Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit4_

Unit4_

Published by nwachx 007x, 2019-10-28 23:35:34

Description: Unit4_

Search

Read the Text Version

คานา การพฒั นาประเทศไปสู่สังคมอุดมปัญญา จะตอ้ งอาศยั บุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ ตระหนกั ในความสาคญั ของการรับรู้ขอ้ มูลและสารสนเทศต่างๆ อยา่ งมีวจิ ารญาณ จนเกิดปัญญาปฏิบตั ิ เพ่ือนาองคค์ วามรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ การจดั การความรู้จึงเป็ นส่ิงสาคญั ท่ีจะตอ้ งปลูกฝังและฝึ กฝน ท้งั ดา้ นการสืบคน้ วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อนาเสนอองคค์ วามรู้ที่ถูกตอ้ งเหมาะสมในรูปแบบต่างๆ รายวชิ าภาษาไทยเชิงวชิ าการ GEL 2001 จึงเกิดข้ึนเพื่อมุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนตระหนกั ถึงความสาคญั และใช้ ภาษาเชิงวิชาการเพ่ือถ่ายทอดงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม รายวิชา ภาษาไทยเชิงวิชาการน้ีจดั ทาโดยศูนยก์ ารศึกษาทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทาที่มุ่งพฒั นาการ เรียนการสอนหมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป หลกั สูตรปริญญาบณั ฑิต มีการเรียนการสอนตามหลกั การปฏิรูป การเรียนรู้ตามระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ ร่วมกบั ระบบ E-Learning เนน้ ใหผ้ เู้ รียนศึกษาดว้ ยตนเองเพ่ือ พฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียนตอ่ ไป เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทยเชิงวิชาการ GEL 2001 น้ี คณาจารยผ์ เู้ ขียนไดแ้ บ่งเน้ือหา ออกเป็ น ๘ หน่วยการเรียน ไดแ้ ก่ หน่วยการเรียนที่ ๑ ความรู้พ้ืนฐานเร่ืองการเขียนเชิงวิชาการ หน่วย การเรียนที่ ๒ การใชภ้ าษาเชิงวชิ าการ หน่วยการเรียนที่ ๓ การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอา้ งอิงเชิงวิชาการ หน่วยการเรียนท่ี ๔ การเขียนรายงานวชิ าการ หน่วยการเรียนท่ี ๕ การเขียนบทความแสดงความคิดเห็น หน่วยการเรียนท่ี ๖ การเขียนบทความวชิ าการ หน่วยการเรียนที่ ๗ การเขียนเอกสารราชการ และหน่วย การเรียนท่ี ๘ การเขียนรายงานวิจยั เอกสารประกอบการสอนน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษารายวิชา ภาษาไทยเชิงวิชาการระดบั เบ้ืองตน้ เท่าน้ัน ผูเ้ รียนจะตอ้ งศึกษาเพิ่มเติมในระบบ E-Learnning ที่ คณาจารยส์ าขาวชิ าภาษาไทยไดจ้ ดั ทาร่วมกบั เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ีจึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด เพราะจะมีแบบทดสอบประจาแต่ละหน่วยสาหรับวดั ความรู้ของผูเ้ รียนซ่ึงจะทาให้มีความเขา้ ใจใน บทเรียนมากยงิ่ ข้ึน รวมท้งั ฝึกใหผ้ เู้ รียนมีความรับผดิ ชอบท่ีจะตอ้ งศึกษาเพ่มิ เติมดว้ ยตนเอง มีวินยั ต่อการ ปฏิบตั ิกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียน ตอบสนองต่อปณิธานของมหาวิทยาลยั ท่ีตอ้ งการมุ่งใหผ้ เู้ รียน เป็นผู้ “ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นาสังคม” สมดงั ปณิธานอยา่ งแทจ้ ริง คณาจารย์สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา

๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร สารบญั หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขยี นรายงานวชิ าการ หน้า ข้นั ตอนการทารายงานวชิ าการ ๕๗ ส่วนประกอบรายงาน ๕๘ การใชภ้ าษาในการเรียบเรียงเน้ือหารายงาน ๖๓ ๗๒ นกั ศึกษาสามารถดาวนโ์ หลดไฟล์ Powerpoint จากเอกสารแนบ (Attachments file)

หน่วยการเรียนท่ี ๔ การเขยี นรายงานวชิ าการ แนวคิด ๑. การทารายงานวิชาการเป็ นกระบวนการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมีระบบข้นั ตอน เพื่อให้ได้ผล การศึกษาที่ถูกตอ้ งและน่าเช่ือถือ ๒. ส่วนประกอบของรายงานเป็ นองค์ประกอบสาคญั ทาให้รายงานวิชาการมีความครบถว้ น สมบรู ณ์ตามรูปแบบการเขียนรายงานวชิ าการ ๓. การให้ความสาคญั กับการใช้ภาษาในรายงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และการพิมพ์ รายงานอยา่ งประณีตจะเพิ่มคุณค่าใหร้ ายงานวชิ าการน่าอ่านยง่ิ ข้ึน วตั ถุประสงค์ เมื่อศึกษาเน้ือหาในหน่วยการเรียนท่ี ๔ แลว้ ผเู้ รียนสามารถ ๑. อธิบายกระบวนการทารายงานวชิ าการได้ ๒. เขียนส่วนประกอบตา่ งๆ ของรายงานวชิ าการได้ ๓. ทารายงานวชิ าการในหวั ท่ีไดร้ ับมอบหมายได้ วธิ ีการเรียน ๑. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนหน่วยการเรียนท่ี ๔ ๒. เขา้ ฟังการบรรยายระบบการเรียนกลุ่มใหญค่ ร้ังที่ ๔ ๓. ทาแบบทดสอบทา้ ยการเรียนระบบการเรียนกลุ่มใหญ่ ๔. ศึกษาดว้ ยตนเองในระบบ E-Learning ๕. ทาแบบทดสอบประจาหน่วยจากระบบ E-Learning กลับสูห่ น้าสารบัญ

หน่วยการเรียนที่ ๔ การเขยี นรายงานวชิ าการ อาจารย์เสาวลักษณ์ แซ่ลี้ การเขียนรายงานวชิ าการเป็นกระบวนการหน่ึงของการศึกษาคน้ ควา้ และนาเสนอผลการศึกษา คน้ ควา้ น้นั ในรูปแบบลายลกั ษณ์อกั ษร โดยมีการดาเนินการอยา่ งเป็ นลาดบั ข้นั ตอน และถ่ายทอดออกมา ในรูปแบบที่ถูกตอ้ งตามหลกั การเขียนรายงานวชิ าการ เพ่ือใหก้ ระบวนการศึกษาคน้ ควา้ น้นั สมบรู ณ์และ น่าเช่ือถือ ผทู้ ี่กาลงั ศึกษาในระดบั อุดมศึกษาจึงจาเป็นที่ตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองการเขียนรายงาน วชิ าการอยา่ งถูกตอ้ ง ความหมายของรายงานวชิ าการ คาวา่ รายงาน (Report) หรือ รายงานวชิ าการ มีผใู้ หค้ วามหมายไวต้ า่ งๆ กนั ดงั น้ี ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั (๒๕๔๗, หน้า ๒ ) กล่าวถึงรายงาน วิชาการ ว่าหมายถึง รายงานผลการคน้ ควา้ วิจยั ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ เพ่ือประกอบการเรียน รายวชิ าใดรายวชิ าหน่ึง (ในรายวชิ าหน่ึงอาจมีรายงานวชิ าการไดห้ ลายเรื่อง)... ธนู ทดแทนคุณ (๒๕๔๗, หน้า ๗๒) กล่าวว่ารายงานเป็ นเอกสารทางวิชาการที่ผูส้ อน มอบหมายผเู้ รียนจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงในการประเมินผลในรายวชิ าน้นั ๆ การศึกษารายงานไม่ลุ่ม ลึกมาก ใชเ้ วลานอ้ ย รูปแบบการพิมพห์ รือส่วนประกอบมีไม่มากเทา่ กบั รายงานทางวชิ าการประเภทอื่น โปรแกรมวิชาภาษาไทยและโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (๒๕๔๕, หนา้ ๒๑๖) ไดก้ ล่าววา่ รายงานเป็ นการเรียบเรียงผลจากการศึกษาคน้ ควา้ จากเอกสาร การสังเกต การ ทดลองเก่ียวกับเรื่องต่างๆในแต่ละรายวิชาซ่ึงผูศ้ ึกษาและผูส้ อนจะมีการตกลงกันเก่ียวกบั ช่ือเร่ือง จานวนบุคคลที่ทารายงาน จานวนรายงาน โดยมีการพมิ พห์ รือเขียนตามรูปแบบที่มหาวทิ ยาลยั กาหนด ดงั น้นั พอสรุปไดว้ ่า รายงานหรือรายงานวชิ าการ เป็ นการนาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ เรื่องใด เร่ืองหน่ึง เพื่อประกอบการศึกษารายวิชาใดรายวิชาหน่ึง มีรูปแบบการจดั ทาที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก แต่ เป็นไปตามขอ้ ตกลงระหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รียน ข้นั ตอนการทารายงานวชิ าการ การจดั ทารายงานวชิ าการโดยทวั่ ไปมีข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. วางแผนการทารายงาน ๒. สารวจ รวบรวม และจดั เกบ็ ขอ้ มูล กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๕๙ ๓. ศึกษารูปแบบและส่วนประกอบของรายงาน ๔. วเิ คราะห์และเรียบเรียงขอ้ มลู ๕. อา้ งอิง ข้นั ตอนต่างๆ ดงั ขา้ งตน้ เป็นแนวทางปฏิบตั ิ เมื่อผจู้ ดั ทาตอ้ งการศึกษาคน้ ควา้ เรื่องใดเรื่องหน่ึงท่ี เกี่ยวข้องกับการเรียนวิชาน้ันๆ เพ่ือให้ได้ผลการศึกษาท่ีน่าเช่ือถือ โดยมีรายละเอียดของวิธีการ ดาเนินการ ดงั น้ี ๑. วางแผนการทารายงาน ประกอบดว้ ยการกาหนดหัวเร่ือง กาหนดวตั ถุประสงค์ และจดั ทา โครงเร่ือง ๑.๑ กาหนดหัวเร่ือง การกาหนดหัวเร่ืองรายงานวิชาการ อาจเกิดจากการตกลงร่วมกนั ระหว่างผสู้ อนและ ผเู้ รียน หรืออาจเกิดจากการให้อิสระในการเลือกคน้ ควา้ ขอ้ มูลที่ผูเ้ รียนสนใจก็ได้ ดงั น้นั หากตอ้ งกาหนดหัว เร่ืองเพอื่ ทารายงานดว้ ยตนเอง เราควรพจิ ารณาจากประเดน็ ตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี ก. เลือกเร่ืองที่เราสนใจ การทาในส่ิงที่ตนพอใจยอ่ มก่อให้เกิดความสุข และ มุง่ มน่ั ท่ีจะดาเนินการต่อไปจนสาเร็จ และถา้ เร่ืองเลือกเกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาในรายวิชาท่ีกาลงั ศึกษาอยดู่ ว้ ย ก็จะเป็ นประโยชน์ยิ่งข้ึน เพราะนอกจากจะทางานในประเด็นท่ีเราสนใจแลว้ ยงั เป็ นโอกาสเพิ่มเติม ความรู้ในวชิ าน้นั ดว้ ย ข. เลอื กเร่ืองทตี่ รงกบั ความสามารถของเรา เพราะการทางานที่ตรงกบั ความสามารถของตนยอ่ มส่งผลใหง้ านมีคุณภาพมากกวา่ เลือกทางานท่ีตนไม่ถนดั ค. เลอื กเร่ืองทคี่ าดว่าเราจะทาได้สาเร็จ สาหรับผเู้ รียนในระดบั ช้นั ต่างกนั พ้ืนฐาน ความรู้ก็ยอ่ มต่างกนั ดงั น้นั จึงควรพิจารณาถึงศกั ยภาพของตนเองดว้ ย ควรตระหนกั วา่ เร่ืองท่ีสนใจน้นั สามารถจะทาไดส้ าเร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนดหรือไม่ การเลือกเรื่องที่เหมาะสมกบั ความสามารถ ของตนก็จะเป็นเหตุผลหน่ึงท่ีสนบั สนุนใหก้ ารทารายงานสาเร็จไดต้ ามเป้ าหมาย ง. เลอื กเร่ืองทส่ี ามารถหาข้อมูลได้ เพราะในการทารายงานวชิ าการทุกคร้ังขอ้ มูล อา้ งอิงเป็ นสิ่งสาคญั หากหัวขอ้ ที่เลือกไวไ้ ม่สามารถหาขอ้ มูลมาสนับสนุนได้ก็จะทาให้ขอ้ มูลไม่มี น้าหนกั และไม่น่าเช่ือถือ ดงั น้นั ก่อนเลือกเรื่องใหค้ านึงถึงแหล่งขอ้ มูลไปพร้อมๆ กนั เมื่อได้เรื่องตามท่ีตอ้ งการแล้ว สิ่งสาคัญอีกอย่างก็คือ “การต้ังช่ือเร่ือง” เน่ืองจาก การนาเสนอผลการคน้ ควา้ ดว้ ยรายงานวชิ าการน้ีเป็ นการเขียนท่ีตอ้ งใชภ้ าษาแบบแผน ดงั น้นั ภาษาใน การต้งั ช่ือเรื่องจึงแตกตา่ งจากการต้งั ชื่อประเภทอื่น ชื่อเรื่องของรายงานวิชาการไม่ตอ้ งการความต่ืนเตน้ โลดโผน ไม่ใชป้ ระโยคคาถาม แต่ควรเป็ นคาวลีหรือกลุ่มคาท่ีมีความหมายในตวั มนั เองและแสดง ประเดน็ ท่ีจะศึกษาใหช้ ดั เจน อาทิ  แสดงสภาพการณ์ท่ีเกิดข้ึน เช่น การเปลี่ยนแปลงของพยญั ชนะตน้ เป็นอกั ษรนา กลับสูห่ น้าสารบัญ

๖๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร การใชภ้ าษาในหอ้ งสนทนาทางคอมพิวเตอร์ กลวธิ ีการแสดงความเห็นโตแ้ ยง้ ในภาษาไทย  แสดงประเด็นปัญหา เช่น ปัญหาการอ่านภาษาไทยในเดก็ ช้นั ประถม การใช้ สารเคมีปราบศตั รูพืชในนาขา้ ว ความขดั แยง้ ทางความคิดระหวา่ งพรรคสีเหลืองกบั พรรคสีแดง  แสดงวธิ ีการศึกษา เช่น การศึกษาวฒั นธรรมในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ จาก เรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน วเิ คราะห์ลีลาการใชภ้ าษาในสารคดีสาหรับเด็ก  แสดงเร่ืองความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงสองส่ิง เช่น การส่งเสริมการท่องเที่ยวร่วมกบั การอนุรักษธ์ รรมชาติ ความนิยมบริโภคผกั ปลอดสารเคมีในกรุงเทพมหานครและต่างจงั หวดั นอกจากน้นั การต้งั ช่ือเร่ืองที่ดีน้นั ควรจะกะทดั รัด ชดั เจน หลีกเลี่ยงคาท่ีไม่จาเป็ น เลี่ยง คาซ้าๆ โดยนาคาหรือขอ้ ความท่ีสาคญั ข้ึนตน้ ก่อน ควรต้งั ชื่อเรื่องในลกั ษณะของคานามซ่ึงจะใหค้ วาม ไพเราะสละสลวยกวา่ คากริยา เช่น การศึกษาเปรียบเทียบ... การศึกษา... การสารวจ... การวิเคราะห์... การทดลอง... เป็นตน้ ๑.๒ กาหนดวัตถุประสงค์ เป็ นการวางแผนข้นั ต่อไป แสดงถึงความคาดหวงั ว่าเมื่อทา รายงานฉบบั น้นั แลว้ จะไดท้ ราบผลเก่ียวกบั อะไรบา้ ง ซ่ึงเช่ือมโยงไปสู่การจากดั ขอบเขตของเน้ือหา รายงานวา่ มีมากนอ้ ยเพียงใด ประโยชน์ที่จะไดจ้ ากรายงานน้นั คืออะไร ผทู้ ารายงานอาจใชก้ ลุ่มคาว่า “เพื่อศึกษา...” “เพ่ือวเิ คราะห์...” “เพ่ือใหท้ ราบ...” เป็ นตวั ช่วยแนะความคิดขณะกาหนดวตั ถุประสงค์ ของเน้ือหา ๑.๓ กาหนดโครงเรื่อง การกาหนดโครงเรื่องเป็ นประโยชน์สาหรับการทางานเขียนทุก ประเภท รวมท้งั รายงานวชิ าการ เพราะโครงเรื่องทาใหผ้ ทู้ ารายงานสามารถทราบเน้ือหาโดยรวมท้งั หมด ทราบปริมาณเน้ือหาของแต่ละหวั ขอ้ และสามารถปรับแกเ้ น้ือหาใหเ้ หมาะสมก่อนท่ีจะลงมือคน้ ควา้ เรียบเรียงขอ้ มูล ปรีชา ชา้ งขวญั ยนื (๒๕๕๐, หนา้ ๖๑-๖๒) จาแนกข้นั ตอนในการวางโครงเรื่องดงั น้ี ๑. กาหนดประเด็นใหญ่และประเดน็ ยอ่ ยใหค้ รบถว้ น ๒. ลาดบั หวั เร่ือง ๓. แบง่ หวั ขอ้ ใหญ่ออกเป็ นหวั ขอ้ ยอ่ ย ๔. จดั หวั ขอ้ ทุกหวั ขอ้ ใหม้ ีน้าหนกั ใกลเ้ คียงกนั ตวั อยา่ งเช่นเมื่อตอ้ งการทารายงานเรื่อง “กลว้ ยกบั วถิ ีชีวติ ไทย” ผทู้ ารายงานตอ้ ง กาหนดว่าในเรื่องน้ีจะกล่าวถึงประเด็นอะไรไดบ้ า้ ง เช่น ใบตอง เชือกกลว้ ย มา้ ก้านกลว้ ย กระทง ใบตอง ประโยชน์ของกลว้ ยดา้ นต่างๆ ส่วนต่างๆ ของกลว้ ยท่ีนามาใชป้ ระโยชน์ การปลูกกลว้ ย การ พฒั นาผลิตภณั ฑจ์ ากกลว้ ย กลว้ ยในฐานะสมุนไพร เป็นตน้ เมื่อได้รวบรวมประเด็นต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองแล้ว จากน้ันให้นาประเด็นที่ได้ ท้งั หมดขา้ งตน้ ท่ีไดจ้ ดไวม้ าเรียงลาดบั ความสาคญั โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของเน้ือหา ประเด็น ใดไม่เกี่ยวขอ้ งก็ตดั ออก คงไวแ้ ต่ส่วนที่สัมพนั ธ์กบั หวั เร่ือง เรียงลาดบั ตามความเหมาะสม อาจจะเรียง ตามลาดบั เวลา ตามเหตุการณ์หรือระยะเวลาการเกิดกระบวนการ ลาดบั ตามสถานที่ ลาดบั ตามเหตุผล กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๑ อ่ืนๆ ที่เหมาะสม และจดั วางหวั ขอ้ ใหญไ่ วด้ า้ นซา้ ยมือ ส่วนหวั ขอ้ ยอ่ ยใหเ้ ย้อื งเขา้ ดา้ นขวาลดหลนั่ กนั ไป โดยมีตวั เลขหรือตวั อกั ษรกากบั หนา้ หวั ขอ้ ยกตวั อย่างเร่ือง “กลว้ ยกบั วิถีชีวิตไทย” เราสามารถเรียงลาดบั ประเด็นต่างๆ โดยเรียง จากง่ายไปยาก หรือจากขอ้ มูลทว่ั ไปสู่ขอ้ มูลซบั ซอ้ น ไดโ้ ครงเรื่อง ดงั น้ี กล้วยกบั วถิ ีชีวติ ไทย บทนา 1. ส่วนตา่ งๆ ของกลว้ ยท่ีนามาใชป้ ระโยชน์ 1.1 ใบ 1.2 ตน้ 1.3 กาบ 1.4 กา้ น 1.5 ดอกหรือปลี 1.6 ผล 2. บทบาทของกลว้ ยในชีวติ ประจาวนั 2.1 การอุปโภคและบริโภค 2.2 การละเล่น 2.3 การสร้างงานศิลป์ 3. บทบาทของกลว้ ยในพธิ ีกรรม 3.1 พิธีทางศาสนา 3.2 พิธีทาขวญั เดก็ 3.3 พธิ ีแตง่ งาน 3.4 พธิ ีการปลูกบา้ น 3.5 พิธีศพ บทสรุป จากโครงเร่ืองขา้ งตน้ น้ี สังเกตวา่ เราไม่จาเป็นตอ้ งนาประเด็นท้งั หมดท่ีรวบรวมไวม้ าใช้ ในโครงเรื่อง เช่น การปลูกกลว้ ย กลว้ ยในฐานะสมุนไพร การพฒั นาผลิตภณั ฑ์จากกลว้ ย ดว้ ยเหตุผล วา่ เป็ นประเด็นที่ไม่สัมพนั ธ์กบั หวั เรื่องท่ีตอ้ งการคน้ ควา้ หรืออาจจะเน้ือหามีมากเกินไป ไม่เหมาะสม กบั ขนาดของรายงานและเวลาอนั จากดั กลับสูห่ น้าสารบัญ

๖๒ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ๒. สารวจ รวบรวม และจัดเก็บข้อมูล1 ดงั ท่ีกล่าวไวต้ ้งั แต่ข้นั ตอนการเลือกเรื่องเพื่อจะทา รายงานแลว้ วา่ ควรพิจารณาแหล่งขอ้ มูลไปพร้อมๆ กนั เพ่ือเป็ นการประเมินความสาเร็จของการทา รายงานฉบบั น้นั วา่ มีความเป็นไปไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด เพราะหากเรื่องน่าสนใจ แต่ไม่มีแหล่งขอ้ มูลหรือ มีขอ้ มูลแคบมาก จนไม่น่านามาทาเป็ นรายงานได้ การทารายงานเร่ืองน้นั ให้สาเร็จก็มีความเป็ นไปได้ นอ้ ย หรืออาจจะตอ้ งเปล่ียนแปลงหวั เร่ืองใหม่กลางครันได้ ๓. ศึกษารูปแบบและส่วนประกอบของรายงาน ก่อนลงมือทารายงานผจู้ ดั ทาควรศึกษารูปแบบ และส่วนประกอบของรายงานใหเ้ ขา้ ใจเป็ นอยา่ งดี เน่ืองจากการเขียนรายงานวชิ าการเป็นงานเขียนท่ีมี รูปแบบเฉพาะ ดงั น้นั หากผจู้ ดั ทารายงานไม่ใหค้ วามสาคญั กบั ส่วนท่ีเป็นองคป์ ระกอบเหล่าน้ีแลว้ งาน เขียนยอ่ มไม่สมบูรณ์ มีผลทาใหค้ ุณค่าของรายงานวชิ าการดอ้ ยลงได้ ดงั น้นั ในบทน้ีจึงไดก้ ล่าวถึงการ เขียนส่วนประกอบของรายงานไวเ้ พือ่ ใชป้ ระกอบการจดั ทารายงานดว้ ย ๔. วเิ คราะห์และเรียบเรียงข้อมูล เมื่อผา่ นข้นั ตอนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แลว้ ใหน้ าขอ้ มูล มาวิเคราะห์ด้วยแนวคิดหรือทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ศาสตร์ท่ีศึกษา ตวั อย่างเร่ือง “การออกเสียงของ ผสู้ ื่อข่าว” ถา้ ศึกษาในแนวภาษาศาสตร์ อาจจะศึกษาวิธีการออกเสียงวา่ ผสู้ ื่อข่าวออกเสียงถูกตอ้ งตาม หลกั การออกเสียงภาษาไทยหรือไม่ มีเสียงไหนที่ผิดแปลกหรือเบ่ียงเบนไปจากเสียงมาตรฐานบา้ ง เบี่ยงเบนไปอยา่ งไร สาเหตุของการออกเสียงผิดปกติเน่ืองจากอะไรบา้ ง แต่นกั นิเทศศาสตร์อาจจะ เลือกศึกษาการออกเสียงขณะรายงานข่าวแต่ละประเภท ว่ามีลกั ษณะเหมือนหรือต่างกนั อย่างไร และ ลกั ษณะที่แตกต่างเหล่าน้นั มีความสัมพนั ธ์กบั เน้ือหาข่าวหรือไม่ การออกเสียงหรือการใช้เสียงใน ลกั ษณะดงั กล่าวสร้างความน่าสนใจใหก้ บั เน้ือข่าวมากนอ้ ยเพียงใด เป็นตน้ ขอ้ มูลท่ีไดม้ าท้งั หมดตอ้ งนามาเรียบเรียงดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง หลีกเล่ียงการลอกจาก ตน้ ฉบบั หรือขอ้ มูลอา้ งอิง และจดั ลาดบั การนาเสนอตามกรอบโครงเรื่องท่ีได้กาหนดไวแ้ ล้ว ซ่ึงจะ กล่าวถึงอีกคร้ังในหวั ขอ้ การใชภ้ าษาในการเรียบเรียงรายงาน ๕. อ้างองิ 2 การอา้ งอิงแหล่งขอ้ มูลสาหรับการทารายงานวชิ าการเป็นสิ่งท่ีผทู้ ารายงานตอ้ งให้ ความ ส าคัญโดยใ ห้คานึ งถึ งคุ ณภาพ ของข้อมูลที่ นามา มากก ว่าคา นึ งแต่ เพียง ปริ มา ณของ ข้อมู ล จุดประสงค์ของการอา้ งอิงก็เพื่อเป็ นการแสดงหลกั ฐาน เพื่อเสนอความรู้เพิ่มเติมหรือความรู้ที่สาคญั ประกอบเน้ือหา ทาให้รายงานมีคุณค่ายิ่งข้ึน ขอ้ พึงระวงั สาหรับการนาขอ้ มูลของผูอ้ ื่นมาอ้างอิงใน รายงานของตนมากเกินไป อาจก่อให้เกิดผลเสียคือผูจ้ ดั ทาไม่ได้นาเสนอแนวคิดของตนให้เป็ นที่ ประจกั ษช์ ดั เน่ืองจากแนวคิดท้งั หมดท่ีนาเสนอลว้ นนามาจากผอู้ ่ืน 1 ศึกษาเพม่ิ เติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบคน้ ขอ้ มลู และการอา้ งอิงเชิงวชิ าการ 2 ศึกษาเพ่มิ เติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบคน้ ขอ้ มลู และการอา้ งอิงเชิงวชิ าการ กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๓ การเลือกแหล่งขอ้ มลู อา้ งอิง ควรเลือกอา้ งอิงขอ้ มลู เบ้ืองตน้ หรือขอ้ มลู ปฐมภูมิ คือขอ้ มูลที่ไดม้ า จากแหล่งเดิมของเร่ืองราว เช่น การสัมภาษณ์ผอู้ ยใู่ นเหตุการณ์ บนั ทึกผรู้ ่วมปฏิบตั ิภารกิจ ทฤษฎีการ คิดคน้ ของผเู้ ขียนเรื่องน้นั ๆ เป็ นตน้ แหล่งขอ้ มูลประเภทน้ีจะทาใหข้ อ้ มูลในรายงานน่าเชื่อถือมากกว่า แหล่งขอ้ มูลที่เป็นการอา้ งตอ่ ๆ กนั มา ส่วนประกอบของรายงานวชิ าการ รายงานมีส่วนประกอบใหญๆ่ ๓ ส่วน ดงั น้ี ๑. ส่วนประกอบตอนตน้ ไดแ้ ก่ ปกนอก ใบรองปก ปกใน คานา สารบญั ๒. ส่วนเน้ือหา ไดแ้ ก่ บทนา เน้ือหา บทสรุป ๓. ส่วนประกอบตอนทา้ ย ไดแ้ ก่ บรรณานุกรม ภาคผนวก อภิธานศพั ท์ ดชั นี ใบรองปก ปก หลงั ส่ วนประกอบตอนต้น ๑. ปกนอก ควรจดั ทาด้วยกระดาษเน้ือหนากว่ากระดาษดา้ นในท่ีเป็ นเน้ือหารายงาน โดยมีรูปแบบและ รายละเอียดที่ข้ึนอยู่กบั สถาบนั และผูส้ อนกาหนด แต่โดยทวั่ ไปหน้าปกรายงานจะประกอบด้วยชื่อ รายงาน ชื่อผจู้ ดั ทา ชื่อวิชา ชื่อสถาบนั ภาคเรียน และปี การศึกษา โดยจดั วางรูปแบบให้เหมาะสม นอกจากน้ีในบางสถาบนั ก็กาหนดใหร้ ะบุช่ืออาจารยผ์ สู้ อนในหนา้ ปกดว้ ย หรือบางแห่งให้ระบุเพียงชื่อ รายงานเทา่ น้นั ส่วนรายละเอียดอ่ืนๆ ใหใ้ ส่ไวใ้ นหนา้ ปกใน สาหรับกรณีท่ีช่ือเร่ืองยาวเกินหน่ึงบรรทดั ใหจ้ ดั พมิ พใ์ นรูปแบบสามเหลี่ยมหวั กลบั เพ่อื ความสวยงาม กลับสูห่ น้าสารบัญ

๖๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ตวั อยา่ งการวางรูปแบบหนา้ ปกรายงานวชิ าการ การเขยี นรายงานวชิ าการ เสนอ อาจารย์ยงิ่ รัก มีเมตตา จดั ทาโดย นายปัญญา คิดดี รหสั ๕๐๑๑๑๑๑๑๑๑ สาขาวชิ าภาษาไทย รายงานน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาวชิ าภาษาไทยเชิงวชิ าการ (GEL 2001) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา ภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ ๒. ใบรองปก ใบรองปกเป็ นกระดาษเปล่าที่วางเรียงต่อจากปกนอก ผจู้ ดั ทารายงานส่วนใหญ่มกั ไม่มีใบรอง ปก เน่ืองจากเป็ นกระดาษไม่มีขอ้ มูลใดๆ ในการทารายงานวิชาการจะปรากฏการแทรกใบรองปกใน กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๕ ตาแหน่งต่อจากปกหน้าและก่อนปกหลัง แม้จะเป็ นเพียงหน้ากระดาษเปล่า แต่ใบรองปกก็เป็ น ส่วนประกอบที่ทาใหร้ ายงานวชิ าการมีองคป์ ระกอบสมบูรณ์ ๓. ปกใน ปกในจะนาเสนอขอ้ มูลเหมือนกบั ปกนอกทุกประการ แต่พิมพ์ขอ้ มูลลงบนกระดาษสีขาว เหมือนการพิมพเ์ น้ือหารายงาน ปกในมีประโยชน์เพราะหากปกนอกชารุดหรือขาดหาย ขอ้ มูลของ ผจู้ ดั ทารายงานกย็ งั ปรากฏอยใู่ นปกใน ๔. คานา คานาเป็ นส่วนที่แสดงถึงความสาคญั ความเป็ นมาของการจดั ทารายงาน วตั ถุประสงค์ ขอบเขตของเน้ือหา คาขอบคุณผทู้ ่ีช่วยเหลือใหก้ ารทารายงานสาเร็จเรียบร้อยดว้ ยดี การเขียนคานาไม่ ควรกล่าวถึงขอ้ บกพร่องหรือคาขอโทษท่ีจดั ทารายงานไม่เรียบร้อย ในส่วนทา้ ยของคานาจะระบุชื่อ- นามสกุลของผจู้ ดั ทารายงาน และวนั เดือน ปี แต่ถา้ ผจู้ ดั ทามีหลายคนใหเ้ ขียนวา่ คณะผจู้ ดั ทา แทนการ ลงช่ือ-นามสกุลของผจู้ ดั ทาจนครบทุกคน ตวั อยา่ ง คานา รายงานเร่ือง การเขียนรายงานวิชาการ ฉบบั น้ี จดั ทาข้ึนเพ่ือประกอบการศึกษารายวิชา GEL 2001 ภาษาไทยเชิงวิชาการ ประจาภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓ โดยมีเน้ือหาเก่ียวกบั ความหมาย ของรายงาน ข้นั ตอนการทารายงาน และส่วนประกอบรายงาน ขอขอบคุณเจา้ ของงานเขียนทุกท่านที่ผจู้ ดั ทาไดน้ าขอ้ มูลมาใชอ้ า้ งอิงประกอบการศึกษา และ ขอขอบคุณอาจารยย์ ิ่งรัก มีเมตตา ที่ช่วยให้คาแนะนาในการจดั ทารายงานจนเป็ นผลสาเร็จ และหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ รายงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อผสู้ นใจเร่ืองการเขียนรายงานวชิ าการต่อไป ปัญญา คิดดี ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๕. สารบัญ สารบญั ทาหน้าท่ีบอกหัวเรื่องต่างๆ ที่มีอย่ใู นรายงาน เรียงลาดบั ต้งั แต่ตน้ จนจบ โดยระบุเลข หนา้ กากบั หวั ขอ้ เรื่องน้นั ไว้ เริ่มตน้ หนา้ ที่ ๑ เมื่อเป็นส่วนเน้ือเรื่อง ส่วนหนา้ ที่เป็ นส่วนประกอบรายงาน กลับสูห่ น้าสารบัญ

๖๖ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ไดแ้ ก่ คานา สารบญั สารบญั ภาพ สารบญั ตาราง จะใชต้ วั เลขหรือตวั อกั ษรภายในวงเล็บ ในกรณีที่ เน้ือหาของรายงานมีภาพประกอบและตารางแสดงขอ้ มูลจานวนมาก ก็อาจจดั ทาสารบญั ภาพและ สารบญั ตารางเรียงตอ่ สารบญั เน้ือหา ตวั อยา่ งสารบญั สารบัญ คานา _________________________________________________________ หนา้ สารบญั ____________________________________________________ (๑) สารบญั ภาพ __________________________________________________ (๒) สารบญั ตาราง _________________________________________________ (๓) ความหมายของรายงานวชิ าการ ____________________________________ (๔) ข้นั ตอนการทารายงานวชิ าการ _____________________________________ ๑ ส่วนประกอบรายงานวชิ าการ ____________________________________ ๒ การลงรายการบรรณานุกรม _______________________________________ ๑๐ บรรณานุกรม __________________________________________________ ๑๙ ภาคผนวก __________________________________________________ ๒๗ อภิธานศพั ท์ __________________________________________________ ๒๙ ดชั นี _________________________________________________________ ๓๓ ๓๕ ตวั อยา่ งสารบญั ภาพ สารบญั ภาพ ภาพท่ี หนา้ ๑ แบบอกั ษร ๓ ๒ ตวั อยา่ งรูปแบบหนา้ ปกรายงาน ๖ ๓ ตวั อยา่ งบตั รบนั ทึกขอ้ มูล ๙ กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๗ ข้อควรระวงั ในการจัดทาสารบัญ การจดั ทาสารบญั ไม่ใช่เรื่องยากแต่มีขอ้ ควรระวงั ดงั น้ี ๑. หัวข้อในสารบญั ไม่ครบตามหัวเร่ืองในเล่มรายงาน ฉะน้นั ควรตรวจสอบหวั ขอ้ ให้ ถูกตอ้ งเพอื่ ทาใหส้ ารบญั สามารถแสดงเน้ือหาภายในเล่มไดส้ มบรู ณ์ท่ีสุด และการพิมพห์ วั ขอ้ ในสารบญั อาจพิมพท์ ้งั หวั ขอ้ หลกั กบั หวั ขอ้ รอง หรือหวั ขอ้ หลกั อยา่ งเดียว อยา่ งไรก็ตามหากพิมพท์ ้งั หวั ขอ้ หลกั และหวั ขอ้ รอง ควรพิมพห์ วั ขอ้ รองเย้อื งไปดา้ นขวาของหวั ขอ้ หลกั เพือ่ แสดงลาดบั ชดั เจน ๒. ช่ือหัวข้อในเล่มรายงานไม่ตรงกบั หัวข้อในสารบัญ อาจเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลง หวั ขอ้ ในเน้ือหาภายหลงั การจดั ทาสารบญั แลว้ แตไ่ ม่ไดป้ รับเปล่ียนในหนา้ สารบญั ดว้ ย ๓. เลขหน้าไม่ตรงกับเนื้อหาภายในเล่ม หรือบางคร้ังไม่มีเลขหน้าตามที่กาหนดใน สารบญั ตอ้ งมีการตรวจสอบใหด้ ีก่อนจดั พิมพ์ ส่วนเนือ้ หา เน้ือหาเป็ นส่วนสาคญั ที่สุดในรายงาน เพราะเป็ นส่วนท่ีผจู้ ดั ทาไดร้ วบรวม คน้ ควา้ และเรียง เรียงขอ้ มูล เพอ่ื ตอบจุดประสงคข์ องเร่ืองที่กาหนดไว้ ในส่วนเน้ือหาจะประกอบดว้ ยบทนา เน้ือหา และ บทสรุป ดงั น้ี ๑. บทนา บทนาหรือความนา เป็ นขอ้ ความเร่ิมตน้ ในส่วนเน้ือหา ซ่ึงบทนาอาจเป็ นเพียงยอ่ หนา้ เดียว หรือข้ึนบทใหม่ท้งั บทก็ได้ ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั ขนาดของรายงาน หากเป็ นรายงานฉบบั เล็ก อาจมีบทนา เพียงย่อหนา้ เดียว เป็ นเพียงย่อหนา้ นา ซ่ึงการเขียนบทนาสาหรับรายงานทว่ั ไป ผูจ้ ดั ทาอาจกล่าวถึง ความสาคญั ของประเดน็ ท่ีศึกษา หรืออาจเสนอขอ้ มลู ท้งั หมดท่ีจาเป็ นอนั นาไปสู่ประเด็นในเน้ือเร่ือง แต่ หากผจู้ ดั ทาตอ้ งการนาเสนอขอ้ มูลเบ้ืองหลงั การจดั ทารายงานก็ควรให้รายละเอียดในประเด็นต่างๆ มาก ข้ึน ซ่ึงการเขียนในลกั ษณะน้ีอาจทาเป็ นบทนา ๑ บทต่างหาก โดยกล่าวถึงความสาคญั ของประเด็นที่ ศึกษา วตั ถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา คานิยามเฉพาะท่ีใชใ้ นรายงาน สถิติท่ีใชใ้ น การวเิ คราะห์(ถา้ มี) ปัญหาท่ีพบในการเกบ็ ขอ้ มูล และประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ กลับสูห่ น้าสารบัญ

๖๘ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ตวั อยา่ งการเขียนบทนาในรายงานขนาดเลก็ “โฆษณาเป็ นส่วนหน่ึงของชีวิตคนในกรุงมากเท่าๆ กบั เคร่ืองรับโทรทศั น์ และในปัจจุบนั เรา สามารถกล่าวไดว้ า่ โฆษณาเป็ นของคู่กบั รายการทางโทรทศั น์ ค่าใชจ้ ่ายสาหรับรายการโทรทศั น์ต่างๆ ลว้ นไดม้ าจากการโฆษณาท้งั สิ้น” (วไิ ลวรรณ ขนิษฐานนั ท,์ ๒๕๓๗, หนา้ ๑ ) จากขอ้ ความขา้ งต้นไดแ้ สดงว่าโฆษณาเป็ นสิ่งสาคญั ในการส่ือสารมวลชน ทาให้ขอ้ ความ โฆษณาเป็นสิ่งที่ตอ้ งพถิ ีพถิ นั มากในงานโฆษณาแตล่ ะชิ้น เพราะเป็นสิ่งที่ไดผ้ า่ นการคิดคน้ ข้ึนมาเพ่ือจูง ใจให้คนแสดงพฤติกรรมตามที่ผูส้ ร้างสรรค์โฆษณาตอ้ งการ ความตอ้ งการพ้ืนฐานท่ีสาคญั ที่สุดคือ ความตอ้ งการ ชกั จูงใหค้ นยอมจา่ ยเงินเพื่อซ้ือสินคา้ หรือบริการ รายการวทิ ยปุ ัจจุบนั กม็ ีการโฆษณาสินคา้ เกือบทุกสถานี โดยเฉพาะสถานีท่ีเป็ นรายการเพลงซ่ึง มีคนฟังค่อนขา้ งมาก รูปแบบการสร้างภาษาในโฆษณาจึงต้องมีการพฒั นาและแข่งขนั เพื่อให้ผูฟ้ ัง ประทบั ใจมากที่สุด และจากความแตกตา่ งของรูปแบบรายการวทิ ยุประเภทเอเอ็มและเอฟเอ็ม ซ่ึงมีกลุ่ม ผฟู้ ังแตกต่างกนั อยา่ งชดั เจน ผวู้ ิเคราะห์เห็นวา่ น่าจะมีบางส่ิงบางอยา่ งในการโฆษณาแตกต่างกนั ไป อาทิ เร่ืองของรูปแบบ ภาษา ตลอดจนตวั สินคา้ ที่นาเสนอ เป็นเหตุผลใหผ้ วู้ ิเคราะห์เกิดความสนใจท่ีจะ ศึกษาถึงความแตกต่างที่ปรากฏอยจู่ ริง ๒. เนือ้ หา การเรียบเรียงส่วนเน้ือหาในรายงานประกอบดว้ ยส่วนท่ีเป็นเน้ือความ การอา้ งอิงในเน้ือหา3 การเขียน อญั ประภาษ และเชิงอรรถ ในส่วนเน้ือความ เม่ือผจู้ ดั ทารายงานได้ผ่านกระบวนการคน้ ควา้ รวบรวมและบนั ทึกขอ้ มูล ได้ตามท่ีตอ้ งการแล้ว ก่อนอื่นตอ้ งตรวจสอบความถูกตอ้ งและความน่าเช่ือถือของขอ้ มูลก่อน โดย พิจารณาถึงแหล่งขอ้ มูลท่ีนามา บุคคลหรือหน่วยงานท่ีจดั ทาขอ้ มูลน้นั เช่น ถา้ ผเู้ ขียนเป็ นผเู้ ชี่ยวชาญ เฉพาะในสาขาวิชาย่อมน่าเชื่อถือกว่าบุคคลที่ไม่ใช่ผูเ้ ช่ียวชาญในสาขาวิชาน้ัน หรือเรื่องเกี่ยวกับ การศึกษา ควรอา้ งอิงแหล่งท่ีมาจากกระทรวงศึกษาธิการมากกวา่ กระทรวงวฒั นธรรม เป็ นตน้ ปัจจุบนั การนาขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ตมาใชป้ ระกอบในรายงานมีจานวนมากข้ึน เนื่องจากการสืบคน้ สะดวก ไม่ เสียเวลาและค่าใชจ้ ่ายมากเท่ากบั การเขา้ ใชบ้ ริการห้องสมุดต่างๆ แต่ขอ้ ควรระวงั ในการนาขอ้ มูลจาก อินเทอร์เน็ตมาใช้ คือควรพิจารณาแหล่งขอ้ มูลท่ีเชื่อถือได้ เช่น เลือกใช้ฐานขอ้ มูลของมหาวิทยาลยั หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) หรือเน้ือหาที่แสดงขอ้ มูลผเู้ ขียนชดั เจน น่าเชื่อถือ และเราสามารถนามา อา้ งอิงได้ ย่อมดีกว่าการนาขอ้ มูลของใครก็ไดท้ ่ีแสดงไวใ้ นเว็บไซต์ทวั่ ๆ ไป มาใช้ประกอบการทา 3 ศึกษาเพ่มิ เติมจากหน่วยการเรียนเรื่อง การสืบคน้ ขอ้ มลู และการอา้ งอิงเชิงวชิ าการ กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๖๙ รายงาน เพราะขอ้ มลู น้นั อาจจะเป็ นเพียงการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ขอ้ คิดเห็น ของบุคคลทว่ั ไป แต่บงั เอิญเป็นขอ้ มลู ที่ตรงกบั ประเดน็ ในรายงานของเราเทา่ น้นั เมื่อพิจารณาและคดั เลือกขอ้ มูลท้งั หมดแลว้ ใหน้ าขอ้ มูลท้งั หมดมาเรียบเรียง โดยมีการนา แนวคิดหรือทฤษฎีตามหลกั วชิ าน้นั ๆ มาใชใ้ นการศึกษาและวเิ คราะห์ขอ้ มูล สิ่งที่ผจู้ ดั ทารายงานควรตระหนกั ก็คือการนาขอ้ มูลของผอู้ ่ืนมาใชใ้ นรายงาน ไม่ควรใชว้ ธิ ี คดั ลอก หรือนามาตดั ต่อ แต่ควรเป็ นการเรียบเรียงใหม่โดยใชส้ านวนภาษาของผทู้ ารายงานเอง อาจใช้ การบรรยาย การอธิบาย การยกตวั อย่างประกอบ และการนาเสนอผลในรูปแบบของตาราง รูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ เพ่ือให้ผูอ้ ่านเขา้ ใจเหมือนท่ีผจู้ ดั ทาเขา้ ใจ เรียงลาดบั เน้ือหาไปตามลาดบั ของ โครงเรื่องที่ไดก้ าหนดไว้ และในแต่ละยอ่ หน้าตอ้ งคานึงถึงสารัตถภาพที่อาจจะเป็ นขอ้ เท็จจริง การ วเิ คราะห์ขอ้ มูลการแสดงความคิดเห็น หรือขอ้ เสนอแนะ โดยเรียบเรียงใหม้ ีเอกภาพและสัมพนั ธภาพ ต้งั แต่ตน้ จนจบแตล่ ะหวั ขอ้ เรื่อง ตวั อยา่ งการเรียบเรียงเน้ือหาประเด็น “ความสาคญั ของใบตองกบั การบริโภคของคนไทย” ตวั อย่างน้ีมีขอ้ มูลเก่ียวขอ้ งซ่ึงรวบรวมไวไ้ ดจ้ านวน ๔ ขอ้ มูล นามาพิจารณาเลือกขอ้ มูลท่ีสัมพนั ธ์กบั เร่ือง และเรียบเรียงใหมด่ ว้ ยสานวนภาษาของตนเอง ข้อมูลท่ี ๑ กระทงใบตองแหง้ เป็ นสิ่งท่ีใชใ้ นเทศกาลตรุษจีน สารทจีน และอื่น ๆ อีกมากมาย และ กระทงใบตอง แหง้ ของจงั หวดั สมุทรสงครามเป็นสินคา้ ที่ส่งออกมาหลายชว่ั อายคุ น การเยบ็ กระทงใบตองแห้ง วสั ดุหา ง่ายในทอ้ งถิ่น มีทุกพ้ืนท่ี สามารถนามาเป็ นอาชีพเสริม และอาชีพหลกั ได้ ข้ึนอยกู่ บั ราคาและเทศกาล เดือนหน่ึง ๆ สร้างรายไดป้ ระมาณ 2,000-3,000 บาท (ดดั แปลงขอ้ มูลจาก www.moac-info.net/modules/news/.../75_4_55329_katong.pdf -) ข้อมูลท่ี ๒ ใบตองแห้งนาไปใช้ในงานศิลปกรรมไทยไดห้ ลายอย่าง เช่น นาไปทารักสมุก ในงานของช่าง เขียน ช่าง+ป้ัน ช่างแกะ และช่างหุ่น เพราะรักสมุกใบตองแห้ง ช่วยในการเคลือบและปกป้ องเน้ือ ไม้ ขดั แต่งง่าย เม่ือแหง้ ผวิ เป็นมนั น้าหนกั เบา เหมาะในการทาหวั โขน และการลงรักปิ ดทอง ข้อมูลท่ี ๓ ในงานศพ ในสมยั โบราณ มีการนาใบตองมารองศพ ก่อนนาศพวางลงในโลง นอกจากน้ีใบตองยงั มี บทบาทสาคญั มากในพิธีกรรมต่างๆ โดยการนามาทากระทงใส่ของ ใส่ดอกไม้ และประดิษฐ์เป็ น กระทงบายศรี กลับสูห่ น้าสารบัญ

๗๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ข้อมูลที่ ๔ ในชีวิตประจาวนั ใช้ใบตองในการห่อผกั สดและอาหาร เน่ืองจากใบตองสดมีความช้ืน ดงั น้นั เม่ือใช้ ห่อผกั สดหรืออาหาร ความช้ืนจะช่วยรักษาผกั หรืออาหารใหส้ ดอยเู่ สมอ นอกจากน้ีใบตองยงั ทนทาน ต่อความเยน็ และความร้อน ดงั น้นั เมื่อนาใบตองห่ออาหารแลว้ เอาไปปิ้ ง น่ึง ตม้ ใบตองก็จะไม่สลาย หรือละลายเหมือนเช่นพลาสติก จึงมีอาหารหลายอยา่ งท่ีห่อใบตองแลว้ นาไปน่ึง เช่น ห่อขา้ วตม้ ผดั ขนม+กลว้ ย ขนมตาล ขนมใส่ไส้ หรือเอาไปปิ้ ง เช่น ขา้ วเหนียวปิ้ ง หรือนาไปตม้ เช่น ขา้ วตม้ มดั หรือขา้ วตม้ จิ้ม อาหารเหล่าน้ีเมื่อนาไปตม้ ปิ้ ง หรือน่ึงแลว้ ยงั ทาให้เกิดความหอมของใบตองอีก ดว้ ย สาหรับใบตองแหง้ นามาใชท้ ากระทงเพ่ือใส่อาหาร ห่อกะละแม มวนบุหรี่ โดยใบตองแห้งก็จะมี กลิ่นหอมเช่นกนั ท่ีมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ไดม้ ีการทดลองนาเอาใบตองแห้งมาอดั กนั แน่นหลายๆ ช้นั ทาเป็นภาชนะใส่ของแทนการใชโ้ ฟม (ดดั แปลงขอ้ มลู จาก http://www.polyboon.com/stories/story000070.html) สานวนภาษาที่เรียงเรียงแลว้ ใบตองเป็ นวสั ดุธรรมชาติที่มีบทบาทคู่กบั ครัวเรือนของไทยมาช้านาน ท้งั ใบตองสดและ ใบตองแห้ง สามารถนามาสร้างสรรคใ์ หเ้ กิดประโยชน์ไดท้ ้งั สิ้น บทบาทหน่ึงของใบตองคือการนาทา เป็ นภาชนะบรรจุและห่อหุ้มอาหาร ในชีวิตประจาวนั ของคนในสมยั ก่อนนิยมใชใ้ บตองสดห่อผกั สด เน่ืองจากใบตองสดมีความช้ืนซ่ึงจะช่วยให้ผกั สดนาน ปัจจุบนั ยงั พบเห็นการใชป้ ระโยชน์ของใบตอง ในลกั ษณะน้ีบา้ งตามต่างจงั หวดั ในดา้ นการนาใบตองมาใชบ้ รรจุอาหารและขนม เช่น ห่อหมก ตะโก้ ขนมตาล และขนมไทยอ่ืนๆ รวมท้งั ขนมเข่ง ขนมประจาเทศกาลตรุษสารทของชาวจีนท่ีเลือกใชเ้ ฉพาะ กระทงใบตองแหง้ ก็เป็นวฒั นธรรมการกินท่ียงั คงปรากฏใหเ้ ห็นอยจู่ นทุกวนั น้ี บทบาทของใบตองในการประกอบอาหารไทย ใบตองสดจะถูกนามาห่ออาหารแลว้ นาไปปิ้ ง น่ึง หรือตม้ เช่น ขา้ วตม้ ผดั ขา้ วเหนียวปิ้ ง และขนมใส่ไส้ เป็ นตน้ เนื่องจากคุณสมบตั ิของใบตองที่ คงทนต่อความร้อนได้ ไม่ละลายเหมือนผลิตภณั ฑ์จากพลาสติก อีกท้งั กลิ่นหอมของใบตองทาให้ อาหารมีกล่ินชวนรับประทาน ดงั เช่นการนาใบตองอ่อนมาห่อกาละแม ยิ่งเพิ่มเสน่ห์ด้วยกล่ินหอม อบอวลใหแ้ ก่ขนมที่มีรสชาติกลมกล่อมอยแู่ ลว้ จากตวั อย่างข้างตน้ จะพบว่าขอ้ มูลที่ได้รวบรวมมา มีประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกบั เร่ืองของ ใบตองมากมาย แต่ก็มีอีกหลายประเด็นไม่เก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองท่ีกาลงั ศึกษา จึงตอ้ งตดั ขอ้ มูลเหล่าน้นั ทิ้ง กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๑ ไป ผูจ้ ดั ทารายงานไม่ควรเสียดายขอ้ มูลท่ีมีอยู่และพยายามนามาเขียนแทรกลงไป เพราะจะทาให้ เน้ือหาผดิ ไปจากโครงเร่ืองที่กาหนดไว้ ๓. บทสรุป บทสรุป เป็ นขอ้ ความท่ีอยตู่ อนทา้ ยของเน้ือหา อาจเป็ นเพียงยอ่ หนา้ เดียวหรือแยกเป็ นบท ต่างหากก็ได้ ซ่ึงขนาดของบทสรุปจะสัมพนั ธ์กบั ขนาดของบทนา ข้อความในส่วนน้ีเป็ นการสรุป รายละเอียดงานวชิ าการที่ไดเ้ รียบเรียงไว้ ประเด็นท่ีนามาสรุปอาจเป็ นผลการศึกษาที่ไดจ้ ากการคน้ ควา้ ขอ้ มูล หรือเป็ นขอ้ มูลเพ่ือตอบคาถามประเด็นต่างๆ เกี่ยวกบั รายงานไดค้ รบถ้วนชัดเจน บทสรุปมี ประโยชน์ในการทาใหผ้ อู้ า่ นจบั ประเดน็ ของเร่ืองท้งั หมดไดง้ ่ายข้ึน ตวั อยา่ งการเขียนบทสรุปรายงานขนาดเลก็ สรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาและวเิ คราะห์ลีลาภาษาร้อยแกว้ ในบทพระราชนิพนธ์ในพระราชวรวงศเ์ ธอ กรม หมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) จากเร่ืองจดหมายจางวางหร่าและนิทานเวตาล ผศู้ ึกษาพบวา่ ลีลาภาษาร้อย แกว้ ท่ีปรากฏมีการใชภ้ าษาอยา่ งประณีต โดดเด่นอยา่ งมีเอกลกั ษณ์ พระนิพนธ์เรื่องจดหมายจางวางหร่า ก็จะงดงามด้วยลีลาภาษาร้อยแก้วแห่งโวหารข้อคิดตลอดท้ังเร่ือง ส่วนพระนิพนธ์ร้อยแก้วที่มี จุดมุ่งหมายเพื่อความบนั เทิงอย่างนิทานเวตาล แมจ้ ะมีลีลาภาษาร้อยแก้วครบทุกลีลา แต่ปรากฏลีลา ภาษาขอ้ คิดโวหารและลีลาภาษาสุนทรียะค่อนขา้ งมากกวา่ ลีลาภาษาประเภทอื่น ท้งั น้ีสอดคลอ้ งกบั จุดมุง่ หมายที่มุ่งใหข้ อ้ คิด ความบนั เทิงและใหอ้ รรถรสทางวรรณศิลป์ ขอ้ สงั เกตจากการศึกษาที่พบ มี ๒ ประเดน็ คือ ประเด็นท่ี ๑ ผแู้ ต่งเป็ นผมู้ ีอารมณ์ขนั แสดงออก โดยใชก้ ารใชภ้ าษา การใชบ้ ริบทแวดลอ้ มของภาษา การใชค้ า การสร้างพฤติกรรมตวั ละครใหน้ ่าขนั ประเด็นท่ี ๒ การใช้คา สานวนของผูแ้ ต่งซ่ึงเป็ นคาง่ายๆ แต่สร้างความมีชีวิตชีวาให้กบั เร่ืองราวดว้ ย สานวนภาษาที่ไม่เหมือนใคร ซ่ึงทาให้บทนิพนธ์ท้งั สองเรื่องน้ีจึงยงั เป็ นท่ีประทบั ใจและช่ืนชอบของ ผอู้ ่านทุกยคุ ทุกสมยั ตราบจนทุกวนั น้ี (ดดั แปลงจากรายงานเร่ือง “ลีลาภาษาร้อยแกว้ ในบทพระนิพนธใ์ นพระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพทิ ยาลงกรณ์” ของ สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ) กลับสูห่ น้าสารบัญ

๗๒ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร การใช้ภาษาในการเรียบเรียงเนือ้ หารายงาน ภาษาการเขียนรายงานมีลกั ษณะเป็ นภาษาแบบแผน ไม่ใชภ้ าษาปากหรือภาษาพูด แต่ควรเป็ น ภาษาสุภาพและเหมาะกบั ผอู้ ่าน การใชภ้ าษาในการเรียบเรียงรายงานควรพจิ ารณาในประเด็นต่างๆ ดงั น้ี ๑. ความถูกต้องและสมบูรณ์ ๑.๑ การสะกดคา ในการเขียนรายงานผจู้ ดั ทาตอ้ งพิถีพถิ นั ในการตรวจสอบความถูกตอ้ งของ การสะกดคาท่ีใชเ้ สมอ หากไมแ่ น่ใจควรเปิ ดพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่ควร เดาสุ่มหรือปล่อยขา้ มไปโดยไม่มีการตรวจสอบ หากเป็ นคาทบั ศพั ทซ์ ่ึงปัจจุบนั มีการเขียนที่ต่างกนั มาก ดงั น้นั ควรยดึ หลกั การเขียนตามเกณฑข์ องราชบณั ฑิตยสถานจึงจะเป็ นที่ยอมรับในวงวชิ าการ เล่ียงการ ฉีกคาออกจากกนั เม่ือข้ึนบรรทดั ใหม่ หากจาเป็นตอ้ งฉีกคาแลว้ ก็ควรใส่เคร่ืองหมายยติภงั คห์ รือยตั ติภงั ค์ ซ่ึงเป็ นเคร่ืองหมายขีดกลางบรรทดั (-) เพ่ือแสดงวา่ มีส่วนของคาที่อยใู่ นบรรทดั ใหม่ เช่น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั - สวนสุนนั ทา กระทรวงวิทยาศาสตร์-และเทคโนโลยี แต่ไม่ควรฉีกคาในกรณีที่คาน้นั เป็ นคา เดียวกนั แตอ่ ่านออกเสียงหลายพยางค์ เช่น สามา-รถ ปฏิสงั -ขรณ์ สวนสุ-นนั ทา เป็นตน้ ๑.๒ การเขียนตัวเลข โดยปกติการแสดงจานวนนิยมเขียนดว้ ยตวั เลขอยแู่ ลว้ ท้งั วนั ท่ี เดือน ปี อายุ เลขหนา้ เลขบท เลขตาราง จานวนเงิน จานวนนบั หนา้ คาลกั ษณนาม จานวนนบั ทาง คณิตศาสตร์ และจานวนหนา้ คาวา่ เปอร์เซ็นต์ แต่ความนิยมเขียนจานวนดว้ ยตวั อกั ษรก็พบในกรณีดงั น้ี  สิ่งท่ีกล่าวถึงมีจานวนต่ากวา่ ๑๐ โดยเฉพาะ เลข ๐ และ ๑ เช่น หน่ึงในลา้ น ค่า เป็นศนู ย์ ส่ีคร้ัง ภาพสามมิติ เป็นตน้ แต่สาหรับขอ้ มลู ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยนี ิยมเขียนเป็ นตวั เลขไม่วา่ จะมีคา่ เท่าใด เช่น อุณหภมู ิ ๔๓ องศา เซลเซียส กาลงั ไฟ ๒๒๐ โวลต์  ตวั เลขที่เป็ นคาแรกของประโยค ช่ือเรื่อง หรือหวั ขอ้ ในหนงั สือ เช่น ชายสาม โบสถ์ ส่ีสหายปราบโจร ร้อยแปดพนั เกา้ เจด็ ดรุณี เป็นตน้  เศษส่วน เช่น หน่ึงในสามของรายได้ หน่ึงต่อหน่ึง เศษสองส่วนส่ี เป็นตน้  สาหรับตัวเลขต้ังแต่หลักล้านข้ึนไปให้ใช้ตัวเลขและอักษรประสมกัน เช่น ๗ หมื่นลา้ นบาท ๖๐ ลา้ นคน ๒๐๐ ลา้ นบาท เป็นตน้ ๑.๓ การเว้นระยะหลงั เครื่องหมายวรรคตอน เพ่อื ความเป็นระเบียบแบบแผนและสวยงาม เมื่อ มีการพิมพข์ อ้ ความหลงั เคร่ืองหมายจุลภาค (,) อฒั ภาค (;) ทวภิ าค (:) และอญั ประกาศ (“ ”) ให้เวน้ วรรค ๑ เคาะ แต่ถา้ มีเครื่องหมายมหพั ภาค (.) นามาก่อนใหเ้ วน้ วรรค ๒ เคาะ ๑.๔ ความสม่าเสมอ ดงั ท่ีไดก้ ล่าวแลว้ วา่ ภาษาในการเขียนรายงานตอ้ งเป็นภาษาแบบแผน ดงั น้ันการใช้ภาษาตลอดท้งั เล่มรายงานต้องเป็ นภาษาระดบั เดียวกนั ไม่ควรนาภาษาระดับไม่เป็ น ทางการเขา้ มาปะปน เช่น การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางเป็ นยานพาหนะที่สาคญั ของคนเมือง หากวนั ใดรถเมล์เกิดการประทว้ งผคู้ นคงลาบาก กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๓ ๑.๕ การใช้ประโยคและย่อหน้าทส่ี มบูรณ์ ประโยคที่สมบรู ณ์เกิดจากการเรียงคาไดถ้ ูกตอ้ งตาม หลกั ไวยากรณ์ไทย ไม่ใชป้ ระโยคกากวม ทาใหต้ ีความไดห้ ลายอยา่ ง มีความเป็ นเหตุเป็ นผลสอดคลอ้ ง กนั และควรหลีกเล่ียงสานวนภาษาต่างประเทศ ส่วนยอ่ หน้าท่ีสมบูรณ์เกิดจากข้นั ตอนการวางโครง เรื่อง ทาให้แต่ละย่อหนา้ มีเอกภาพ สารัตถภาพ คือมีประเด็นหลกั ท่ีตอ้ งการนาเสนอเพียงประเด็นเดียว เท่าน้นั และขอ้ มูลที่เรียบเรียงมีความสมั พนั ธ์กนั เกี่ยวขอ้ งกนั ไปจนจบยอ่ หนา้ ๑.๖ หลกี เลยี่ งคาทไ่ี ม่ควรใช้ ไดแ้ ก่ การใชภ้ าษาพดู หรือภาษาปาก คาหยาบ คาไม่สุภาพ คาสแลง คายอ่ ที่ไมเ่ ป็นที่รู้จกั คาโบราณท่ีไม่เป็ นท่ีไม่เป็ นท่ีรู้จกั แลว้ คาที่มีความหมายกากวม ยกเวน้ คาเหล่าน้ีจาเป็ นตอ้ งนาเสนอเนื่องจากเกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาหรือเป็ นผลการคน้ ควา้ ส่วนคาศพั ทเ์ ทคนิค และคาศพั ทย์ าก หากนามาใชค้ วรมีคาอธิบายกากบั เสมอเพ่ือใหผ้ อู้ ่านรายงานไดเ้ ขา้ ใจ โดยอาจรวบรวม ไวใ้ นอภิธานศพั ทใ์ นส่วนประกอบตอนทา้ ยของรายงาน ๒. ความกะทดั รัด หลีกเลี่ยงการเขียนรายงานดว้ ยการใชค้ าฟ่ ุมเฟื อยในประโยค ขอ้ ความ ฟ่ ุมเฟื อยในยอ่ หนา้ การทารายงานโดยการเขียนขอ้ ความยืดยาวเพื่อให้มีปริมาณงานมากข้ึนไม่ใช่สิ่งท่ีดี แต่หากเม่ือมีการวางโครงเร่ืองอยา่ งเหมาะสม ใชภ้ าษากระชบั รัดกุมเพ่ือสื่อความหมายไดช้ ดั เจนจะทา ใหร้ ายงานน่าอา่ นมากกวา่ ๓. ความชัดเจน ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดดซ่ึงคาแต่ละคามีความหมายโดยไม่ตอ้ งมีการ เปล่ียนรูปคาเหมือนภาษาองั กฤษ การเรียงลาดับคาและการเวน้ วรรคตอน เป็ นสิ่งสาคญั ที่ทาให้ ความหมายของคาเปลี่ยนไปได้ เช่น เขาส่ังให้ไปทา แตกต่างจาก เขาสั่งไปให้ทา และ เขาส่ังทาไปให้ หรือประโยควา่ น้อยซื้อข้าวหมแู ดงมากินกับนิด ความหมายแตกต่างจาก น้อยซื้อข้าวหมู แดงมากิน กบั นิด เป็นตน้ ดงั น้นั ตอ้ งการส่ือความหมายอยา่ งใดกค็ วรพจิ ารณารูปภาษาใหล้ ะเอียดถี่ถว้ นเสมอ ๔. การลาดับความ ก่อนลงมือเขียนตอ้ งมีการจดั ลาดบั ความ หรือกาหนดจุดมุ่งหมายในการจะ นาเสนอโดยการวางโครงเรื่อง ท้งั น้ีเพื่อเป็ นการจดั กรอบความคิดและลาดบั ความสาคญั ของเน้ือหาให้ เหมาะสมก่อนจะลงมือเขียน และขณะที่เขียนกใ็ หห้ มนั่ กลบั ไปดูโครงเร่ืองที่กาหนดไวเ้ พ่ือจะไดไ้ ม่หลง ออกนอกประเด็น ส่วนประกอบตอนท้าย ไดแ้ ก่ บรรณานุกรม4 ภาคผนวก อภิธานศพั ท์ ดชั นี ใบรองปก และ ปกหลงั ๑. ภาคผนวก ภาคผนวกเป็ นขอ้ ความที่เกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาในรายงาน อาจช่วยขยายเน้ือหาของรายงาน หรือเป็ นขอ้ ความที่ยาวเกินกวา่ จะนาไปใส่เป็ นเชิงอรรถได้ นอกจากน้นั อาจเป็ นเอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั กบั การทารายงาน เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แผนท่ี แต่ถา้ ขอ้ มูลน้นั ไม่จาเป็ นก็ไม่ควรนามา ประกอบในรายงาน เพยี งเพอ่ื ใหต้ วั เล่มมีปริมาณหนา้ เพิม่ ข้ึน 4 ศึกษาเพ่มิ เติมจากหน่วยการเรียนเร่ือง การสืบคน้ ขอ้ มูลและการอา้ งอิงเชิงวชิ าการ กลับสูห่ น้าสารบัญ

๗๔ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ๒. อภธิ านศัพท์ อภิธานศพั ท์ เป็ นการอธิบายคาศพั ทท์ ่ีสาคญั คาศพั ทเ์ ทคนิคในสาขาวิชาน้นั ๆ คาศพั ทท์ ี่ใช้ ในความหมายเฉพาะในรายงานเท่าน้นั หรืออาจเป็ นคาศพั ทย์ ากที่ผูจ้ ดั ทารายงานคาดว่าผอู้ ่านอาจไม่ เขา้ ใจ โดยจดั เรียงตามลาดบั ตวั อกั ษร ซ่ึงอภิธานศพั ทอ์ าจจะมีหรือไม่มีก็ได้ เพราะวา่ ถา้ ในรายงานมี ศพั ทท์ ่ีตอ้ งมี การอธิบายเพิ่มเติมจานวนไม่มาก ผจู้ ดั ทาอาจจะใชว้ ิธีการอธิบายคาศพั ทเ์ หล่าน้นั ใน ส่วนท่ีเป็นบนั ทึกเพ่มิ เติมส่วนทา้ ยของแตล่ ะบท หรือทาเชิงอรรถเสริมความในส่วนล่างของหนา้ รายงาน กไ็ ด้ ตวั อยา่ งอภิธานศพั ทใ์ นรายงานเรื่อง “ความสัมพนั ธ์ของพุทธศาสนากบั คนไทย” ทา้ ยรายงาน อภธิ านศัพท์ การถวายสังฆทาน การถวายสิ่งของจตุปัจจัยวตั ถุแก่หมู่พระสงฆ์ โดยไม่เลือกระบุถวาย ตลกบาตร เฉพาะเจาะจงแก่พระสงฆร์ ูปใดรูปหน่ึง ถุงใส่บาตรท่ีมีสายสาหรับคลอ้ งบ่า เรียกวา่ ถลกบาตร กม็ ี เม่ือแยกส่วนออก เบญจธรรม จะมีส่วนประกอบคือสายโยก คือสายของตลกบาตร สาหรับคลอ้ งบ่า และ ปวารณา ตะเครียว คือถุงตาข่ายที่ถกั ดว้ ยดา้ ยหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูด หุม้ ตลกบาตรอีก สังเวชนียสถาน ช้นั หน่ึง เรียกวา่ ตะเครียว กม็ ี พระใชเ้ มื่อออกบิณฑบาต ธรรมะ ๕ ประการ คูก่ บั เบญจศีล ไดแ้ ก่ เมตตา ทาน ความสารวมในกาม สัจจะ สติ วนั ท่ีสิ้นการจาพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วนั ข้ึน ๑๕ ค่าเดือน ๑๑ ในวนั น้ีจะมี พธิ ีกรรมทางศาสนายอมใหส้ งฆว์ า่ กล่าวตกั เตือนได้ สถานเป็นท่ีต้งั แห่งความสังเวช, ที่ท่ีใหเ้ กิดความสงั เวช มี ๔ คือ ๑. ที่ พระพุทธเจา้ ประสูติ คือ อุทยาน ลุมพนิ ีปัจจุบนั เรียกลุมพนิ ีหรือรุมมินเด ๒. ท่ี พระพทุ ธเจา้ ตรัสรู้ คือ ควงโพธ์ิ ท่ีตาบล พทุ ธคยา ๓. ท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรง แสดงปฐมเทศนา คือ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั แขวง เมืองพาราณสี ปัจจุบนั เรียก สารนาถ ๔. ที่พระพุทธเจา้ ปรินิพพาน คือท่ีสาลวโนทยาน เมืองกสุ ินารา หรือกุสินคร บดั น้ีเรียกวา่ กาเซีย กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๕ ๓. ดัชนีหรือดรรชนี เป็นรายการคาท่ีปรากฏในรายงาน อาจแบง่ เป็นหวั ขอ้ ตา่ งๆ เช่น รายการ ช่ือตน้ ไม้ ชื่อพืชสมุนไพร ชื่อพนั ธุ์สัตวป์ ่ าคุม้ ครอง เป็ นตน้ ซ่ึงแต่ละรายการคาจะจดั เรียงตามลาดบั ตวั อกั ษรเพื่อให้คน้ หาสะดวก โดยท่ีผอู้ ่านไม่ตอ้ งอ่านรายงานท้งั ฉบบั เม่ือตอ้ งการทราบเน้ือหาเฉพาะ เรื่องน้นั การทารายงานอาจจะมีหรือไมม่ ีดชั นีกไ็ ดข้ ้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสม ตวั อยา่ งดชั นี ดัชนี รายการคา หน้า กฎแห่งการกลายเสียง ๑๙๔ กะเหร่ียง-ภาษา ๑๑๓ การกลายเสียง ๓๗, ๒๐๖ ความหมายกวา้ งออก ๒๙๙ ความหมายแคบเขา้ ๒๙๗ คาซอ้ น ๒๒,๒๗๙ ชวา-ภาษา ๙๙ ญี่ป่ ุน – ภาษา ๑๒๓ นิรุกติศาสตร์ ๕ บาลี – ภาษา ๗๑ ภาษาคาโดด ๕๐ ภาษาถ่ิน ๓๗,๑๒๘ ลกั ษณะของรายงานการค้นคว้าทดี่ ี พลู สุข เอกไทยเจริญ (๒๕๕๑, หนา้ ๑๖๕-๑๖๖) กล่าวถึงการเขียนรายงานหรือภาคนิพนธ์ท่ีดี ควรมีลกั ษณะดงั น้ี ๑. เนื้อเร่ือง ถูกตอ้ งครบถว้ น ครอบคลุมประเด็นท่ีตอ้ งการนาเสนอ มีการจดั ลาดบั เน้ือเรื่อง อยา่ ง เหมาะสม ชดั เจน มีเอกภาพ สารัตถภาพ และสมั พนั ธภาพ มีวธิ ีการนาเสนอท่ีดี อา่ นเขา้ ใจง่าย ๒. ภาษา ใช้ภาษาไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม เป็ นภาษาเขียนที่เรียบง่ายอย่างพิถีพิถนั ไม่คลุมเครือ ส้นั กลับสูห่ น้าสารบัญ

๗๖ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร กะทดั รัด สละสลวย ๓. รูปแบบ ถูกตอ้ งตามสถานศึกษาหรือผสู้ อนกาหนด พมิ พป์ ระณีต ส่วนประกอบทุกส่วน สวยงาม ถูกตอ้ ง เรียบร้อย มีคุณภาพ ทุกข้นั ตอนในการจดั ทาตอ้ งมีการตรวจทานแกไ้ ขอยา่ งละเอียดถี่ ถว้ น ๔. ความเป็ นผลงานการค้นคว้า คือตอ้ งแสดงใหเ้ ห็นถึงการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งจริงจงั ลึกซ้ึง กวา้ งขวาง ครบถ้วน มีความน่าเชื่อถือ มีหลักฐานอ้างอิงหลากหลาย ทนั สมยั มีการเขียนอ้างอิง แหล่งที่มาของขอ้ มูลอยา่ งถูกตอ้ งและครบถว้ น ๕. ความชัดเจนของผ้ทู ารายงาน แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผทู้ ารายงานมีความชดั เจนในแนวคิดและ ประเด็นสาคญั ของเรื่อง มีความเขา้ ใจอยา่ งแจ่มชดั ในประเด็นที่นาเสนอ เอาใจใส่ในการคดั สรรขอ้ มูล และนามาใช้ได้ตรงตามจุดประสงค์ของเรื่อง อาจมีการนาเสนอส่วนท่ีเป็ นความรู้ ประสบการณ์ ความคิด หรือความเห็นที่แตกต่างหรือแปลกใหม่ออกไป และอาจย้าถึงประโยชน์ท่ีได้จากการทา รายงานคร้ังน้ี การพมิ พ์รายงาน ๑. ปกนอกสีสุภาพสวยงาม หรือถูกตอ้ งตามรูปแบบที่สถานศึกษากาหนด ถา้ เป็นปกกระดาษ ควรมีเน้ือหนาพอสมควร หากเป็ นกระดาษเน้ือบางจะทาให้เปื่ อยยุย่ ง่าย ปัจจุบนั ยงั นิยมใชป้ กพลาสติก ใสซอ้ นทบั ดา้ นบน เพื่อความสวยงามคงทน ๒. กระดาษท่ีใชม้ ีคุณภาพดี มีความหนาขนาด ๗๐- ๘๐ แกรม มีขนาดถูกตอ้ งตามความนิยม คือใชก้ ระดาษขนาด A4 สีขาว ไมม่ ีเส้นบรรทดั และควรใชเ้ พยี งหนา้ เดียว ๓. นิยมใชอ้ กั ษรสีดาขนาด ๑๖ point แบบ Angsana New, Cordia New และ Browallia New แบบใดแบบหน่ึง แต่ควรเป็ นแบบเดียวกนั ตลอดท้งั เล่ม ขอ้ ผิดพลาดที่ปรากฏเสมอคือเม่ือพิมพต์ วั เลข หรืออกั ษรภาษาองั กฤษ คอมพิวเตอร์มกั จะเปล่ียนรูปแบบไปเอง ดงั น้นั ขณะพิมพต์ อ้ งสังเกตลกั ษณะ รูปแบบอกั ษรเสมอๆ เพ่ือป้ องกนั ความผดิ พลาดที่อาจเกิดข้ึนได้ ๔. มีหมายเลขหนา้ เพ่ือความสะดวกในการคน้ หาขอ้ มลู ภายในตวั เล่ม เริ่มตน้ หนา้ แรกท่ีหนา้ เน้ือหาของรายงาน โดยปกติถ้าเป็ นหน้าแรกของแต่ละบทอาจจะพิมพ์เลขหน้าไวก้ ลางหน้ากระดาษ ดา้ นล่าง ส่วนหนา้ อ่ืนๆ จะพมิ พไ์ วก้ ลางหนา้ กระดาษหรือมุมดา้ นขวาบน โดยพมิ พห์ ่างจากขอบดา้ นบน ๑ นิ้ว ๕. มีสารบญั หรือหวั ขอ้ เรื่องถูกตอ้ งตรงตามเน้ือหาและเลขหนา้ ภายในเล่มรายงาน ๖. การเวน้ ระยะในรายงานมีความเหมาะสม คือจากขอบกระดาษดา้ นบนถึงขอ้ ความบรรทดั แรกให้ห่างลงมา ๑.๕ นิ้ว ระยะห่างดา้ นซ้ายเวน้ เขา้ มา ๑.๕ นิ้ว ถึงตวั อกั ษรตวั แรกท่ีไม่ใช่บรรทดั ยอ่ หน้า และจากขอบกระดาษดา้ นล่างถึงขอ้ ความบรรทดั สุดทา้ ยให้เวน้ ระยะห่าง ๑ นิ้ว เท่ากบั การเวน้ ระยะขอบดา้ นขวา ดงั รูปแบบน้ี กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๗  ๑.๕ นิว้ กกก………………..... …………………………  ………………………... ๑.๕ นิว้ ................................. ๑ นิว้ .......................................... ……………….กกกก... ๑ นิว้ ๗. ไม่พมิ พข์ อ้ ความแน่นเกินไป ควรเวน้ ท่ีวา่ งของหนา้ กระดาษบา้ งเพอ่ื การพกั สายตา และ อาจแทรกตารางหรือแผนภูมิแทนการอธิบายขอ้ ความยาวๆ ไดต้ ามความเหมาะสม แต่ตอ้ งให้สัมพนั ธ์ กบั เน้ือหาภายในเล่ม ๘. การพิมพย์ อ่ หนา้ ใหเ้ วน้ จากดา้ นซา้ ยเขา้ มา ๗ ช่วงตวั อกั ษรและพมิ พต์ วั ท่ี ๘ ส่วนยอ่ หนา้ ยอ่ ย ให้เวน้ เขา้ ไปอีกยอ่ หนา้ ละ ๓ ช่วงตวั อกั ษร เพ่ือป้ องกนั ความคลาดเคล่ือนควรใชก้ ารต้งั แทบ็ แทนการ เคาะเวน้ ทีละตวั อกั ษร ๙. การพิมพบ์ ทที่และช่ือบทใหพ้ มิ พไ์ วก้ ลางหนา้ กระดาษ ดว้ ยตวั อกั ษรขนาด ๑๘ point ห่างจาก ขอบดา้ นบนประมาณ ๒ นิ้ว หวั ขอ้ ใหญ่อยชู่ ิดกรอบดา้ นซา้ ย หวั ขอ้ รองให้ยอ่ เขา้ มาเท่ากบั ยอ่ หนา้ แรก ท้งั สองหวั ขอ้ น้ีเป็ นหวั ขอ้ ท่ีไม่มีการพิมพข์ อ้ ความอื่นๆ ต่อเน่ือง ส่วนหวั ขอ้ ย่อยลงไปให้ย่อเขา้ ไปอีก คร้ังละ ๓ ช่วงตวั อกั ษรและเขียนขอ้ ความตอ่ ไปดว้ ยตวั อกั ษรขนาด ๑๖ point ในบรรทดั เดียวกนั ไดเ้ ลย ๑๐. พมิ พอ์ ยา่ งสะอาด และดูเรียบร้อย ไม่ควรมีการแกไ้ ข ขดู ลบ ขีดฆา่ ขอ้ ความ หากจาเป็นตอ้ ง แกไ้ ขควรพิมพห์ นา้ น้นั ใหม่ ๑๑. การพิมพห์ วั ขอ้ เพอ่ื แสดงหวั ขอ้ ใหญแ่ ละหวั ขอ้ รองลงไป นิยมใชท้ ้งั แบบตวั เลขอยา่ งเดียวโดย ใชก้ ารใส่จุดทศนิยมเมื่อตอ้ งการแสดงหวั ขอ้ ยอ่ ยๆ และใชต้ วั เลขและตวั อกั ษรสลบั กนั ไปก็ได้ สรุป ข้นั ตอนการดาเนินการจัดทารายงานวิชาการ พร้อมท้งั ลกั ษณะส่วนประกอบของรายงาน วชิ าการดงั ที่ไดก้ ล่าวไวข้ า้ งตน้ ลว้ นเป็นสิ่งสาคญั และมีความจาเป็ นสาหรับผตู้ อ้ งการศึกษาคน้ ควา้ และ นาเสนอผลงานเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เมื่อทราบวิธีการดาเนินการจดั ทารายงานและสามารถนาไปใช้ เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ย่อมสนับสนุนให้การผลิตผลการศึกษาค้นควา้ ในโอกาสต่อไปมีคุณภาพและ น่าเชื่อถือยงิ่ ข้ึน กลับสูห่ น้าสารบัญ

๗๘ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ผเู้ รียนศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการเรียนในหน่วยการเรียนท่ี ๔ ๒. ผเู้ รียนเขา้ ฟังการบรรยายระบบการเรียนกลุ่มใหญค่ ร้ังท่ี ๔ ๓. ผเู้ รียนปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผสู้ อนในการเรียนกลุ่มใหญ่ ๔. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบทา้ ยบทเรียนเพื่อทบทวนความเขา้ ใจ ๕. ผเู้ รียนศึกษาดว้ ยตนเองในระบบ E-Learning ๖. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบประจาหน่วยจากระบบ E-Learning ๗. ผเู้ รียนแบ่งกลุ่มจดั ทารายงานวชิ าการจานวน ๑ ฉบบั คาถามทบทวน ๑. รายงานวชิ าการหมายถึงอะไร ๒. การเลือกเรื่องเพื่อทารายงานควรพิจารณาเลือกจากอะไรไดบ้ า้ ง ๓. บอกวธิ ีการทารายงานวชิ าการจากความรู้ความเขา้ ใจของนกั ศึกษาก่อนและหลงั ศึกษา หน่วยท่ี ๔ แลว้ เปรียบเทียบผลดีผลเสียของการทารายงานวชิ าการท้งั สองลกั ษณะ ๔. ใหบ้ อกส่วนประกอบต่างๆ ในรายงานวชิ าการและจดั เรียงลาดบั อยา่ งถูกตอ้ ง ๕. ลกั ษณะการเขียนคานาต่อไปน้ีมีส่วนบกพร่องอยา่ งไรบา้ ง แกไ้ ขใหมใ่ หถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม กบั การเขียนรายงานวชิ าการ อาหารเป็ นสิ่งท่ีจาเป็ นต่อการดารงชีวิตของคนเรา อาหารมีอยู่มากมาย และสามารถ แบ่งออกไดท้ ้งั อาหารคนละเช้ือชาติหรือเช้ือชาติเดียวกนั ก็มีการแบ่งแยกอาหารออกเป็ นหลาย ประเภท กลุ่มของขา้ พเจา้ จึงไดน้ าเสนออาหารหลกั ของคนไทยเน้ืองจากอาหาร ไทยน้นั อยใู่ กล้ กบั ชีวิตประ จาวนั และคนเราก็พบเจอกบั อาหารหลากหลายประเภทในแต่ละวนั เช่น ในแต่ละ ภาคของประเทศ ไทยมีอาหารท่ีแตกต่างกนั ท้งั รสชาด วตั ถุดิบในการประกอบอาหาร หรือแมแ้ ต่ กรรมวธิ ีการทาอาหารกแ็ ตกตา่ งกนั ออกไปแลว้ แต่พ้ืนท่ี สิ่งเหล่าน้ีอาจจะข้ึนอยกู่ บั ถิ่นกาเนิด และ สถานที่อยอู่ าศยั รวมถึงเช้ือชาติดว้ ย สิ่งท้งั หมดน้ีเองทาใหอ้ าหารไทยมีความหนา้ สนใจ มากกวา่ อาหารในประเทศใดๆ รายงานอาหาร 4 ภาคน้ีได้รวมรวมเน้ือหาและอาหารไทยจานเด่นของแต่ละภาคโดย คดั เลือกอาหารท่ีเป็นท่ีนิยมกินในภาคต่างๆ รวมถึงคาบรรยายกรรมวธิ ีการประกอบอาหารอยา่ งง่าย มีความรู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั อาหารในแต่ละภาค เพื่อเป็ นประโยชน์ในการเรียนรู้ของผูท้ ่ีสนใจทุก ท่าน กลับสูห่ น้าสารบัญ

G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร | ๗๙ เอกสารอ้างองิ คณาจารยภ์ าควชิ าภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. (๒๕๔๕). การใช้ภาษาไทย ๑. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. ___________ . (๒๕๔๖). การใช้ภาษาไทย ๒. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. คณาจารยส์ าขาวชิ าภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล. (๒๕๕๑). เอกสารคาสอนรายวชิ า ศศภท๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสาร. นครปฐม : คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล. ธนู ทดแทนคุณ. (๒๕๔๗). การเขียนรายงานทางวชิ าชีพ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ปรีชา ชา้ งขวญั ยนื . (บก.). (๒๕๕๐). เทคนิคการเขียนและผลติ ตารา. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พแ์ ห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . โปรแกรมวชิ าภาษาไทยและโปรแกรมวชิ าบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั สวนสุนนั ทา. (๒๕๔๕). ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสารและการ สืบค้น. กรุงเทพฯ : พฒั นาศึกษา. พสิ ณุ ฟองศรี. (๒๕๕๑). 108 ข้อบกพร่อง : แนวทางปรับปรุงการเขยี นรายงานวจิ ัยและวทิ ยานิพนธ์. กรุงเทพฯ : พิมพง์ าม. ___________ . (๒๕๕๑). 111 ข้อบกพร่อง : แนวทางปรับปรุงการเขยี นรายงานประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : เพชรรุ่งการพิมพ.์ พุฒิวงศ์ บุษบวรรษ. (ม.ป.ป.). กล้วย. สืบคน้ เมื่อ ๘ มีนาคม, ๒๕๕๓, จาก http://www.polyboon.com/stories/story000070.html พลู สุข เอกไทยเจริญ. (๒๕๕๑). การเขยี นรายงานการค้นคว้า. กรุงเทพฯ: สุวรี ิยาสาส์น. ภาควชิ าบรรณารักษศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (๒๕๔๗). การค้นคว้าและการ เขียน รายงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . วไิ ลวรรณ ขนิษฐานนั ท.์ (๒๕๓๗). รายงานการวจิ ัยเรื่องลกั ษณะภาษาไทยทใี่ ช้ผ่านส่ือมวลชนโทรทศั น์. กรุงทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ. (๒๕๔๒). ลลี าภาษาร้อยแก้วในบทพระนิพนธ์ในพระราชวรวงศ์เธอ กรม หมนื่ พิทยาลงกรณ์. รายงานประการศึกษาวชิ าพระนิพนธ์ในกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ภาควชิ า วรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สุกนั ยา ตาลสุข. (ม.ป.ป.). องค์ความรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง กระทงใบตองแห้ง. สืบคน้ เมื่อ ๘ มีนาคม, ๒๕๕๓, จาก www.moac-info.net/modules/news/.../75_4_55329_katong.pdf - กลับสูห่ น้าสารบัญ

๘๐ | G E L ๒ ๐ ๐ ๑ ภ า ษ า ไ ท ย เ ชิ ง วิ ช า ก า ร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook