คลองลดั โพธิ์ สายน้าแหง่ พระบารมีKhlong Lat Pho Flood Gate Projectนางสาวอารีรัตน์ เรอื งสุวรรณ รหัสนสิ ิต 60561280นางสาวอุทัยวรรณ ศรยี า รหัสนสิ ิต 60561297นางสาวชนญั ชิดา ชยั นา รหสั นสิ ิต 60561303Mr. Chheng Keaheng รหสั นิสิต 60561310นางสาวพชิ ยา จนั ทโชติ รหัสนิสิต 60561334นายกฤต ด่านกติ ติไกรลาศ รหัสนสิ ติ 60610018นางสาวกาญจนา ประทมุ ทิพย์ รหัสนิสิต 60610025นายกิตตพิ ศ ปนั ทระนาถ รหัสนิสติ 60610032นายจตุรภทั ร ปรชี าวัฒนเศรษฐ์ รหสั นิสิต 60610049นางสาวจิรชั ญา บุญศรี รหัสนิสติ 60610063นางสาวจุฑามาศ ฉมิ สพุ ร รหัสนิสติ 60610070รายงานน้ีเป็นส่วนหน่งึ ของรายวชิ า 001221 สารสนเทศเพือ่ การศกึ ษาค้นควา้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 มหาวิทยาลยั นเรศวร
คลองลดั โพธิ์ สายน้าแหง่ พระบารมีKhlong Lat Pho Flood Gate Projectนางสาวอารีรัตน์ เรอื งสุวรรณ รหัสนสิ ิต 60561280นางสาวอุทัยวรรณ ศรยี า รหัสนสิ ิต 60561297นางสาวชนญั ชิดา ชยั นา รหสั นสิ ิต 60561303นาย Chheng Keaheng รหสั นิสิต 60561310นางสาวพชิ ยา จนั ทโชติ รหัสนิสิต 60561334นายกฤต ด่านกติ ติไกรลาศ รหัสนสิ ติ 60610018นางสาวกาญจนา ประทมุ ทิพย์ รหัสนิสิต 60610025นายกิตติพศ ปนั ทระนาถ รหัสนิสติ 60610032นายจตุรภทั ร ปรชี าวัฒนเศรษฐ์ รหสั นิสิต 60610049นางสาวจิรชั ญา บุญศรี รหัสนิสติ 60610063นางสาวจุฑามาศ ฉมิ สพุ ร รหัสนิสติ 60610070รายงานน้ีเป็นส่วนหน่งึ ของรายวชิ า 001221 สารสนเทศเพือ่ การศกึ ษาค้นควา้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 มหาวิทยาลยั นเรศวร
ช่อื หัวข้อโครงงาน คลองลัดโพธ์ิ สายน้ําแหง่ พระบารมีผ้ดู า้ เนนิ โครงงานนางสาวอารรี ตั น์ เรอื งสวุ รรณ รหัสนสิ ิต 60561280 รหัสนสิ ิต 60561297นางสาวอุทยั วรรณ ศรียา รหัสนสิ ติ 60561303 รหสั นิสิต 60561310นางสาวชนญั ชดิ า ชยั นา รหสั นสิ ิต 60561334 รหัสนสิ ิต 60610018นาย Chheng Keaheng รหัสนิสติ 60610025 รหัสนิสติ 60610032นางสาวพชิ ยา จันทโชติ รหัสนิสติ 60610049 รหัสนิสิต 60610063นายกฤต ด่านกติ ติไกรลาศ รหสั นิสิต 60610070นางสาวกาญจนา ประทมุ ทิพย์นายกิตตพิ ศ ปนั ทระนาถนายจตรุ ภทั ร ปรชี าวฒั นเศรษฐ์นางสาวจิรชั ญา บญุ ศรีนางสาวจฑุ ามาศ ฉมิ สพุ รปีการศึกษา 2560……………………………………………………………………………………………………………………………………………... บทคัดย่อ โครงการในพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชนั้นมีมากมายมากกว่า 4000 โครงการซึ่งแต่ละโครงการน้ัน เกิดขึ้นจากพระปรีชาสามารถและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชท่ีมตี ่อประชาชนชาวไทย รายงานนี้เป็นการศึกษา โครงการคลองลัดโพธิ์เป็นหนึ่งในโครงการตามแนวพระราชดําริท่ีมีความสําคัญอย่างมาก เนื่องจากปัญหาน้ําท่วมซํ้าซากในจังหวัดสมุทรปราการเน่ืองจากพื้นที่อยู่ติดทะเล โดยเฉพาะอาํ เภอพระประแดง ซ่งึ โอบล้อมดว้ ยลาํ นา้ํ เจ้าพระยาที่มีลักษณะคดเคี้ยว เม่ือมีฝนตกหนัก นํ้าจะระบายลงสู่ทะเลได้ล่าช้าไม่ทันการณ์ ทําให้เกิดนํ้าเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่กรุงเทพฯ และปรมิ ณฑลเปน็ เวลานาน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดทรงมีความห่วงใยประชาชนและศึกษาแนวทางการแกป้ ญั หา จึงพระราชทานพระราชดําริ ให้ปรับปรุง คลองลัดโพธ์ิ บริเวณคุ้งน้ําช่วงท่ีไหลผ่านเขตพื้นที่ ต.บางกระเจ้า จากเดิมที่มีสภาพต้ืนเขินมีความกว้างเพียง 10-15 ม. ให้สามารถรับปริมาณนํ้าได้เพิ่มข้ึน อีกท้ัง ยังเป็นทางลัดของนํ้าไหลลงสู่ทะเลได้สะดวก รวดเร็วขึ้น โดยช่วยลดระยะทางการไหลของแม่น้ําเจ้าพระยาจาก 18 กม. ให้เหลือเพียง 600 ม. รวมท้ัง ลดเวลาการเดินทางของน้ําจาก 5 ชม. ให้เหลือเพียง 10 นาที เท่าน้ัน ทําให้ช่วยลดผลกระทบจากนํ้าล้นตล่ิงกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล จากสภาวะน้ําเหนอื ไหลหลากในช่วงทผี่ า่ นมาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ซง่ึ ใน
บทคัดยอ่ (ต่อ) รายงานเล่มน้ี ได้แสดงเน้ือหาเกี่ยวกับ พันธกิจ หลักการเบ่ียงนํ้า ลักษณะโครงการ ลักษณะทางกายภาพต่าง ๆ ตลอดจนถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ ท่ีแสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในการแก้ปัญหาของคลองลัดโพธ์ิแห่งน้ี เพื่อให้ผอู้ ่านมีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับโครงการคลองลัดโพธิ์ในพระราชดาํ รมิ ากย่งิ ข้ึน เม่ือได้จัดทําโครงงานเร่ือง คลองลัดโพธ์ิสายนํ้าแห่งพระบารมี คณะผู้จัดทําและบุคคลอ่ืน ๆที่ได้ศึกษารายงานเล่มนี้แล้วน้ัน ทําให้ได้รับท้ังความรู้ ความเข้าใจ และพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมากยงิ่ ขน้ึ
กติ ติกรรมประกาศ ในการทํารายงานเรื่อง คลองลัดโพธ์ิสายนํ้าแห่งพระบารมี กลุ่มของคณะผู้จัดทําได้รับคําแนะนําจาก คณะอาจารย์ของรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศึกษาค้นคว้าและเพ่ือนๆ หากไม่ไดร้ ับคําแนะนาํ และความชว่ ยเหลือจากท่านและเพอ่ื นๆ อาจทาํ ให้โครงงานเล่มน้ี ไม่สามารถสําเร็จลุล่วงได้ กลุ่มของคณะผู้จัดทําจึงขอขอบคุณ คณะอาจารย์ของรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า และเพ่ือนๆ ทุกคนท่ีคอยให้คําปรึกษา และคอยให้คําแนะนําแก่กลุ่มของคณะผู้จดั ทาํ ตลอดจนโครงงานสําเรจ็ ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี คณะผ้จู ดั ทาํ
คา้ นา้ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า รหัสวิชา 001221โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับโครงการประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซ่ึงโครงงานน้ีมีเนื้อหาเก่ียวกับ พันธกิจ หลักการเบี่ยงนํ้า ลักษณะโครงการ ลักษณะทางกายภาพต่าง ๆ ตลอดจนถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ ที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในการแก้ปัญหาของคลองลัดโพธิ์แห่งน้ี ในการจัดทําโครงงานวิชา สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าคร้ังนี้ คณะผู้จัดทําจะต้องขอขอบคุณ อาจารย์ทุก ๆ ท่าน ที่ให้ความรู้ และแนะแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนท่ีให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผู้จัดทําหวังว่าโครงงานฉบับน้ีจะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน คณะผู้จัดทาํ
สารบญั หนา้บทคัดย่อ……………………………………………………………………………………………………………………………...กบทคดั ย่อ (ต่อ) ……………………………………………………………………………………………………………………..ขกติ ติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………………………………………………คคํานาํ …………………………………………………………………………………………………………………………………...งสารบญั ………………………………………………………………………………………………………..……………………….จสารบัญรูปภาพ……………………………………………………………………………………………………………………..ชบทที่ 1 บทนํา……………………………………………………………………………………………………………………….1 ท่มี าและความสําคัญ…………………………………………………………………………………………………1 วตั ถปุ ระสงค์…………………………………………………………………………………………………………….1 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะรับได้รบั …………………………………………………………………………………….1 ขอบเขตของการศึกษา………………………………………………………………………………………………2บทที่ 2 หลกั การและทฤษฏี…………………………………………………………………………………………………..3 พันธกจิ ..............................................................................................................................4 หลกั การ \" เบ่ียงน้าํ \" (Diversion)……………………………………………………………………………..5 การสนองพระราชดําริ………………………………………………………………………………………………5 ลกั ษณะโครงการ …………………………………………………………………………………………………….6 ลกั ษณะสาํ คัญทางกายภาพ………………………………………………………………………………………8 ประโยชน์ของโครงการ…………………………………………………………………………………………….9บทที่ 3 วิธีดําเนินการ………………………………………………………………………………………………………….10 การแบง่ หน้าที่ในการทาํ งาน……………………………………………...…………………………………...10 วสั ดุอุปกรณ์………………………………………………………………………………………………………….10 ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน…………………………………………………………………………………………...10 แผนการดาํ เนนิ งาน……………………………………………..………………………………………………...11บทที่ 4 ผลการดาํ เนนิ งาน……………………………………………..…………………………………………………….12 ผลการดําเนินงาน……………………………………………..……………………………………………….....12บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา……………………………………………..……………………………………………….......13 สรปุ ผลการศกึ ษา……………………………………………..…………………………………………………....13
สารบัญ (ตอ่ ) หน้าบรรณานุกรม……………………………………………..…………………………………………………………………........14ประวตั ผิ ู้จดั ทาํ รายงาน……………………………………………..……………………………………………………........15 สารบญั รปู ภาพรปู หน้ารปู ท่ี 2.1……………………………………………………………………………………………………………………………...6รปู ที่ 2.2……………………………………………………………………………………………………………………………...6รูปท่ี 2.3……………………………………………………………………………………………………………………………...7
บทท1ี่ บทน้าท่มี าและความสา้ คัญ เนือ่ งจากปัญหานาํ้ ทว่ มซ้ําซากในจังหวดั สมุทรปราการ เน่ืองจากพน้ื ท่ีอย่ตู ดิ ทะเล โดยเฉพาะอําเภอพระประแดง ซ่ึงโอบล้อมด้วยลาํ นํา้ เจ้าพระยา ท่ีมีลักษณะคดเคี้ยว เม่ือมฝี นตกหนัก น้าํ จะระบายลงสทู่ ะเลไดล้ ่าช้าไมท่ ันการณ์ ทาํ ใหเ้ กิดนา้ํ เอ่อล้นเขา้ ทว่ มพืน้ ทีก่ รงุ เทพฯและปริมณฑลเป็นเวลานาน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชทรงมีความหว่ งใยประชาชน และศกึ ษาแนวทางการแก้ปญั หา จึงทรงมพี ระราชดําริใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง อาทิ กรมชลประทาน จังหวัดสมุทรปราการ กรมทางหลวง กรมเจา้ ทา่ กรมอุทก-ศาสตร์ กองทัพเรือ ร่วมกันเร่งศึกษาพิจารณาวางโครงการ และดาํ เนนิ การปรบั ปรุงขดุ ลอกคลองลัดโพธิ์ พร้อมก่อสรา้ งอาคารประกอบในคลองลดัโพธต์ิ ามความเหมาะสม ซง่ึ จะเป็นผลดตี ่อการแกไ้ ขปญั หาน้ําท่วมบริเวณพ้ืนท่ีกรุงเทพฯและปริมณฑลนนั่ จึงเกดิ “ โครงการประตรู ะบายนํา้ คลองลัดโพธิ์ ” จากเหตผุ ลทก่ี ล่าวมาในขา้ งต้น กลมุ่ ของคณะผจู้ ัดทาํ จึงคิดจดั ทํารายงานเกี่ยวกบั โครงการคลองลัดโพธขิ์ ึ้น เพ่อื ให้ผู้อ่านหรือผทู้ ่ีมคี วามสนใจเกย่ี วกับโครงการน้ื ได้มีทง้ั ความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั เน้อื หาในโครงการมากย่งิ ข้นึ และไดเ้ ห็นถงึ พระปรีชาสามารถและพระมหากรุณาธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีม่ ตี อ่ ประชาชนชาวไทยวัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือศึกษาโครงการประตรู ะบายน้าํ คลองลดั โพธิ์ 2. เพอ่ื นาํ เสนอเน้ือหาที่เกยี่ วกบั โครงการประตูระบายนา้ํ คลองลดั โพธิ์ แกผ่ ู้ทมี่ ีความสนใจ 3. เพ่อื น้อมรําลึกถงึ พระมหากรุณาธิคณุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชประโยชน์ที่คาดว่าจะรบั ได้รบั 1. คณะผจู้ ัดทําไดร้ ับความรู้เก่ียวกบั โครงการประตูระบายนา้ํ คลองลัดโพธม์ิ ากย่ิงขนึ้ 2. ผทู้ ่ีอา่ นหรอื ผทู้ ี่มีความสนใจในเน้อื หาเกย่ี วกับโครงการประตูระบายนํา้ คลองลัดโพธิ์ มีความรู้ และความเข้าใจเกีย่ วกบั โครงการมากย่ิงข้ึน
ขอบเขตของการศึกษา 1. ดา้ นเนื้อหา 2. พนั ธกิจ 3. การสนองพระราชดาํ ริ 4. หลักการเบ่ยี งน้ํา 5. ลักษณะโครงการ - ลักษณะทางกายภาพตา่ ง ๆ 6. ผลประโยชน์ของโครงการ
บทที่ 2 หลกั การและทฤษฏี “โครงการตามพระราชดําริ” จะเป็นโครงการท่ีพระองค์ทรงวางแผนพัฒนา และทรงเสนอแนะให้รฐั บาลรว่ มดําเนินการตามแนวพระราชดาํ ริ ปจั จุบัน โครงการตามพระราชดําริน้ี เรียกว่า\"โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” มีลักษณะเป็นโครงการพัฒนาในด้านต่างๆ ทั้งเพ่ือการศึกษาค้นคว้าทดลองและงานวิจัย โดยโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดํารินี้ มีท้ังท่ีเป็นโครงการระยะสั้นและโครงการระยะยาว ในการดําเนินการโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดํารินี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงศึกษาขอ้ มูลต่างๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ท้ังการศึกษาข้อมูลจากเอกสารและการศึกษาข้อมูลจากการลงพื้นที่จริงก่อนจะลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง ท้ังน้ีพระองค์มีพระราชดํารัสเก่ียวกับการดําเนินการอยู่เสมอวา่ แนวพระราชดาํ รขิ องพระองค์เป็นเพียงข้อเสนอแนะ ซ่ึงหน่วยงานท่ีรับผิดชอบควรจะต้องนําพิจารณา วิเคราะห์ และกลั่นกรองตามหลักวิชาการ หากมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และเกิดประโยชน์คุ้มค่า จึงจะลงมือปฏิบัติต่อไป แต่หากไม่เกิดประโยชน์ ไม่เหมาะสมที่จะดําเนินการ ก็สามารถล้มเลิกได้หนว่ ยงานทม่ี ีหน้าที่ประสานงานและประสานแผนต่างๆ เพื่อให้แต่ละหน่วยงานท่ีรับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริไปปฏิบัติ คือสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือ สํานักงาน กปร. ซึ่งนอกจากการประสานงานในแต่ละขั้นตอนแลว้ สาํ นักงาน กปร. ยงั จะได้ตดิ ตามและประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านเป็นระยะๆ ท้ังนี้ ที่ผ่านมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโครงการต่างๆ เหล่านั้นเม่ือมีโอกาส เพ่ือทอดพระเนตรความก้าวหน้า และตดิ ตามผลงานต่างๆ ด้วยพระองคเ์ อง คลองลัดโพธิ์ เป็นชื่อคลองเดิม บริเวณตําบลทรงคะนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เดิมมีลักษณะต้ืนเขิน ต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดําริ เป็นการบริหารจัดการน้ําเพ่ือแก้ปัญหานํ้าท่วมกรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ “เบ่ียงน้ํา” ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ มีหลักการคือ จากสภาพของแม่นํ้าเจ้าพระยาเดิมท่ีมีลักษณะไหลวนคดเคย้ี วบริเวณรอบพนื้ ทีบ่ ริเวณบางกระเจา้ นนั้ มคี วามยาวถึง 18 กิโลเมตร น้ันทําให้การระบายน้ําท่ีท่วมพ้ืนที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครเป็นไปได้ช้า ไม่ทันเวลานํ้าทะเลหนุนพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช จึงมพี ระราชดําริให้พัฒนาใช้คลองลัดโพธ์ิ ซ่ึงเดิมมีความต้ืนเขินมีความยาวราว 600 เมตร ให้ใช้ระบายน้ําท่ีหลากและนํ้าที่ท่วมทางสองฝ่ังของแม่น้ําเจ้าพระยาลงสู่ทะเลทันทีในช่วงก่อนที่นํ้าทะเลหนุน และปิดคลองลัดโพธ์ิเมื่อน้ําทะเลหนุน เพ่ือหน่วงน้ําทะเลไม่ให้ขึ้นลัดเลาะไปตามแนวแม่นํ้าเจ้าพระยาท่ีคดโค้งถึง 18 กิโลเมตร ก่อนซ่ึงใช้เวลามากจนถึงเวลานา้ํ ลง ทาํ ให้ไม่สามารถขน้ึ ไปทว่ มตัวเมืองได้
คลองลัดโพธ์ิ เป็นคลองทพี่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีกระแสพระราชดํารัสถึงเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ว่าเป็นสถานท่ีตัวอย่างของการบริหารจัดการน้ํา ท่ีต้องการความรู้เร่ืองเก่ียวกับเวลานํ้าข้ึนนํ้าลง หากบริหารจัดการให้ถูกต้องจะสามารถแก้ปัญหานํ้าท่วมได้ และทรงเสดจ็ พระราชดาํ เนินทางชลมารคไปทรงเปิดประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์พันธกจิ “ ที่พระประแดง ท่ีมีอุปกรณ์ท่ีเวลาน้ําข้ึน กักเอาไว้ แล้วเวลานํ้าลง ปล่อยให้ลง คือ ท่ีคลองคนแกจ่ าํ ไม่ได้แล้ว และไดท้ าํ โครงการที่จะปล่อยน้ําไปได้ เวลานาํ้ ลงแลว้ กเ็ วลาน้าํ ขึ้นก็ปิดเอาไว้ ดังนั้นคลอง 600 เมตร ถ้าเปิดมันก็ทะลักเข้ามาในแม่น้ําเจ้าพระยา ถ้าปิดน้ําจะอ้อมไป นี่วิธีที่จะบริหารน้ําให้ดี ก็คือวิธีการให้ทราบว่าเวลาไหนนํ้ากําลังข้ึนปล่อยให้ออกไป พอไปทางคลองเตยกว่าจะถึงตรงปลายนาํ้ กล็ ง พอนํ้าขึ้นเป็นเวลาแล้วเวลาลงเป็นเวลา แต่ว่าเวลาน้ําขึ้นเขียนเอาไว้ว่าขึ้นเวลาน้ันๆ สูง2 เมตร 2 เมตรกว่า เวลาน้ําลง นํ้าก็จะลง ลงไปทําใหเ้ ปน็ จังหวะ ถ้าไมไ่ ดจ้ ังหวะ เปิดประตูน้ําเวลานํ้าขน้ึ มันก็ทะลักเข้ามา กเ็ ขา้ มาอาจจะทว่ มได้ น้ําอาจจะขึ้นไปสูงกว่า 2 เมตร น้ํามันข้ึน 2 เมตร 20 ถึง2 เมตร 30 แต่ว่าถ้าเราปิดในเวลาน้ัน น้ําก็ไม่ทะลักมาในถนนในกรุงเทพฯ เวลาน้ําลงก็ปล่อยหมายความว่า ต้องให้ตรง มันเป็นเวลา ถ้าทําเป็นเวลาแล้วน้ําไม่ท่วมกรุงเทพฯ เด๋ียวน้ีกรุงเทพฯ ก็ต้องท่วม แต่ว่าถ้าไม่ทําให้ถูกต้อง ถูกเวลา ถ้าฝนตกด้วย ซ่ึงเด๋ียวนี้ไม่น่าจะฝนตก แต่ว่ามีฝนตกน้ําทว่ ม ถา้ นาํ้ ท่วมรถแลน่ ไปก็จมน้าํ ฉะน้ัน ผู้ท่ีมีหน้าที่ไม่ได้ทํา แต่ตอนนี้เขาต้องทําบอกเขา เขาทําให้ปล่อยนํ้าเวลานํ้ามันลง น้ําข้นึ ก็กกั เอาไว้ มีทุกอย่าง มีแห่งเดียวที่มีอุปกรณ์ ท่ีอื่นก็ควรจะทํา รอมาหลายปีแล้ว ควรจะทําได้ แต่ต้องลงทุนไม่ใช่น้อย ข้อสําคัญต้องลงแรง ตามคลองชายทะเลก็เคยมี เมื่อ 9 ปี เมื่อปี 38 ส่งองครักษ์ไปดู ไปดูส่วนมากเป็นตอนกลางคืน เห็นคนนอนหลับสบายที่ชายทะเล ปกติไปทางใต้เพราะว่า จะเปดิ ไหม เพราะว่าเขาไมไ่ ด้บอกใหเ้ ปิดก็ไมป่ ดิ ปิดหรือเปล่า เขาไม่ได้บอกให้ปิด นํ้าทะลักเข้ามาก็ท่วมในคลอง คลองก็มาท่วม จากชายทะเลแต่ถ้าทําถูกจังหวะน้ําไม่เกิด ตอนที่ทําทางฝ่ายรัฐบาลก็จะไม่รู้เรื่องว่าจะเป็นอย่างไร คนที่ชายทะเล ท่ีนอนสบายเขาบอก คุณมาจากไหน รู้ได้อย่างไร นํ้าข้ึนจริงๆนะ เขานึกวา่ ทําไมมาบอก รู้ว่าข้ึนทาํ ไมไม่ปิด รู้ว่าลงไม่เปิด แล้วเขาถาม เป็นนายพล นายพลมาจากไหน มาจากในวัง ก็เลยเข้าใจว่ารู้เรื่อง ทําไมรู้เร่ือง เขาก็เชื่อ แต่ว่านายไม่เช่ือ นายผู้ใหญ่ต่างๆ เขาไมไ่ ด้ส่งั ว่าเวลาน้ันเวลานั้นต้องเปิดต้องปิด ท่ีต้องเปิดต้องปิดเวลาน้ี เพราะว่าน้ําไม่คอยใคร นํ้าข้ึนนํ้าลง ท่านเป็นทหารเรือก็รู้เรื่องว่านํ้าขึ้นลงเวลาไหน ต้องรู้ น้ําขึ้น นํ้าลง แล้วช่วยป้องกันไม่ให้น้ําท่วมตัวเขานอนสบายแตว่ ่าคนท่อี ยขู่ ้างในทุกข์ ฉะน้นั เดีย๋ วนี้ยังมเี วลาที่จะแกไ้ ข ไมอ่ ยา่ งน้ันถึงปใี หมน่ า้ํ กท็ ว่ มอีก กเ็ ลยบอกว่าท่านท่ีมีหน้าท่ีไปดู เราต้องไป เขาไม่เห็นแตอ่ ยา่ งไรกน็ ่าจะไป 2 วัน 3 วนั นี้ กจ็ ะไปดู เพราะว่ายังจําเป็นท่ีจะดู แต่ว่าเห็นเปน็ อย่างน้ี อาจจะไปไม่ได้ ปวดหลงั ก็เลยไมไ่ ด้ไป แต่ทีส่ มเด็จพระบรมฯ กับสมเด็จพระเทพฯ ไปมันต้องมีเร่ืองเวลาให้เหมาะสม ให้ถูกต้อง ทางกรมชลประทาน บอกว่า ปลายปีก็หมดแล้ว ปลายปีน้ี
ยังมีอีกเดือน แล้วฝนก็ยังไม่หมด ต้องทําให้ถูกต้อง เพราะเช่ือว่า มันจะไม่ช้าเกินไป จวนจะหมดฤดูกาลแลว้ แต่ว่ามาพูดเพราะว่าที่ผ่านมาพูดไม่มีใครได้ยิน เสียงมันแหบ วันนี้เสียงนับว่าดี ได้แจ้งให้ทราบว่าจะตอ้ งทาํ อย่างไรสาํ หรบั ในนา้ํ ท่วม ”พระราชดาํ รัสของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช 4 ธนั วาคม 2549 “ โครงการประตรู ะบายนาํ้ คลองลัดโพธิ์ อนั เนื่องมาจากพระราชดําริ เป็นโครงการที่กรมชลฯสนองพระราชดําริในองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่พระราชทานพระราชดําริ ให้ปรับปรุงคลองลัดโพธ์ิ บริเวณคุ้งนํ้าช่วงที่ไหลผ่านเขตพื้นท่ี ต.บางกระเจ้า จากเดิมท่ีมีสภาพตื้นเขินมีความกวา้ งเพยี ง 10-15 เมตร ให้สามารถรับปรมิ าณนํ้าได้เพิ่มขึ้น อีกท้ัง ยังเป็นทางลัดของน้ําไหลลงสู่ทะเลได้สะดวก รวดเร็วขึ้น โดยช่วยลดระยะทางการไหลของแม่น้ําเจ้าพระยาจาก 18 กม. ให้เหลือเพียง600 ม. รวมท้ัง ลดเวลาการเดินทางของน้ําจาก 5 ชม. ให้เหลือเพียง 10 นาที เท่าน้ัน ทําให้ช่วยลดผลกระทบจากนํ้าล้นตลิ่งใน กทม.และ ปริมณฑล จากสภาวะน้ําเหนือไหลหลากในช่วงที่ผ่านมาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยโครงการฯนสี้ ามารถระบายนาํ้ ออกสอู่ า่ วไทยไดเ้ ฉลี่ยวันละประมาณ 40 ล้านลบ.ม.ซึ่งผลการดําเนินการระบายน้ํา ต้ังแต่ต้นเดือน ส.ค. - 15 พ.ย. 2553 สามารถระบายน้ําโดยรวมประมาณ 2,470 ล้าน ลบ.ม. ถือว่าเป็นปริมาณน้ําท่ีมากในระดับหนึ่งที่ระบายลงสู่อ่าวไทยได้” โดยทรงอธิบายถึงสภาพของแม่นํ้าเจ้าพระยา ท่ีมีลักษณะไหลวนคดเคี้ยว บริเวณรอบพื้นท่ีตําบลบางกะเจ้า อําเภอพระประแดง ซ่ึงมีความยาวถึง 18 กิโลเมตร ทําให้การระบายนํ้าท่ีท่วมพื้นท่ีช้ันในของกรุงเทพมหานครเป็นไปได้ช้า จึงมีพระราชดําริให้ยึดหลักการ “ เบ่ียงน้ํา ” (Diversion)ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.)หลักการ “ เบยี่ งน้า ” (Diversion) การย่นระยะทางระบายน้ําลงสู่ทะเลให้สั้นลง โดยพัฒนาคลองลัดโพธ์ิ ที่ตื้นเขินและแคบให้กว้างข้ึน รวมทั้งปรับให้เส้นทางนํ้าไหลลงทะเล เหลือระยะทางเพียง 600 เมตร ลดเวลาเดินทางของนํ้าจาก 5 ช่ัวโมง ให้เหลือเพียง 10 นาทีเท่าน้ัน ทั้งยังหาวิธีบริหารจัดการนํ้า ด้วยการก่อสร้างประตูระบายน้ําบริเวณต้นคลอง ด้านทิศเหนือขนาดความกว้าง 14 เมตร จํานวน 4 บาน ใช้วิธีควบคุมการเปิด-ปิดประตรู ะบายนาํ้ ใหเ้ หมาะสม สอดคล้องกับเวลาน้ําขนึ้ -น้ําลง และน้ําทะเลหนุน ช่วยระบายน้ําทห่ี ลากและน้ําทีท่ ว่ มท้งั 2 ฝ่ังของแม่นา้ํ เจา้ พระยาลงส่ทู ะเลได้เป็นอยา่ งดีการสนองพระราชดา้ ริ โครงการคลองลัดโพธ์ิอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ตั้งอยู่ท่ี ตําบลทรงคะนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ กรมชลประทานดําเนินงาน ศึกษาความเหมาะสมของโครงการและ
สํารวจออกแบบปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ในปี 2540 และได้เร่ิมก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 แล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน 2548 โดยเร่ิมดําเนินการเปิดบานระบายเพ่ือใช้งานในช่วงเดือนตุลาคมถึงพฤศจกิ ายน 2549 https://www.youtube.com/watch?v=Dl4BW3vH0NY รูปที่ 2.1ลักษณะโครงการ กอ่ สร้างประตรู ะบายนา้ํ บริเวณตน้ คลองดา้ นทิศเหนือกว้าง 14.00 เมตร จาํ นวน 4 บานด้านเหนือประตูระบายนาํ้ กว้าง 65 เมตร ท้ายประตรู ะบายนํา้ กวา้ ง 66 เมตร - ความยาวคลอง 600 เมตร - ระดบั ก้นคลองอยู่ท่ี - 7.0 เมตร จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง - ระดบั หลงั คนั คลอง + 2.65 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง https://www.youtube.com/watch?v=hMNNH9-Zy20 รปู ที่ 2.2
การปิด-เปดิ บานระบาย - ชว่ งฤดแู ล้ง จะปดิ บานเพื่อป้องกนั น้าํ ทะเลไหลกลบั เข้าแม่นํ้าเจ้าพระยา - ชว่ งฤดูน้ําหลาก เมอ่ื นาํ้ ทะเลกําลังข้นึ จะปิดบาน และเมอื่ น้ําทะเลกําลงั ลงจะเปิดบาน http://oknation.nationtv.tv/blog/darknews/2010/11/24/entry-1 รูปท่ี 2.3 ทั้งนี้โครงการประตูระบายนํ้าคลองลัดโพธิ์ สํานักชลประทาน-11 กรมชลประทาน มีความประสงค์จ้างปรับปรุงพร้อมติดต้ังระบบควบคุม การส่งระบายน้ําด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบแสดงและรายงานผลเคร่ืองมือวัดต่าง ๆ ของ โครงการประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ รายละเอียดการปรับปรุงพร้อมตดิ ตัง้ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ จะตอ้ งตดิ ต้งั อยใู่ น สถานท่ตี ่าง ๆ ดังน้ีห้องควบคมุ หลัก (Main Control Room) - บรเิ วณ อาคารควบคุมประตูระบายนาํ้ ตวั ท่ี -1 (MCC-1) - บรเิ วณอาคารควบคมุ ประตูระบายนาํ้ ตวั ท่ี -2 (MCC-2) - บรเิ วณ อาคารควบคมุ ประตรู ะบายน้าํ ตวั ที่ -3 (MCC-3) - บริเวณ อาคารควบคุมประตูระบายนํ้าตวั ท่ี -4 (MCC-4) - บริเวณจุดวัดระดับน้ําและคุณภาพนํ้าหน้าประตูระบายน้ํา (Up Stream Water Leveland Quality Sensors) บรเิ วณ จดุ วดั ระดับน้ํา,อัตราการไหลน้ําและคุณภาพนํ้าหลังประตูระบายนํ้า(Down Stream Water Level, Flow and Quality Sensors) - บริเวณ จุดวัดคุณภาพนํ้าท่ีสถานี C4 สะพานพุทธ (C4 Sapanphut Water QualitySensors)
การปดิ -เปดิ บานระบาย (ตอ่ ) ขอบเขตของงานและงบประมาณค่าก่อสร้าง จ้างปรับปรุงพร้อมติดต้ังระบบควบคุม การส่งระบายนาํ้ ด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบแสดงและรายงานผลเคร่ืองมือวัดต่างๆ ของ โครงการประตูระบายนา้ํ คลองลดั โพธิ์ เป็นการติดตัง้ ระบบควบคุมการส่งระบายน้ํา โดยนาํ ระบบควบคมุ อัตโนมัติ( Automation Control System) ติดต้ังทดแทนระบบควบคุมการส่งระบายน้ําแบบเดิม ซ่ึงเป็นระบบกงึ่ อัตโนมัติ (Semi-Automatic) โดยผนวกเทคโนโลยี การควบคุมแบบ SCADA (SupervisoryControl and Data Acquisition)มีอุปกรณ์ระบบควบคุมอัตโนมัติ เป็นตัวควบคุม และใช้สายนําสัญญาณ แบบเคเบิลใยแก้วนําแสง(Fiber Optic Cable) พร้อมอปุ กรณป์ ระกอบอนื่ ๆ โดยระบบ SCADA นจ้ี ะเป็นระบบท่ีใช้ตรวจสอบ,ควบคุมการทํางาน, รวบรวมข้อมูล และ แสดงผลการส่งระบายนํ้า เครื่องมือวัดระดับนํ้า, อัตราการไหลนา้ํ และคณุ ภาพนํ้า รวมถึงข้อมลู อน่ื ๆ ตามสถานท่ีต่าง ๆ ที่กาํ หนด ในแบบควบคุม และแสดงผลระยะไกลจากห้องควบคุมหลัก ดังแสดงในแผนผัง แสดงรูปแบบของระบบโดยรวม (TypicalConfiguration) งบประมาณคา่ ก่อสร้าง 8,827,500 บาท ผู้รับจ้าง บริษัท พัฒน์กล จํากัด (มหาชน)ระยะเวลาดําเนินงาน 180 วัน แลว้ เสรจ็ เมอ่ื เดือนกรกฎาคมลักษณะส้าคญั ทางกายภาพ ช่วยร่นระยะทางการไหลของน้ําหลากจาก 18 กิโลเมตร เหลือเพียง 600 เมตร ปริมาณน้ําไหลสูงสุด 500 ลบ.ม./วินาที ระดับท้องคลอง -7.00 เมตร. รทก. กว้าง 66 เมตร ระดับน้ําสูงสุดรอบ100 ปี +2.05 เมตร.รทก. ประตูจํานวน 4 บานๆ ละ 14.00 เมตร รวม 56.00 เมตร ผลต่างระดับน้ําด้านเหนือและด้านท้ายประตู 0.05-0.30 เมตร ควบคุมอัตราการไหลในคลองไม่เกิน 1.00 เมตร/วนิ าที ภายหลังเปดิ ใช้งานโครงการ เปรียบเทยี บกับสภาวะก่อนมีโครงการ การศึกษาการตรวจสอบการระบายนา้ํ ของแม่นํ้าเจ้าพระยาบริเวณท่ีมลี กั ษณะทางกายภาพคล้ายคลึงกับโครงการคลองลัดโพธ์ิจากสภาพจริง และ ศึกษาแบบจาํ ลองทางกายภาพ พบว่าการไหลของน้ําจากปากคลองลัดโพธิ์ ความแรงของน้ําไม่พุ่งกระทบถึงฝั่งซ้ายของแม่น้ําเจ้าพระยาด้านตรงข้ามกับปลายคลองลัดโพธิ์ แต่เกิดกระแสน้ําหมุนวนเข้าหาฝ่ังขวาของแม่น้ําด้านใกล้กับ ปลายคลองลัดโพธ์ิและการเปิดประตูระบายคลองลัดโพธ์ิ เวลาน้ําลงจะทําให้ระดับนํ้าหน้าปากคลองลดลง ทําให้สามารถเพ่ิมการระบายนํ้ามากกว่ากรณีปิดบานประมาณ 10- 30 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงเวลานํ้าลงตํ่าสุด ผลการศึกษาแบบจําลองคณิตศาสตร์ของแม่นํ้าเจ้าพระยา ช่วงระยะจากศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ถึงปากแม่น้ําบริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้า กรณีสมมุติเป็นการไหลแบบคงที่คือระดับน้ําทะเลไม่เปล่ียนแปลง พบว่าการเปิดประตูระบายคลองลัดโพธิท์ ําใหร้ ะดับนาํ้ ตลอดช่วงระยะของ ลําน้ําแบบจําลองลดลง และกรณีการไหลแบบไม่คงที่ นํา้ ทะเลขน้ึ ลงสภาวะปกติ น้าํ ข้นึ สูงสดุ + 1.30 ม.รทก. และลงตาํ่ - 1.00 ม.รทก.
ผลการจาํ ลองการไหลในช่วงเวลา 24 ช่ัวโมง พบว่า การเปิดประตูระบายนา้ํ คลองลดั โพธ์ิช่วยให้ระดับนํ้าในแม่นํ้าเจ้าพระยาช่วงระยะต้ังแต่ปากคลองถึงบางไทร รวมถึงบริเวณโค้งอ้อม ผ่านการท่าเรือแห่งประเทศไทย ลดลง ส่วนระดับนํ้าด้านปลายคลองถึงปากแม่น้ํามีระดับสูงขึ้นเล็กน้อยเน่ืองจากปริมาณน้ําไหลเพ่ิมขึ้น แต่ สภาพลํานํ้าต้ังแต่ปลายคลองลัดโพธิ์ถึงปากแม่น้ํารูปตัดลําน้ํามีขนาดใหญ่ นอกจากน้ี ประตูระบายน้ําคลองลัดโพธ์ิ อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ยังมีศักยภาพในด้านการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังนาํ้ ซึ่งกรมชลประทาน ไดร้ ่วมกบั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ทําการศึกษาและวิจัย โดยการประดิษฐ์กังหันไฟฟ้าพลังนํ้าไหลต้นแบบข้ึนมา 2 แบบ คือ แบบหมุนตามแนวแกน(Axial Flow) และแบบหมนุ ขวางการไหล (Cross Flow) โดยใช้ใบพัดต้นแบบท่ีวิเคราะห์และผลิตขึ้นแบบหมุนตามแนวแกนมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 เมตร และใบพัดแบบหมุนขวางการไหลมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร ยาว 2.50 เมตร ท่ีความเร็วน้ําออกแบบ 2 เมตรต่อวินาที จะทําให้ได้กําลังไฟฟ้าสูงสุด 5 กิโลวัตต์ โดยได้ดําเนินการประกอบและติดตั้งกังหันท้ัง 2 แบบกับโครงเหล็กท่ีปรับข้ึนลงได้บริเวณท้ายประตูระบายน้ําคลองลัดโพธ์ิ เพ่ือทําการทดลองผลิตกระแสไฟฟ้าผลปรากฏว่า ได้กําลงั ไฟฟ้าสงู สุดถงึ 5.75 กโิ ลวตั ต์ สูงกว่าท่ไี ดว้ เิ คราะหแ์ ละคาํ นวณออกแบบไว้ ตัวอาคารประตูระบายน้ําเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก มีช่องประตูระบายนํ้าที่ติดต้ังบานระบายน้ํา 4 ช่อง กว้างช่องละ14 เมตร โดยฤดูแล้งจะปิดบานระบายน้ําตลอดฤดู ส่วนฤดูน้ําหลากปิดบานประตูเม่ือน้ําทะเลกําลังข้ึน และเปิดบานประตูในช่วงท่ีนํ้าทะเลกําลังลง เริ่มก่อสร้างเมื่อ13 พ.ย. 2548 เสร็จ มิ.ย. 2549งบประมาณ 509 ล้านบาท ซึ่งนอกจากเป็นประตูระบายนํ้าแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดําริให้พิจารณาใช้พลังงานน้ําที่ระบายผ่านคลองลัดโพธิ์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าโดยออกแบบเป็นกังหันพลังน้ําอาศัยพลังงานจลน์จากความเร็วของกระแสนํ้า ติดตั้งบริเวณประตูระบายนาํ้ เพื่อผลิตกระแสไฟฟา้ พลังนํ้า ซึ่งไดก้ ําลงั ไฟฟา้ สูงสุดท่ี 5.74 กิโลวัตตต์ อ่ วันประโยชน์ของโครงการ 1. ช่วยบริหารจัดการแม่น้ําเจ้าพระยาตอนล่าง ลดผลกระทบจากภาวะน้ําล้นตล่ิงโดยสามารถ ระบายออกสอู่ ่าวไทยได้ 2. ชว่ ยลดปรมิ าณนํ้าทว่ ม และร่นระยะเวลาน้ําท่วมได้ 3. ชว่ ยป้องกันนาํ้ เคม็ เขา้ รกุ พ้นื ทที่ างการเกษตร 4. ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้าํ ด้วยเคร่อื งกําเนิดไฟฟ้าพลงั งานจลน์ 5. เป็นโครงข่ายถนนรองรับการขนถ่ายลําเลียงสินค้า จากท่าเรือกรุงเทพต่อเน่ืองไปจนถึงพ้ืนที่ อุตสาหกรรมในจงั หวดั สมทุ รปราการ 6. ลดปริมาณรถยนต์เขา้ เมอื ง อันเป็นการบรรเทาปญั หาจราจรตดิ ขดั ในตวั เมือง
บทท่ี3 วธิ ีด้าเนินการการแบ่งหนา้ ท่ใี นการท้างาน1. ฝ่ายจดั ท้ารูปเลม่ รายงานนางสาวอารีรัตน์ เรอื งสวุ รรณ รหสั นิสติ 60561280 รหสั นสิ ิต 60561297นางสาวอุทยั วรรณ ศรียา รหสั นิสติ 60561310 รหัสนิสิต 60561334นาย Chheng Keaheng รหัสนิสติ 60610018นางสาวพชิ ยา จันทโชติ รหัสนสิ ติ 60610025 รหสั นิสิต 606100322. ฝา่ ยจดั ท้าส่ือน้าเสนอ รหัสนิสติ 60610063 รหสั นสิ ติ 60610070นายกฤต ดา่ นกติ ติไกรลาศ รหสั นสิ ิต 60561303นางสาวกาญจนา ประทุมทิพย์ รหัสนสิ ิต 60610049นายกติ ตพิ ศ ปนั ทระนาถนางสาวจริ ชั ญา บญุ ศรีนางสาวจุฑามาศ ฉิมสุพร3. ฝ่ายนา้ เสนอนางสาวชนัญชดิ า ชยั นานายจตรุ ภัทร ปรีชาวัฒนเศรษฐ์วสั ดอุ ุปกรณ์ 1. หนงั สือโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ รเิ พื่อประโยชนส์ ุขของปวงประชา 2. เคร่อื งคอมพิวเตอร์ 3. โปรแกรมสําหรับทาํ รปู เล่มรายงาน Microsoft Word 4. โปรแกรมสาํ หรับจดั ทาํ นําเสนอ Power Point 5. เวบ็ ไซต์ทํา animation : animatronขนั้ ตอนการด้าเนนิ งาน 1. สมาชกิ ในกลุ่มประชมุ ปรกึ ษาหารอื แบง่ หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ โดยกาํ หนดแหล่งเรียนรู้ทีจ่ ะ ไปศึกษาคน้ คว้าข้อมูล ขอบเขตของการศึกษาและระยะเวลาในการศึกษาค้นควา้ เกี่ยวกับ เน้อื หาของโครงการคลองลดั โพธ์ิ 2. สมาชิกในกลุ่มไปศึกษาตามแหลง่ การเรยี นร้ทู ่ีกาํ หนดไว้ โดยใช้เวลาในการศกึ ษาประมาณ 20 วัน
ขน้ั ตอนการด้าเนนิ งาน (ต่อ) 3. สมาชิกในกลมุ่ นาํ ผลการศึกษาทีบ่ ันทึกไวม้ าประชุมรว่ มกนั และนาํ เสนอความคบื หนา้ ของ โครงงานหน้าช้ันเรียน 4. สมาชิกในกลุ่มอา่ นข้อความท่ีศึกษาของแต่ละคน อภปิ รายร่วมกัน ตรวจสอบเนอ้ื หาและไป หาหัวขอ้ ข้อมูลเพิ่มเตมิ ท่ีหอสมดุ มหาวิทยาลยั นเรศวร และจัดแบ่งฝ่ายทาํ รูปเลม่ กบั วดี ีโอ นาํ เสนอ 5. สมาชิกในกล่มุ ชว่ ยกันสรุปผล โดยพิจารณาดเู นื้อหาที่สอดคลอ้ งกนั และขดั แย้งกันแล้ว อภปิ รายสรปุ ผลอีกคร้ัง 6. สมาชกิ ในกลุม่ ชว่ ยกันเรยี บเรียงขอ้ ความให้เปน็ ฉบับเดยี วกัน 7. สมาชกิ ในกลุม่ ร่วมกันเขยี นโครงงานและทําวิดีโอนาํ เสนอ 8. สมาชิกในกลุม่ ช่วยกนั ตรวจสอบเน้ือหารูปเล่มรายงานและวีดีโอนําเสนอ และมีการแก้ไขให้ เกิดความสมบรู ณ์ 9. นาํ เสนอโครงงานหน้าชั้นเรยี น แผนการดา้ เนนิ งาน เดือน ก.ย ต.ค พ.ยลาํ ดบั การดาํ เนินงาน สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ที่1. ประชุมแบง่ หนา้ ท่ี กาํ หนดขอบเขตข้อมูลและ ระยะเวลาในการหาข้อมลู2. ศกึ ษาตามแหลง่ การเรยี นรทู้ ี่กําหนดไว้3. นาํ ขอ้ มลู ท่ีได้มาประชุมรว่ มกัน4. นาํ เสนอความคืบหน้าของโครงงาน5. ตรวจสอบเน้ือหาและหาข้อมูลเพมิ่ เตมิ6. จัดแบง่ ฝ่ายทาํ รูปเล่มรายงาน และวดี ีโอนําเสนอ7. รว่ มกันสรุปผลและอภิปราย8. เรยี บเรยี งเนอ้ื หาใหเ้ ป็นแบบฉบบั เดียวกัน9. เขยี นรปู เลม่ รายงานและจดั ทําวดี ีโอนําเสนอ10. ตรวจสอบรูปเลม่ รายงานและวดี ีโอนาํ เสนอ และ แก้ไขเพิ่มเตมิ ใหส้ มบูรณ์11. นาํ เสนอโครงงานหน้าชน้ั เรยี น
บทท่ี 4 ผลการดา้ เนินงาน การจัดทําโครงงานเรื่อง คลองลัดโพธ์ิสายน้ําแห่งพระบารมี คร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงการประตูระบายน้าํ คลองลดั โพธ์ิ ซงึ่ เปน็ โครงการตามแนวพระราชดําริ และเพื่อนําเสนอเน้ือหาที่เกี่ยวกับโครงการประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ แก่ผู้ท่ีมีความสนใจที่จะศึกษาเน้ือหาของโครงการน้ีเพิ่มเติม พร้อมน้อมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย-เดช ทีม่ ตี อ่ ประชาชนชาวไทยผลการด้าเนินงาน การจัดทําโครงงานเร่ืองคลองลัดโพธิ์สายนํ้าแห่งพระบารมี คณะผู้จัดทําได้นําเสนอเน้ือหาของโครงการประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ให้อยู่ในรูปแบบของเล่มรายงาน และ Power point คลิปวีดิโอ อีกท้ังอัพโหลดให้อยู่ในรูปของ e-book เพื่อที่จะให้ผู้อ่านหรือผู้ท่ีมีความสนใจได้เข้าถึงเนื้อหาของโครงงานไดง้ ่าย สะดวก และรวดเรว็ มากยิง่ ข้นึ
บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษา จากการศกึ ษาโครงการประตรู ะบายนํ้าคลองลัดโพธ์ิคร้ังน้ี คณะผู้จัดทําได้รับท้ังความรู้ ความเข้าใจ และพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมากย่ิงข้ึน ซึ่งโครงการน้ีช่วยลดระยะทางการไหลของแม่น้ําเจ้าพระยาจาก 18 กิโลเมตร ให้เหลือเพียง 600 เมตรรวมทั้งลดเวลาการเดินทางของน้ําจาก 5 ชั่วโมง ให้เหลือเพียง 10 นาทีเท่านั้น ทําให้ช่วยลดผลกระทบจากน้าํ ลน้ ตลงิ่ ใน กรงุ เทพฯและปริมณฑล จากสภาวะน้ําเหนือไหลหลากในช่วงท่ีผ่านมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักการ “ เบี่ยงนํ้า ” (Diversion) ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก3 หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ (กปร.) ซงึ่ จะช่วยย่นระยะทางระบายนํ้าลงสู่ทะเลให้สั้นลง โดยพัฒนาคลองลัดโพธ์ิ ทีต่ น้ื เขนิ และแคบใหก้ ว้างขึน้ รวมทงั้ ปรบั ให้เสน้ ทางนํา้ ไหลลงทะเล เหลืระยะทางเพียง 600 เมตร ลดเวลาเดินทางของนํ้าจาก 5 ช่ัวโมง ให้เหลือเพียง 10 นาทีเท่าน้ัน ทั้งยังหาวิธีบริหารจัดการน้ํา ด้วยการก่อสร้างประตูระบายน้ําบริเวณต้นคลอง ด้านทิศเหนือขนาดความกว้าง14 เมตร จํานวน 4 บาน ใช้วิธีควบคุมการเปิด - ปิดประตูระบายนํ้าให้เหมาะสม สอดคล้องกับเวลาน้ําขนึ้ -นํา้ ลง และนาํ้ ทะเลหนุน ช่วยระบายนํ้าท่ีหลากและนํ้าที่ท่วมทั้ง 2 ฝ่ังของแม่นํ้าเจ้าพระยาลงสู่ทะเลได้เปน็ อยา่ งดี
บรรณานกุ รมกริช สะอิ้งทอง, ชสู ิทธิ์ ชชู าติ, นนั ทยิ า ตนั ตราสบื , วรพล วฒั นเหลืองอรุณ, อศั วนิ ี ไชยวุฒิ และ อสิ รยิ าภรณแ์ สงปญั ญา. (2555). โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ เพื่อประโยชน์สุข ของปวงประชา. (พิมพค์ รั้งท่ี1). เชียงใหม่: วนดิ าการพิมพ์.สํานักงานทรัพยส์ นิ ส่วนพระมหากษัตรยิ ์. (2554). แนวพระราชด้าริในมหานคร คลองลัดโพธิแ์ ละ สะพานภูมิพล. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท ดาวฤกษค์ อมมนู ิเคช่ันส์ จาํ กดั .สาํ นกั ขา่ วเนชัน่ . (18 มกราคม 2550). ประตูระบายนา้ คลองลัดโพธอิ์ นั เนอื่ งมาจากพระราชดา้ ริ. สบื ค้นเมอื่ 14 ตุลาคม 2560, จาก http://www.oknation.net/blog/darknews /2010/11/24/entry-1.สํานกั ข่าวคมชดั ลึก. (18 ตลุ าคม 2559). “ลดั โพธ”์ิ คลองท่ีพ่อฝากไว้ ป้องกนั ภัยนา้ ท่วม. สืบคน้ เมื่อ 14 ตุลาคม 2560, จาก http://www.komchadluek.net/news/ agricultural/246340มูลนธิ ิมัน่ พัฒนา. ประตรู ะบายน้าคลองลดั โพธิ์ พระมหากรณุ าธคิ ุณจากพระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยหู่ วั . สืบคน้ เม่ือ 15 ตลุ าคม 2560, จากhttp://www.manpattanalibrary.com/ newsdetail.php?id=19ThairathTV. (19 พฤษภาคม 2560). 'คลองลดั โพธ์ิ' โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด้าริ. สืบคน้ เมอื่ 14 ตุลาคม 2560, จาก https://www.youtube.com/watch?v=hMNNH9- Zy20
ประวัตผิ ูจ้ ัดทา้ รายงาน1. ชอ่ื : นางสาวอารีรตั น์ เรอื งสุวรรณ ภมู ลิ ําเนา : 352 หมู่2 ตาํ บลท่าชยั อาํ เภอศรีสชั นาลัย จงั หวดั สุโขทัย 64190 จบการศกึ ษาจาก : โรงเรยี นเทศบาลเมืองสวรรคโลก ปัจจุบันกาํ ลังศกึ ษา : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร E-mail : [email protected]. ชือ่ : นางสาวอทุ ัยวรรณ ศรยี า ภูมิลาํ เนา : 276 หม3ู่ ตําบลปง อาํ เภอปง จงั หวดั พะเยา 56140 จบการศึกษาจาก : โรงเรยี นเฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรีนครินทร์ พะเยา ปัจจุบันกําลังศึกษา : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร Email : [email protected]. ชอื่ : นางสาวชนัญชิดา ชยั นา ภูมิลําเนา : 52 หม8ู่ ตําบลสําโรง อําเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแกน่ 40190 จบการศกึ ษาจาก : โรงเรียนอมตวทิ ยา ปจั จุบันกาํ ลังศึกษา : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Email : chananthidaka @gmail.com4. ชอ่ื : Mr. Chheng Keaheng ภูมิลาํ เนา : ประเทศกัมพูชา จบการศกึ ษาจาก : กัมพูชา ปัจจบุ นั กาํ ลังศึกษา : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Email: [email protected]. ชื่อ : นางสาว พชิ ยา จันทโชติ ภูมลิ าํ เนา : 39/93-84 ถนนสระหลวง อาํ เภอเมือง ตาํ บลในเมอื ง จังหวัดพิจติ ร 66000 จบการศกึ ษาจาก : โรงเรยี นพิจิตรพิทยาคม ปจั จุบนั กําลงั ศกึ ษา : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร Email : [email protected]
6. ชอื่ : นายกฤต ดา่ นกิตติไกรลาศ ภมู ลิ ําเนา : 134/3 หมู4่ ตาํ บลบา้ นกรา่ ง อาํ เภอกงไกรลาศ จังหวดั สุโขทัย 64170 จบการศกึ ษาจาก : โรงเรียนสุโขทยั วทิ ยาคม ปัจจบุ ันกาํ ลงั ศึกษา : คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร Email : [email protected]. ชอ่ื : นางสาวกาญจนา ประทุมทิพย์ ภมู ลิ าํ เนา : 59/115 หมู่ 5 ตําบลหนองบัว อาํ เภอเมอื ง ถนนรอบเมือง จังหวดั อดุ รธานี 41000 จบการศึกษาจาก : โรงเรยี นสตรีราชินทู ิศ ปจั จุบนั กําลังศกึ ษา : คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Email : [email protected]. ช่ือ : นายกติ ตพิ ศ ปัน่ ทระนาถ ภูมิลําเนา : 300 หมู่ 5 ตาํ บลโป่งแพร่ อําเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย 57250 จบการศกึ ษาจาก : โรงเรียนดํารงราษฎร์สงเคราะห์ ปจั จบุ นั กาํ ลงั ศึกษา : คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Email : [email protected]. ชอ่ื : นายจตุรภทั ร ปรีชาวัฒนเศรษฐ์ ภูมลิ ําเนา : 51 หมู่ 9 ตาํ บลเมืองคง อําเภอคง จงั หวดั นครราชสีมา 30260 จบการศกึ ษาจาก : โรงเรียนพระสธุ รรมยานเถระวิทยา ปจั จุบันศกึ ษาอย่ทู ี่ : คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Email : prichawattanaset @gmail.com10. ช่ือ : นางสาวจริ ชั ญา บุญศรี ภูมลิ าํ เนา : 99 หมู่ 7 ตาํ บลหนองผ้ึง อําเภอสารภี จงั หวดั เชยี งใหม่ 50140 จบการศึกษาจาก : โรงเรยี นเรยีนาเชลีวิทยาลยั ปัจจบุ ันกาํ ลงั ศกึ ษา : คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร Email : [email protected]
11. ช่ือ : นางสาวจุฑามาศ ฉมิ สุพร ภูมลิ าํ เนา : 254 หมู่ 5 ตําบลคลองสมบูรณ์ อําเภอคลองขลุง จงั หวดั กําแพงเพชร 62120 จบการศึกษาจาก : โรงเรียนวชั รวทิ ยา ปจั จุบนั กําลังศึกษา : คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร Email : mindjutamas @hotmail.com
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: