรียนที่ 1/๒๕61 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รวม ๒ ภาคเรียน หนงั สือ อปุ กรณ์ เครอ่ื งแบบ กจิ กรรมพัฒนา ๔,๔๑๑ ๔,๔๑๑ ๘,๓๒๒ เรียน การเรยี น นกั เรียน คุณภาพผู้เรยี น ๔,๔๑๑ ๘,๓๒๒ 5,101 ๘,๓๒๒ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,095 ๙,217 ๕,๐๙๘ ๙,211 ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,๑4๙ ๙,๒๑๔ ๕,282 9,265 ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,๒๙๔ ๙,๓98 7,002 ๙,๔๑๐ 625 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๑15 ๑๒,๗90 ๗,๑๘๗ ๑๒,903 619 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,826 ๑๒,๙๗๕ ๗,๗๗๑ ๑๓,834 ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๖๑7 ๑๓,๗๗๙ ๑๓,๖๒5 673 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 806 ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ 764 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 877 ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ 1,318 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑,๑09 ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕
2. จดั โดยสถานประกอบการ ภาคเรียนท่ี 2/๒๕60 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ชัน้ ๑. ๒. ๓. รวม ๑. รายหวั ปวช.๑ รายหวั อุปกรณ์ กิจกรรมพัฒนา หน ปวช.๒ ๕,๘๖๘ เ ปวช.๓ การเรยี น คณุ ภาพผู้เรียน ๕,๘๖๘ ๕,๘๖๘ ๒, ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๒, ๒, ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓
56 ภาคเรียนที่ 1/๒๕61 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รวม ๒ ภาคเรยี น นงั สอื อปุ กรณ์ เครื่องแบบ กิจกรรมพฒั นา ๙,๔๗๓ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ เรียน การเรียน นกั เรยี น คุณภาพผู้เรยี น ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ๑๖,๐๔๖ ,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕
ค. โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ ๑) นกั เรยี นประจาํ ภาคเรียนท่ี 2/๒๕60 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ชัน้ พื้นฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรม รวม พืน้ ฐาน (ประจํา) การเรยี น พัฒนา อ.๑-อ.3 คณุ ภาพ 850 ป.๑ ผเู้ รยี น 950 ป.๒ 950 ป.๓ 850 14,450 100 215 15,615 950 ป.๔ 950 ป.๕ 950 14,450 195 240 15,835 950 ป.๖ 950 ม.๑ 950 14,450 195 240 15,835 1,750 ม.๒ 1,750 ม.๓ 950 14,450 195 240 15,835 1,750 ม.๔ 1,900 ม.๕ 950 14,450 195 240 15,835 1,900 ม.๖ 1,900 950 14,450 195 240 15,835 950 14,450 195 240 15,835 1,750 14,350 210 440 16,750 1,750 14,350 210 440 16,750 1,750 14,350 210 440 16,750 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900 14,350 230 475 16,955
57 ภาคเรียนท่ี 1/๒๕61 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) สมทบ หนงั สอื เรยี น อุปกรณ์ เคร่ืองแบบ กจิ กรรม รวม รวม พฒั นา ๒ 16,115 (ประจํา) (รวม/ชุด) การเรยี น นักเรยี น คณุ ภาพ 16,820 ภาคเรียน ผ้เู รียน 16,814 16,817 31,730 14,450 200 100 300 215 16,868 32,655 17,001 32,649 14,450 625 195 360 240 17,013 32,652 17,964 32,703 14,450 619 195 360 240 18,077 32,836 18,149 32,848 14,450 622 195 360 240 18,773 34,714 18,718 34,827 14,450 673 195 360 240 18,564 34,899 35,728 14,450 806 195 360 240 35,673 35,519 14,450 818 195 360 240 14,350 764 210 450 440 14,350 877 210 450 440 14,350 949 210 450 440 14,350 1,318 230 500 475 14,350 1,263 230 500 475 14,350 1,109 230 500 475
๒) นกั เรยี นไป-กลบั ภาคเรยี นท่ี 2/๒๕60 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ช้ัน พื้นฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรม รวม พื้นฐาน (ประจํา) การเรยี น พฒั นา อ.๑-อ.3 คุณภาพ 850 ป.๑ ผู้เรียน 950 ป.๒ 950 ป.๓ 850 3,610 100 215 4,775 950 ป.๔ 950 ป.๕ 950 3,610 195 240 4,995 950 ป.๖ 950 ม.๑ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 ม.๒ 1,750 ม.๓ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 ม.๔ 1,900 ม.๕ 950 3,610 195 240 4,995 1,900 ม.๖ 1,900 950 3,610 195 240 4,995 950 3,610 195 240 4,995 1,750 3,300 210 440 5,700 1,750 3,300 210 440 5,700 1,750 3,300 210 440 5,700 1,900 3,300 230 475 5,905 1,900 3,300 230 475 5,905 1,900 3,300 230 475 5,905
58 ภาคเรียนที่ 1/๒๕61 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เครอื่ งแบบ กิจกรรม รวม รวม (ประจาํ ) เรียน การเรยี น นักเรียน พฒั นา ๒ คณุ ภาพ 5,275 (รวม/ชดุ ) ผู้เรยี น 5,980 ภาคเรยี น 5,974 3,610 200 100 300 215 5,977 10,050 6,028 10,975 3,610 625 195 360 240 6,161 10,969 6,173 10,972 3,610 619 195 360 240 6,914 11,023 7,027 11,156 3,610 622 195 360 240 7,099 11,168 7,723 12,614 3,610 673 195 360 240 7,668 12,727 7,514 12,799 3,610 806 195 360 240 13,628 13,573 3,610 818 195 360 240 13,419 3,300 764 210 450 440 3,300 877 210 450 440 3,300 949 210 450 440 3,300 1,318 230 500 475 3,300 1,263 230 500 475 3,300 1,109 230 500 475
ง. โรงเรยี นการศึกษาพเิ ศษ ๑) นกั เรยี นประจาํ ภาคเรยี นที่ 2/๒๕60 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ชน้ั พน้ื ฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรมพฒั นา รวม พ้นื ฐาน (ประจํา) การเรยี น คุณภาพผู้เรยี น อ.๑-อ.3 850 ป.๑ 850 14,660 100 215 15,825 950 ป.๒ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๓ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๔ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๕ 950 14,660 195 240 16,045 950 ป.๖ 950 14,660 195 240 16,045 950 ม.๑ 950 14,660 195 240 16,045 1,750 ม.๒ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750 ม.๓ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,750 ม.๔ 1,750 14,550 210 440 16,950 1,900 ม.๕ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900 ม.๖ 1,900 14,350 230 475 16,955 1,900 1,900 14,350 230 475 16,955
59 ภาคเรียนที่ 1/๒๕61 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) รวม ๒ ภาค น สมทบ หนังสอื อปุ กรณ์ เคร่อื ง กิจกรรมพัฒนา รวม เรียน (ประจาํ ) เรียน การเรยี น แบบ คณุ ภาพผู้เรียน นกั เรียน (รวม/ชดุ ) 14,660 200 100 300 215 16,325 32,150 14,660 625 195 360 240 17,030 33,075 14,660 619 195 360 240 17,024 33,069 14,660 622 195 360 240 17,027 33,072 14,660 673 195 360 240 17,078 33,123 14,660 806 195 360 240 17,211 33,256 14,660 818 195 360 240 17,223 33,268 0 14,550 764 210 450 440 18,164 35,114 0 14,550 877 210 450 440 18,277 35,227 0 14,550 949 210 450 440 18,349 35,299 0 14,350 1,318 230 500 475 18,773 35,728 0 14,350 1,263 230 500 475 18,718 35,673 0 14,350 1,109 230 500 475 18,564 35,519
๒) นกั เรยี นไป-กลบั ภาคเรียนท่ี 2/๒๕60 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ชั้น พน้ื ฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรม รวม พ้นื ฐาน อ.๑-อ.3 (ไป-กลบั ) การเรียน พฒั นา 850 ป.๑ คณุ ภาพ 950 ป.๒ ผเู้ รียน 950 ป.๓ 950 ป.๔ 850 3,610 100 215 4,775 950 ป.๕ 950 ป.๖ 950 3,610 195 240 4,995 950 ม.๑ 1,750 ม.๒ 950 3,610 195 240 4,995 1,750 ม.๓ 1,750 ม.๔ 950 3,610 195 240 4,995 1,900 ม.๕ 1,900 ม.๖ 950 3,610 195 240 4,995 1,900 950 3,610 195 240 4,995 950 3,610 195 240 4,995 1,750 3,500 210 440 5,900 1,750 3,500 210 440 5,900 1,750 3,500 210 440 5,900 1,900 3,500 230 475 6,105 1,900 3,500 230 475 6,105 1,900 3,500 230 475 6,105
60 ภาคเรยี นที่ 1/๒๕61 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) รวม ๒ สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เคร่ืองแบบ กจิ กรรม รวม ภาคเรยี น (ไป-กลบั ) เรยี น การเรียน นักเรยี น พฒั นา (รวม/ชุด) คณุ ภาพ ผเู้ รยี น 3,610 200 100 300 215 5,275 10,050 5,980 10,975 3,610 625 195 360 240 5,974 10,969 5,977 10,972 3,610 619 195 360 240 6,028 11,023 6,161 11,156 3,610 622 195 360 240 6,173 11,168 7,114 13,014 3,610 673 195 360 240 7,227 13,127 7,299 13,199 3,610 806 195 360 240 7,923 14,028 7,868 13,973 3,610 818 195 360 240 7,714 13,819 3,500 764 210 450 440 3,500 877 210 450 440 3,500 949 210 450 440 3,500 1,318 230 500 475 3,500 1,263 230 500 475 3,500 1,109 230 500 475
จ. ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ภาคเรยี นที่ 2/๒๕60 (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ชัน้ ปัจจัย อุปกรณ์ กิจกรรม พ้ืนฐาน การเรยี น พฒั นา ประจาํ นักเรยี น คุณภาพ ไปกลบั ค่าอาหาร ประจาํ ผู้เรยี น รวม ค่าอาหาร 13,500 500 100 215 14,315 13,500 2,970 3,630 - 100 215 3,945 สาํ หรบั ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ไดร้ ับเงนิ อุดหนุนโครงการขยายโอกา จํานวน 4 รายการ ไดแ้ ก่ คา่ หนังสือเรียน คา่ อุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแบบ และปัจจยั พืน้ ฐานนักเรียนประจํา ซ่งึ ไดร้ ับจัดสรรในผลผลติ เดก็ พกิ ารได้รับก
61 ภาคเรียนที่ 1/๒๕61 (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61) ปจั จยั หนงั สือ อุปกรณ์ เคร่ืองแบบ กจิ กรรม รวม พนื้ ฐาน เรยี น การเรียน นักเรียน พฒั นา ๒ นักเรยี น คณุ ภาพ ประจาํ รวม/ชุด ผ้เู รียน รวม ภาคเรยี น 500 200 100 300 215 14,815 29,130 3,785 7,730 - 200 100 300 215 าสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ อย่างทัว่ ถึงและมีคณุ ภาพ บนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน ในสว่ นเงินอดุ หนนุ ค่าอาหาร การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและการพฒั นาสมรรถภาพ
62 ด่วนทส่ี ุด สํานักงานคณะสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐ ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/พิเศษ ๒๒ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ เรื่อง การเก็บเงนิ บํารุงการศึกษาและการระดมทรพั ยากร เรยี น ผอู้ าํ นวยการสาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาทุกเขต ส่งิ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๑. สําเนาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบาํ รงุ การศกึ ษาของสถานศึกษา สงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน จาํ นวน ๑ ชดุ 2. หลกั เกณฑ์เงินบํารุงการศึกษาของสถานศึกษาสงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน จํานวน ๑ ชุด ๓. สาํ เนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง การระดมทรัพยากรของสถานศกึ ษาสงั กัดสํานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน จาํ นวน ๑ ชดุ ๔. แนวปฏิบัติการระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จาํ นวน ๑ ชดุ ด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การเก็บเงินบํารุง การศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง การระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ในการน้ี สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จงึ ขอใหส้ ํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา แจง้ สถานศกึ ษาในสังกดั ทราบและถอื ปฏบิ ัติตาม ๑) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบํารุงการศึกษาสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ๒) หลักเกณฑ์การเก็บเงินบํารุงการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน 3) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ๔) แนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานดังสงิ่ ท่สี ง่ มาดว้ ย จงึ เรยี นมาเพ่ือทราบและพิจารณาดําเนนิ การต่อไป ขอแสดงความนับถอื (นายชนิ ภทั ร ภูมริ ตั น) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน สาํ นักนโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ โทรสาร๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖
63 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง การเกบ็ เงินบาํ รุงการศกึ ษาของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ------------------------------------ ด้วยกระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบํารุง การศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานประกาศ ณ วันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จงึ ยกเลกิ ประกาศดังกลา่ วและให้ใชป้ ระกาศฉบับน้ีแทน เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หนังสือสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ด่วนท่ีสุด ที่ นร ๐๙๐๑/๐๖๘๗ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ เรื่อง การเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดให้สถานศึกษา ในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เก็บเงินบํารุงการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน นอกหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซ่ึงมุ่งเน้นหลักสูตรท่ีมีเนื้อหาสาระมากกว่าปกติ การสอนด้วยบุคลากร พิเศษ การสอนด้วยรูปแบบ หรือวิธีการท่ีแตกต่างจาก การเรียนการสอนปกติ หรือการสอนท่ีใช้สอ่ื นวัตกรรมและ เทคโนโลยีท่ีจัดหาให้เป็นพิเศษตามอัตราที่เหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น โดยความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจของผู้ปกครองและนักเรียนภายใต้ หลกั เกณฑ์ทีส่ าํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้ันพืน้ ฐานกําหนด ทัง้ น้ี ตงั้ แตบ่ ัดนีเ้ ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวจั น์ เอ้อื อภญิ ญกลุ ) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
64 หลักเกณฑก์ ารเกบ็ เงนิ บาํ รุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ---------------------------- ด้วยปัจจุบันสถานศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียนค่าเครื่องแบบนักเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นต้น แต่ในการจัดการศึกษาสําหรับสถานศึกษาท่ีมีความพร้อม และ มีศักยภาพเป็นสถานศึกษาท่ีมีช่ือเสียงต้องการจะเพ่ิมพูนประสิทธิภาพและคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน ด้วยรูปแบบ วิธีการ ส่ืออุปกรณ์ และบุคลากรที่ทําการสอนเพิ่มเติมจากเกณฑ์มาตรฐานท่ัวไปของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเป็นกรณีพิเศษ โดยมีค่าใช้จ่ายนอกเหนือจาก ค่าใช้จ่ายท่ีรัฐจัดสรรให้กอปรกับ การตอบข้อหารือของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นว่า สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สามารถประกาศให้สถานศึกษาของรัฐในสังกัดเก็บค่าใช้จ่าย เพื่อจัดการศึกษานอกหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พื้นฐานได้ ในการจัดการศึกษาท่ีผ่านมาสถานศึกษาจํานวนมากได้จัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามมาตรา ๔๙ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แล้ว แต่ยังมีสถานศึกษาบางแห่ง เก็บค่าใช้จ่ายเพื่อจัดการศึกษาเพ่ิมเติมจากเกณฑ์มาตรฐานท่ัวไปของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นกรณีพิเศษ ดังนั้น เพ่ือให้การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเป็นไปในแนวทางเดียวกันและการมีส่วนร่วม สนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษารวมท้ังเป็นการคุ้มครอง ผู้ปกครองมิให้ เกิดผลกระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของนักเรียนสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกําหนดหลกั เกณฑ์ใหส้ ถานศกึ ษาถอื ปฏิบตั ิดงั น้ี ก.สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่สามารถเรียกเก็บเงิน สนับสนุนจากนกั เรียนหรือผปู้ กครองได้ เน่ืองจากรฐั บาลไดจ้ ่ายเงินงบประมาณเพ่อื อดุ หนนุ ใหแ้ ล้ว ดงั นี้ ๑. คา่ เล่าเรยี น ๒. คา่ หนังสอื เรยี น ๓. คา่ อุปกรณก์ ารเรยี น ๔. ค่าเคร่อื งแบบนกั เรยี น ๕. ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดกิจกรรมวิชาการ ปีละ ๑ คร้ัง ๖. คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรมคณุ ธรรม/ ชมุ นุมลูกเสือ / เนตรนารี /ยวุ กาชาด ปีละ ๑ ครั้ง ๗. ค่าใช้จา่ ยในการไปทศั นศกึ ษา ปีละ ๑ คร้งั ๘. คา่ ใช้จ่ายในการใหบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตตามหลักสตู ร และทีเ่ พ่ิมเตมิ จากหลกั สตู รปลี ะ ๔๐ ชวั่ โมง 9. ค่าวสั ดฝุ กึ สอน สอบพน้ื ฐาน ๑๐. ค่าสมุดรายงานประจําตัวนกั เรียน ๑๑. ค่าบรกิ ารห้องสมดุ ขัน้ พ้ืนฐาน ๑๒. ค่าบริการห้องพยาบาล ๑๓. คา่ วัสดุสาํ นกั งาน ๑๔. คา่ วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลน่ื 1๕. ค่าวสั ดุงานบ้านงานครัว 1๖. ค่าอุปกรณ์กฬี า
65 ๑๗. ค่าซอ่ มแซมครภุ ณั ฑแ์ ละอุปกรณก์ ารเรยี นการสอน ๑๘. ค่าใช้จ่ายในการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ๑๙. ค่าคู่มือนกั เรยี น ๒๐. คา่ บตั รประจําตวั นกั เรียน ๒๑. คา่ ปฐมนิเทศนักเรยี น ๒๒. ค่าวารสารโรงเรยี น สําหรับรายการท่ี ๑๙, ๒๐, ๒๑ และ ๒๒ หากโรงเรียนได้จัดทําเป็นลักษณะพิเศษอย่างมีคุณภาพ สามารถขอรับการสนับสนนุ ไดโ้ ดยประหยดั ตามความจําเป็นเหมาะสมกบั สภาพเศรษฐกิจของท้องถ่ิน ข. สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้นักเรยี นเกนิ มาตรฐานทรี่ ัฐจัดให้ สามารถขอรับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายได้ตาม ความสมัครใจของผ้ปู กครองและนักเรยี น ดงั นี้ ท่ี รายการ อตั ราการเกบ็ / คน / ภาคเรยี น ๑ หอ้ งเรียนพเิ ศษ EP (English Program) - ระดับกอ่ นประถมศกึ ษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่เกนิ ๓๕,๐๐๐ บาท - ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท ๒ หอ้ งเรียนพเิ ศษ MEP (Mini English Program) - ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาถึงมธั ยมศึกษาตอนต้น ไม่เกิน ๑๗,๕๐๐ บาท - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท ๓ ห้องเรยี นพิเศษด้านภาษาตา่ งประเทศด้านวชิ าการ เท่าทีจ่ ่ายจรงิ ตามความจาํ เปน็ และเหมาะสมกบั และด้านอ่ืน ๆ (เช่น หอ้ งเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถ่นิ ยกเวน้ คา่ ใช้จ่าย หอ้ งเรยี นพเิ ศษคณติ ศาสตร์ เปน็ ต้น) ห้องเรียนพิเศษ ด้านภาษาอังกฤษใหเ้ ก็บไดไ้ มเ่ กนิ ครึ่งหนึ่งของ ห้องเรยี น MEP การเปิดห้องเรียนพิเศษต้องได้รับอนุมัติจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือ สํานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา แลว้ แต่กรณี ค. สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนเพื่อเพ่ิมศักยภาพและความสามารถของนักเรียน ที่นอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้ตามความสมัครใจ ของผูป้ กครองและนกั เรียน โดยไมร่ อนสทิ ธน์ิ กั เรยี นทด่ี อ้ ยโอกาส ดงั น้ี ท่ี รายการ อตั ราการเกบ็ / คน / ภาคเรยี น ๑ โครงการพฒั นาทกั ษะตามความถนัด เทา่ ทจี่ ่ายจริง ตามความจาํ เปน็ และเหมาะสมกบั สภาพ ของนักเรยี นนอกเวลาเรียน ฐานะทางเศรษฐกจิ ของทอ้ งถ่นิ ทุกรายการรวมกนั ไมเ่ กิน ๑,๒๕๐ บาทตอ่ ภาคเรียน ๒ ค่าจา้ งครชู าวต่างประเทศ ๓ ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก ๔ ค่าเรียนปรบั พ้นื ฐานความรู้
66 ง. สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนเสริมเพ่ิมเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์มาตรฐาน ท่ัวไป ที่ได้งบประมาณจากรัฐ อาจขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง โดยประหยัดตามความจําเป็น และเหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของทอ้ งถนิ่ ตามความสมัครใจของผู้ปกครองและนักเรียน ดังน้ี ๑. คา่ จ้างครูทมี่ ีความเชย่ี วชาญในสาขาเฉพาะ ๒. คา่ สาธารณปู โภคสาํ หรับหอ้ งเรียนปรบั อากาศ ๓. ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณีโรงเรียนจดั คอมพิวเตอร์ให้นักเรียนเกนิ มาตรฐานท่ีรัฐจัดให้ (๑ เคร่อื ง : นักเรยี น ๒๐ คน) ๔. ค่าใช้จ่ายในการจัดร่วมโครงการ โครงงาน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเกินมาตรฐาน ที่รฐั จดั ให้ ๕. ค่าใช้จา่ ยในการไปทศั นศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ของนกั เรยี นเกินมาตรฐานท่ีรัฐจัดให้ จ. สถานศึกษาท่ีจัดให้มีการดูแลด้านสวัสดิการ และสวัสดิภาพนักเรียน อาจขอรับการสนับสนุน ค่าใชจ้ า่ ยได้เทา่ ที่จา่ ยจริงโดยประหยัด ตามความจําเปน็ และเหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น ตามความสมคั รใจของผู้ปกครองและนกั เรียน ดงั น้ี ๑. คา่ ประกนั ชวี ิตนักเรยี น / คา่ ประกันอบุ ตั ิเหตุนกั เรียน ๒. ค่าจ้างบุคลากรท่ีปฏบิ ตั งิ านในสถานศกึ ษา ๓. คา่ ตรวจสุขภาพนกั เรยี นเป็นกรณพี เิ ศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสุขของรฐั ๔. คา่ อาหารนกั เรยี น ๕. ค่าหอพกั ๖. ค่าซักรีด สําหรับสถานศึกษาที่จัดให้นักเรียนอยู่ประจํา สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, และ ๖ ได้เท่าท่ีจ่ายจริงโดยประหยัด ตามความจําเป็นและเหมาะสมกับสภาพฐานะ ทางเศรษฐกิจของท้องถ่ิน ฉ. สถานศึกษาตอ้ งพิจารณาให้การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นด้อยโอกาสใหไ้ ด้เรยี น โดยไม่รอนสิทธ์ิ ทจี่ ะไดร้ บั ดังนี้ ๑. การเรียนกับครูชาวต่างประเทศ หากสถานศึกษามีการจัดให้นักเรียนทุกคน ควรจัดให้ นกั เรียนด้อยโอกาสไดเ้ รยี นสัปดาหล์ ะไม่นอ้ ยกว่า ๒ ชัว่ โมง ๒. การเรียนการสอนโดยครทู ่ีสถานศึกษาจา้ งหรือโดยวิทยากรภายนอก ๓. คา่ สาธารณูปโภคสําหรับหอ้ งเรยี นปรบั อากาศ ๔. คา่ ตรวจสขุ ภาพนักเรียนเป็นกรณีพเิ ศษ นอกเหนอื จากการให้บรกิ ารสาธารณสุขของรฐั ๕. ค่าเรียนปรับพนื้ ฐานความรู้ ๖. คา่ อาหารนกั เรยี น 7. การเขา้ รว่ มกจิ กรรมวิชาการ/คณุ ธรรม/ชุมนมุ ลกู เสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาดและการไปทศั นศึกษา ๘. การเรียน การฝึกใช้คอมพวิ เตอร์ และการใช้บรกิ ารอนิ เตอรเ์ นต็ ปีละ ๔๐ ชัว่ โมง อนึ่ง การเก็บเงินบํารุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ตามข้อ ข, ค, ง, จ และ ฉ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ ไดร้ ับอนุมัตจิ ากสํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษากอ่ น จึงจะดําเนนิ การขอรับการสนบั สนุนได้โดยใหม้ ี การประกาศ ประชาสมั พันธใ์ หก้ ับผู้ปกครองและนกั เรยี นทราบล่วงหนา้
67 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง การระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษา สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ------------------------------- ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ เห็นกําหนดแนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษา สังกัด สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน เพื่ อให้ ทุ กภาคส่ วนของสั งคมมี ส่ วนร่ วมในการระดมทรั พยากรเพ่ื อจั ดการศึ กษาขั้ นพื ้น ฐ า น ตามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดให้สถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระดมทรัพยากรเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานวิชาการ การบริหาร งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารท่ัวไป โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจภายใต้หลักเกณฑ์ท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาํ หนด ทงั้ นี้ ตัง้ แตบ่ ดั นเี้ ป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวัจน์ เอ้ืออภญิ ญกลุ ) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
68 แนวปฏบิ ตั กิ ารระดมทรพั ยากรของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ---------------------------- ด้วยปัจจุบันการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนประกอบกับ มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ เปิดโอกาสให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุน ด้านงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บุคคลครอบครัว ชุมชนองค์กร ชุมชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืน และต่างประเทศมาใช้จัด การศึกษา ดังนั้น เพื่อให้การระดมทรัพยากรเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน จงึ กาํ หนดหลักเกณฑใ์ ห้สถานศึกษาถอื ปฏิบัติดงั นี้ ๑. สถานศึกษาสามารถระดมทรัพยากรได้ตามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ตลอดปี ๒. การระดมทรพั ยากรตอ้ งเปน็ ไปดว้ ยความสมคั รใจตามความเหมาะสมและความจําเปน็ ๓. สถานศึกษาต้องแต่งตั้งคณะกรรมการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมและ ให้แรงจูงใจในการระดมทรัพยากรจากบุคคลครอบครัว ชุมชนองค์กร ชุมชนเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอืน่ ๔. สถานศึกษาต้องเสนอแผนและโครงการในการระดมทรัพยากรเพ่ือขอความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๕. การใช้จ่ายทรัพย์สินและทรัพยากรอื่นที่ได้รับจากการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาจะต้อง สอดคลอ้ งกบั โครงการทไี่ ด้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๖. สถานศกึ ษาต้องรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการระดมทรัพยากรต่อคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน .........................................................
69 ประกาศสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เร่ือง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารนบั อายุเดก็ เพื่อเขา้ รบั การศึกษา ระดบั กอ่ นประถมศึกษา ในสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน --------------------------------- โดยที่เห็นสมควรให้มีการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุเด็กเพ่ือเข้ารับการศึกษา ระดับก่อนประถมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้เป็นไปตาม มาตรา 54 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงให้ยกเลิกประกาศ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกาศ ณ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 และใหใ้ ชป้ ระกาศฉบบั นี้แทน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งระดับและประเภท ของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๑ (๑) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้กําหนด หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ไว้ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ 1 การรับเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ใหร้ ับเด็กท่ีมอี ายุไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปบี ริบูรณ์ เข้ารับการศึกษา ในช้นั อนบุ าล 1 ข้อ 2 การนับอายุเด็กเพ่ือเข้ารับการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้นับต้ังแต่วันท่ีเด็กเกิดไปจนถึงวันเปิดภาคเรียนท่ี 1 วนั ที่ 16 พฤษภาคม ตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยปีการศึกษา การเปดิ และปิดสถานศกึ ษา พ.ศ. ๒๕49 ประกาศ ณ วนั ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 (นายการุณ สกุลประดษิ ฐ์) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
70 แนวปฏบิ ตั กิ ารรบั เดก็ เพอ่ื เขา้ รบั การศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศึกษาในสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (สาํ หรบั เดก็ อายุ 3 ปบี รบิ รู ณ)์ สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2560 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๕๔ กําหนดให้รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคน ได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งรัฐต้องดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่งเพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนร่วมในการดาํ เนนิ การด้วย นน้ั เพ่ือให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ สอดคล้องนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาสําหรับเด็กอายุ 3 ปีบริบูรณ์ในพื้นที่ขาดแคลน ไม่ซ้ําซ้อนกับหน่วยงานอื่นท่ีจัดอยู่แล้ว สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกําหนดแนวปฏิบัติในการรับเด็กอนุบาล อายุ 3 ปีบริบูรณ์ ของสถานศกึ ษา สงั กดั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดังน้ี 1. สถานศึกษาท่ีเคยรับเด็กอนุบาล อายุ 3 ปีบริบูรณ์ อยู่แล้วก่อนปีการศึกษา 2560 ให้สามารถ เปิดรบั เด็กอนุบาล อายุ 3 ปีบรบิ ูรณ์ ต่อไปได้ ไม่เกนิ จํานวนหอ้ งทร่ี ับอยู่เดิม 2. สถานศึกษาที่ไม่เคยเปิดรับเด็กอนุบาล อายุ 3 ปีบริบูรณ์ มาก่อน หากในเขตพ้ืนที่บริการไม่มี สถานศึกษาหรือศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดอ่ืนเปิดรับเด็กอนุบาล อายุ 3 ปีบริบูรณ์ ให้สามารถรับ เด็กอนบุ าล อายุ 3 ปีบริบูรณ์ ท่ีมภี ูมิลาํ เนาอยู่ในเขตพ้ืนทีบ่ รกิ ารไดต้ ามความพรอ้ มของสถานศกึ ษา 3. พ้ืนที่ใดในเขตบริการที่มีสถานศึกษาหรือศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สังกัดอ่ืนจัดการศึกษา อนุบาล อายุ 3 ปีบริบูรณ์อยู่แล้ว แต่มีจํานวนเด็กเกินขีดความสามารถในการรับของสถานศึกษาน้ัน ๆ ให้สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เปิดรับเด็กอนุบาล อายุ 3 ปีบริบูรณ์ ได้ตามความพร้อมของสถานศกึ ษา 4. การจัดชั้นเรียน เด็กท่ีมีอายุไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ เข้ารับการศึกษาในชั้นอนุบาล 1 เดก็ ทีม่ ีอายไุ มน่ ้อยกวา่ 4 ปีบรบิ ูรณ์ และ 5 ปีบรบิ ูรณ์ เข้ารบั การศึกษาในชน้ั อนบุ าล 2 และ 3 ตามลําดับ ทั้งน้ี การดําเนินการตามข้อ 1 ถึง 3 ให้ดําเนินการได้โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน และสาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา นัน้ ๆ ***********************
71 ด่วนทส่ี ุด ท่ี ศธ ๐4006/ว2951 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐ 31 พฤษภาคม 2560 เรอื่ ง การจดั ชนั้ เรยี นระดบั ชั้นอนบุ าลของโรงเรยี นในสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เรียน ผู้อํานวยการสํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา อ้างถึง 1. ประกาศสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2560 จาํ นวน 1 ฉบับ 2. แนวปฏบิ ตั กิ ารรับเดก็ เพ่อื เขา้ รับการศกึ ษาระดับก่อนประถมในสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (สําหรับเด็ก อายุ 3 ปบี ริบรู ณ์) สังกัด สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2560 จาํ นวน 1 ฉบบั ตามท่ี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ให้โรงเรียนในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานที่เข้าหลักเกณฑ์ตามประกาศการรับนักเรียนอายุ 3 ขวบ ของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จากเดิมสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานรับนักเรียนระดับชั้น อนุบาล 1 อายุ 4 ขวบ และชั้นอนุบาล 2 อายุ 5 ขวบ นัน้ ในการนี้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ขอแจ้งเร่ืองการจัดชั้นเรียนระดับ ช้ันอนุบาลของโรงเรียนในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจากเดิมช้ันอนุบาล 1 และช้ันอนุบาล 2 อายุ 4 -5 ขวบ เป็น ช้ันอนุบาล 1 อายุ 3 ขวบ ชั้นอนุบาล 2 อายุ 4 ขวบ ชั้นอนุบาล 3 อายุ 5 ขวบ และโรงเรียนทร่ี ับนักเรียนอายุ 4- 5 ปี จัดชั้นเรียนเปน็ ชั้นอนุบาล 2 และชั้นอนบุ าล 3 ตามลาํ ดบั เหน็ สมควร ให้สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาแจง้ การจดั ชั้นเรยี นระดับชั้นอนบุ าลให้โรงเรยี นทราบและถอื ปฏบิ ตั ิ จึงเรียนมาเพอ่ื ทราบและพจิ ารณาดาํ เนินการต่อไป ขอแสดงความนับถือ (นายการณุ สกลุ ประดษิ ฐ์) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สาํ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๘0 ๕530 โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๕๒๓๒
72 เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๑๓๖ ง หนา้ 11 ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙ ราชกิจจานเุ บกษา คาํ สงั่ หวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๒๘/๒๕๕๙ เรอ่ื ง ใหจ้ ดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ----------------------------------- ตามที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติกําหนดให้รัฐต้องจัดให้บุคคลได้รับการศึกษาขั้น พื้นฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายนั้น รัฐบาลท่ีผ่านมามีนโยบายจัดการศึกษาดังกล่าวโดยไม่เก็บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย เ ป็ น เ ว ล า ๑ ๕ ปี ต า ม ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี วั น ที่ ๑ ๓ ม ก ร า ค ม ๒ ๕ ๕ ๒ โ ด ย ข อ อ นุ มั ติ ต้ังงบประมาณเป็นรายปีและขยายขอบเขตการดําเนินการตามนโยบายของรัฐบาลแต่ละคณะมาเป็นลําดับ หั ว ห น้ า ค ณ ะ รั ก ษ า ค ว า ม ส ง บ แ ห่ ง ช า ติ พิ จ า ร ณ า แ ล้ ว เ ห็ น ว่ า โ ด ย ที่ เ ร่ื อ ง น้ี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ น โ ย บ า ย ด้านการศึกษาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ทั้งสามารถ ลดความเหล่ือมล้ํา สร้างโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรมในสังคม แก้ปัญหาความยากจน ตลอดจน ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จึงสมควรยืนยันแนวทาง ดังกลา่ วและพฒั นาต่อไปด้วยการยกระดับจากการเป็นโครงการตามนโยบายของแต่ละรฐั บาลใหเ้ ปน็ หน้าท่ีของ รัฐและมาตรการตามกฎหมาย เพื่อเป็นหลักประกันความย่ังยืนม่ันคง และเพื่อให้สามารถจัดงบประมาณ สนบั สนนุ ไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมีคําสัง่ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในคําส่ังน้ี “ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา” หมายความว่า งบประมาณท่ีรัฐจัดสรรให้แก่หรือ ผ่านทางสถานศึกษาหรอื ผูจ้ ัดการศกึ ษาเพ่ือเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ๑๕ ปี “การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี” หมายความว่า การศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล) (ถ้ามี) ระดับประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. ๓) หรอื เทยี บเท่า และใหห้ มายความรวมถึงการศึกษาพเิ ศษและการศึกษาสงเคราะหด์ ว้ ย “การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซ่ึงมีความผิดปกติอย่างหนึ่ง อยา่ งใด ซ่ึงจําเป็นตอ้ งจดั การศกึ ษาใหเ้ ป็นรูปแบบโดยเฉพาะ และอาศัยเทคนิคต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะ ความต้องการและความจําเป็นของแต่ละบุคคล “การศกึ ษาสงเคราะห์” หมายความวา่ การจดั การศกึ ษาให้แก่เดก็ ทตี่ กอยใู่ นภาวะยากลาํ บาก หรืออยู่ในสถานภาพท่ีด้อยกว่าเด็กท่ัวไป หรือที่มีลักษณะเป็นการกุศล เพ่ือให้มีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน มี พฒั นาการทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสมกบั วัย
73 ข้อ ๒ ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนดเตรียมการเพ่ือจัดให้ เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยส่งเสริมและสนับสนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และภาคเอกชนเข้ามีสว่ นร่วมในการดําเนนิ การด้วย ขอ้ ๓ ให้ส่วนราชการท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานดําเนนิ การจัดการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน ๑๕ ปี ให้มมี าตรฐานและคณุ ภาพ โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ ่าย ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีกําหนดอัตรา ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาสําหรบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๑๕ ปี เพื่อเสนอตามกระบวนการจัดทาํ งบประมาณรายจ่ายประจําปี คา่ ใชจ้ า่ ยตามวรรคสอง ได้แก่ (๑) คา่ จดั การเรยี นการสอน (๒) คา่ หนังสือเรยี น (๓) ค่าอปุ กรณ์การเรยี น (๔) ค่าเคร่ืองแบบนกั เรยี น (๕) ค่ากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน (๖) ค่าใช้จา่ ยอน่ื ตามท่ีคณะรฐั มนตรีเหน็ ชอบ ข้อ ๔ ให้กระทรวงศึกษาธกิ ารจัดทําหรือปรบั ปรุงกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ งเพ่อื นํามาใช้แทน และขยายผลตอ่ จากคําสั่งน้ีแลว้ เสนอคณะรฐั มนตรีพจิ ารณาภายในหกเดอื นนบั แต่วันทคี่ าํ สง่ั นี้ใชบ้ ังคับ ขอ้ ๕ ในกรณมี ีปญั หาเกีย่ วกบั การปฏิบตั ติ ามคาํ ส่ังนี้ ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มีอาํ นาจวินจิ ฉยั ช้ีขาด ขอ้ ๖ ให้อตั ราค่าใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษาตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานที่มผี ลใช้อยูใ่ นวันก่อนวนั ทคี่ าํ สง่ั น้ีใช้บงั คับ ยงั คงมผี ลใชบ้ ังคบั ต่อไปจนกวา่ จะมกี ารกําหนดอตั รา ค่าใชจ้ า่ ยสาํ หรับการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ๑๕ ปี ตามข้อ ๓ ขอ้ ๗ คาํ สั่งนใ้ี หใ้ ช้บงั คับต้งั แต่วนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป สง่ั ณ วันที่ ๑๕ มถิ นุ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา หวั หนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ
74
75 คาํ ส่งั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ที่ 1833/2560 เรอ่ื ง แต่งตง้ั คณะทํางานประชมุ จดั ทําแนวทางการดาํ เนนิ งานและการบริหารงบประมาณการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่าย ในการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ------------------------------------------- ตามที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 แผนงานบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการขยายโอกาส การเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ กิจกรรมการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน งบประมาณ จํานวน 36,230,405,900 บาท ประกอบด้วย ๕ รายการย่อย ได้แก่ ๑) ค่าจัดการเรียนการสอน ๒) ค่าหนังสือเรียน 3) ค่าอุปกรณ์การเรียน ๔) ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน ๕) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน โดยมีตัวช้ีวัด เชิงปริมาณ : จํานวนนักเรียนที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน จํานวน 6,945,488 คน ตวั ชีว้ ดั เชงิ คุณภาพ : รอ้ ยละของผู้ปกครองมีความพงึ พอใจที่ได้รับการบรกิ ารการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานร้อยละ ๑๐๐ น้ัน เพ่ือให้การบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานจึงไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะทาํ งานจดั ทําแนวทางการดาํ เนินงานและการบรหิ ารงบประมาณการสนับสนุน ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดังนี้ คณะทปี่ รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ๑. นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๒. นายณรงค์ แผว้ พลสง คณะทาํ งาน ประธานคณะทํางาน 1. ผู้อาํ นวยการสาํ นักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะทํางาน 2. ผู้อาํ นวยการสาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา หรอื ผู้แทน คณะทาํ งาน 3. ผูอ้ าํ นวยการสาํ นกั การคลงั และสนิ ทรพั ย์ หรือผู้แทน คณะทํางาน 4. ผอู้ าํ นวยการสาํ นักตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน หรือผูแ้ ทน คณะทาํ งาน 5. ผู้อาํ นวยการสํานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ หรอื ผู้แทน คณะทํางาน 6. ผู้อาํ นวยการสํานักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา หรอื ผู้แทน คณะทาํ งาน 7. ผูอ้ ํานวยการสํานักบริหารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื ผู้แทน คณะทํางาน 8 ผูอ้ ํานวยการสาํ นักการศึกษาภาคบงั คบั หรือผแู้ ทน คณะทํางาน 9. ผอู้ าํ นวยการกล่มุ ตรวจสอบภายใน หรือผู้แทน
76 10. นายรงั สรรค์ มณเี ลก็ คณะทํางาน ขา้ ราชการบํานาญ คณะทาํ งาน คณะทาํ งาน 11. นางสดุ าพร ปานกล่นิ ขา้ ราชการบาํ นาญ 12. นายทองสุข อยูศ่ รี ผ้อู าํ นวยการสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2 13. นายสมัย ธนะศรี คณะทํางาน คณะทาํ งาน ผอู้ ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานา่ น เขต 2 คณะทาํ งาน คณะทํางาน 14. นายธชั ชเวชว์ จนั ทรส์ ุขศรี คณะทาํ งาน ผู้อํานวยการสํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 13 15. นางเทียมจนั ทร์ สขุ ศิริ ผู้อาํ นวยการกลุ่มนโยบายและแผน สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 16. นายสมจติ สมอ ผู้อํานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สํานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 1 17. นางสาวสภุ คั มล ชนิ วงค์ ผอู้ าํ นวยการกลุ่มนโยบายและแผน สํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 18. นายประกอบ ทองดํา ผูอ้ ํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน คณะทาํ งาน สํานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพทั ลงุ เขต 1 19. นายพงกะพรรณ ตะกลมทอง ผอู้ ํานวยการกล่มุ นโยบายและแผน คณะทํางาน คณะทาํ งาน สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 คณะทํางาน คณะทาํ งาน 20. นางวิลาวัลย์ ทองแย้ม ผู้อํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน คณะทํางาน สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 21. นางสาววรนันท์ รวมสขุ ผ้อู าํ นวยการกลุม่ นโยบายและแผน สาํ นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพะเยา เขต 2 22. นายพิพัฒน์ เพ็ชรพรหมศร ผูอ้ าํ นวยการกล่มุ นโยบายและแผน สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1 23. นางพรพิมล ชนิ ภกั ดี ผูอ้ ํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 24. นางสาวอรัญญา แยงเจริญ ผอู้ ํานวยการกลุ่มนโยบายและแผน คณะทํางาน สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 36 25. นายกมล สุมาลา ผ้อู ํานวยการโรงเรยี นบ้านเนินมะปราง คณะทํางาน สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 2 26. นายนริศ ไชยแกว้ ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นบ้านทา่ มะเด่ือ คณะทํางาน สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3 27. นายวรวิทย์ ทรพั ย์ศริ ิ ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านหนองงูเหลือม (คุรรุ าษฎร์รฐั กิจโกศล) คณะทํางาน สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4
77 28. นายอดลุ ย์ นนั ท์บัญชา ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นดาํ รงราษฎร์สงเคราะห์ คณะทํางาน คณะทาํ งาน สํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 36 คณะทาํ งาน 29. นายประหยัด วงั วร ผู้อาํ นวยการโรงเรียนธาตุพนม สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 30. นางเยาวรัช ปรีดาพันธุ์ ผอู้ ํานวยการกล่มุ บริหารงานการเงนิ และสนิ ทรพั ย์ สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 31. นางสาวพรพมิ ล แจ่มกระจ่าง ผอู้ ํานวยการกลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์ คณะทาํ งาน คณะทํางาน สํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปราจีนบุรี เขต 2 คณะทํางาน คณะทาํ งาน 32. นางสาววันทนา จันทมณี ผู้อาํ นวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน คณะทาํ งาน สาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 33. นางสวุ รรณา ธรรมโม นกั วิชาการตรวจสอบภายในชํานาญการ สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 31 34. นางพัชรกนั ย์ เมธาอัครเกยี รติ ผอู้ าํ นวยการกลมุ่ บรหิ ารงานพสั ดุ สํานักการคลังและสินทรพั ย์ 35. นางสาวศรณว์ รัชท์ ทองเก่า นกั วชิ าการเงินและบัญชชี าํ นาญการ สํานักการคลังและสนิ ทรพั ย์ 36. นางวรรณี จันทศริ ิ ผู้อาํ นวยการกลุม่ พัฒนาสือ่ การเรียนรู้ คณะทํางาน สาํ นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา 37. นางสาวเจตนา พรมประดษิ ฐ์ นกั วิชาการศึกษาชาํ นาญการพิเศษ คณะทาํ งาน สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 38. นายอรุณ พรหมจรรย์ ผูอ้ ํานวยการกลมุ่ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน คณะทาํ งาน สาํ นักตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 39. นายรัฏกร ฟ้องเสยี ง นติ ิกรชาํ นาญการพิเศษ คณะทํางาน สาํ นกั งานพฒั นาระบบบริหารและนติ ิการ 40. นางสาวสอางค์ จงสวัสดิพ์ ัฒนา ผ้อู าํ นวยการกลุม่ แผนและงบประมาณ คณะทาํ งาน สาํ นกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ 41. นางสาวสําเภาเงิน ชาติสําราญ นกั วชิ าการศึกษาชํานาญการ คณะทํางาน สํานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ 42. นางสาวจรยิ า ววิ ฒั นท์ รงชยั พนักงานราชการ คณะทาํ งาน สํานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ คณะทํางาน 43. นางสาวลิลนิ ทรงผาสกุ ผ้อู าํ นวยการกลมุ่ แผนงานและโครงการ คณะทํางาน คณะทํางาน สํานักนโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 44. ผอู้ าํ นวยการกลุ่มสารสนเทศ หรือผแู้ ทน สาํ นักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพื้นฐาน 45. นางนงคน์ ุช โอวาทชยั พงศ์ ผู้อาํ นวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา สาํ นักนโยบายและแผนการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
78 คณะทาํ งาน 46. นางเพ็ญศรี วลิ าวรรณ ผูอ้ ํานวยการกลุ่มวจิ ยั และพัฒนานโยบาย คณะทาํ งาน คณะทาํ งาน สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน คณะทาํ งาน คณะทาํ งานและเลขานกุ าร 47. นางสาวกรวภิ า สุขศรีสงั ข์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชํานาญการ คณะทํางานและผชู้ ว่ ยเลขานุการ คณะทาํ งานและผชู้ ่วยเลขานกุ าร สํานกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน คณะทาํ งานและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร คณะทาํ งานและ 48. นายณฐั กร ชูเพ็ชร นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ คณะทาํ งานและผชู้ ่วยเลขานุการ สํานักนโยบายและแผนการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 49. นายจักรพันธ์ อัมรนนั ท์ พนกั งานธุรการ สาํ นกั นโยบายและแผนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 50. นางสาวกัลยา ชูโชติ ผู้อาํ นวยการกล่มุ งบประมาณ 1 สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 51. นางวรรณา จติ กระแส เจา้ พนักงานสถติ ิชํานาญงาน สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 52. นางเบญจวรรณ ดวงใจ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชาํ นาญการ สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 53. นางสาวไพรนิ ทร์ สขุ กาํ ปัง นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชํานาญการ สาํ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 54. นายดนุสรณ์ เมฆประยรู นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบตั กิ าร ผชู้ ่วยเลขานุการ สาํ นักนโยบายและแผนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 55. นางสาววิภาภรณ์ ฤทธิ์ชยั เจา้ พนกั งานธุรการชํานาญงาน สาํ นักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใหค้ ณะทํางานมหี นา้ ที่ ๑. เสนอผลการดําเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 เพื่อทราบปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไขในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61 ๒. ระดมความคิดเห็นและจัดทํารา่ งแนวทางการดําเนนิ งานและการบรหิ ารงบประมาณการสนบั สนุน คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕61 ๓. จัดทําแนวทางการดําเนินงานและการบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 ทงั้ น้ี ตั้งแต่บัดนเี้ ปน็ ตน้ ไป สั่ง ณ วนั ท่ี 17 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕60 (นายบญุ รักษ์ ยอดเพชร) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
79 ศูนย์ประสานงาน ภาพรวมของโครงการ/การจดั สรรงบประมาณ สาํ นกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕1 ,0-๒๒๘0-๕๕1๒ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๕๕๑๕ หนังสือเรยี น สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๓ , ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๕ , ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๖ การจดั ซอ้ื จดั จา้ ง สาํ นักการคลังและสนิ ทรพั ย์ โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๕๒๔, -๒๒๘๘-๕๕22 เปดิ ดบู ญั ชีจดั สรรไดจ้ าก http://plan.bopp‐obec.info รายงานข้อมลู จาํ นวนนกั เรียน http://plan.bopp-obec.info เปดิ ดแู นวทางการจดั ซ้ือหนงั สือเรยี นไดจ้ าก http://academic.obec.go.th
80
Search