การเสริมสร้างวนิ ยั และจรรยาบรรณวิชาชีพ เรียบเรียงและรวบรวม โดย อ.อุดม อินทรเวศน์วิไล อดีต ผอู้ านวยการภารกิจเสริมสร้างและมาตรฐานวินยั สานกั งาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ
อดุ ม อนิ ทรเวศน์วไิ ล ประวตั กิ ารศึกษา ประวตั ิการทางาน อดีตผู้อานวยการภารกจิ เสริมสร้าง ค.บ. บ้านสมเดจ็ ฯ และมาตรฐานวินัย สานักงาน ก.ค.ศ. น.บ. ม.ธรรมศาสตร์ ศศ.บ(รัฐศาสตร์บัณฑติ ) ม.รามคาแหง โทร. 087-9331577 ค.ม. (บริหารการศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน ประกาศนียบัตรนักกฎหมายภาครัฐระดบั กลาง ประกาศนียบัตรร่างกฎหมายคณะกรรมการกฤษฎกี า
การครองตน ต้องมี สติ สติ = ระลึกได้ สติมาปัญญาเกิด ปัญญา = ความรู้ ความหยงั่ คิด สรุป จะทาอะไรต้องมสี ตเิ ป็ นหลกั
ครูเป็ นบุคคลทสี่ ังคมคาดหวงั 1. เป็นแบบอยา่ งแหง่ ความประพฤติ 2. เป็นผู้มีความรู้ 3. เปน็ ผูเ้ สียสละ ซือ่ สัตย์ สจุ ริต 4. ต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การงาน
จริยธรรม หรือ คุณธรรม การกระทา + ปราศจากสติ = พฤติกรรม การกระทา + สติ = ความประพฤติ ความประพฤติ + ปทสั ถาน หรือ บรรทัดฐาน = จริยธรรม
การกระทา คดิ = ยงั ไม่เป็ นความผดิ เพราะไม่มกี ารกระทา ตกลงใจ = เป็ นเรื่องภายในจติ ใจ ยงั ไม่เป็ นความผดิ ตระเตรียม = ยงั ไม่เป็ นความผดิ ไม่มกี ารกระทา ยกเว้น วางเพลงิ , กบฎ ลงมอื กระทา กระทาไปตลอด การกระทา ทาแล้วแต่ไม่บรรลุผล ผลสาเร็จ ครบองค์ประกอบของความผดิ ไม่สาเร็จ เป็ นพยายาม รับโทษ 2 ใน 3 ของความผดิ น้ันๆ
กฎเกณฑ์ ศาสนา จริยธรรม วงงาน ศีลธรรม สาขาวชิ าชีพ วนิ ยั ปกาศิต จรรยาวชิ าชีพ ควร ต้อง พฤติกรรม พงึ คุณธรรม วนิ ยั จรรยา จุดมุ่งหมาย เพื่อคน เพื่องาน เพื่อคน+งาน
การเรียนรู้ เรียนรู้แบบจากพ่อแม่ เรียนรู้แบบจากสังคม เรียนรู้แล้วใช้ วจิ ารณญาณ เรียนรู้ตลอดชีวติ
จริยธรรม (ETHICS) • อุดมการณ์หรือมาตรฐานความประพฤติของมนุษยท์ ี่เป็นจุดมุ่งหมายเพ่ือ ความดีสูงสุด แยกเป็ น 2 แนวทาง • 1.ช่วยอธิบายการตดั สินใจของมนุษย์ • 2.ช่วยก่อต้งั หรือส่งเสริมการกระทาหรือจุดมุ่งหมายของมนุษยใ์ หเ้ ป็นไป ตามแนวทางที่ถกู ตอ้ ง แยกเป็ น 2 ลกั ษณะ • 1. การตดั สินใจในเร่ืองของคุณค่า • 2. การตดั สินใจในเรื่องของภาระหนา้ ท่ี
ตามมาตรฐานจริยธรรม 1. ตอ้ งไม่ไดม้ าจากเอารัดเอาเปรียบ 2. ตอ้ งไม่มีส่วนในการทาลายแหล่งทรัพยากรของมนุษย์ 3. ตอ้ งเสริมสร้างความเป็นปึ กแผน่ ของสงั คม 4. ตอ้ งพิจารณาองคป์ ระกอบอื่นที่จาเป็นต่อ ความเป็นมนุษย์ เช่น ความเสมอภาค การเคารพศกั ด์ิศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การมีเมตาธรรม เคารพหลกั สิทธิมนุษยชน
คุณธรรม คือ ปทสั ถานสาหรับยดึ ถือ ควรปฏิบตั ิตาม รูปแบบทางศาสนา ซ่ึงอยใู่ นตวั คน เป็นความดี ความถกู ตอ้ ง ซ่ึงมี อยภู่ ายในจิตใจของคน และผลกั ดนั ใหค้ นแสดงพฤติกรรมท่ีถกู ตอ้ ง เหมาะสม (ควร) จรรยาบรรณ คือ ความประพฤติท่ีดีงามของผทู้ ่ีประกอบวชิ าชีพท่ี องคก์ รวชิ าชีพกาหนดใหค้ นในวงการพงึ ประพฤติปฏิบตั ิ เพอื่ รักษา และส่งเสริมเกียรติคุณ ช่ือเสียง ฐานะของสมาชิก (พงึ ) วนิ ัย คือ ขอ้ หา้ มและขอ้ ปฏิบตั ิของขา้ ราชการที่ต้องปฏิบตั ิ (ต้อง) จริยธรรม = คุณธรรม + จรรยาบรรณ +วนิ ัย = คนดใี นสังคม
หลกั วนิ ิจฉัยจรรยาบรรณ CODE OF ETHICS 1. พนั ธะผกู พนั ท่ีมีต่อศิษย์ 2. พนั ธะผกู พนั ต่อสงั คม 3. พนั ธะผกู พนั ตอ่ วิชาชีพ 4. พนั ธะผกู พนั ต่อผบู้ งั คบั บญั ชา
จรรยาบรรณ • ความดีหรือสิ่งท่ีดีท่ีครูจาเป็นตอ้ งมีและตอ้ งปฏิบตั ิ (สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ) • ขอ้ กาหนดกฎเกณฑอ์ นั เป็นปทสั ถานสาหรับผปู้ ระกอบวิชาชีพ น้นั ๆ ยดึ ถือปฏิบตั ิ (ประวีณ ณ นคร) • แบบแผนท่ีสังคมวชิ าชีพกาหนดข้ึนเพ่อื ควบคุมตวั เองได้ (คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ) • ประมวลความประพฤติท่ีผปู้ ระกอบอาชีพการงานแตล่ ะอยา่ ง กาหนดข้ึนเพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณช่ือเสียง และฐานะ ของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือไม่กไ็ ด้ (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตสถาน) • มาตรฐานความชอบธรรมและเกียรติฐานะของความเป็น ขา้ ราชการ (พระเมธีธรรมาภรณ์) สรุป จรรยาบรรณ คือ ข้อกาหนดเพอ่ื ใช้เป็ นแนวปฏิบัตสิ าหรับผู้ ประกอบวชิ าชีพน้ันๆ
PROFESSION วชิ าชีพครู มีคุณสมบตั ิ 10 ประการ 1. ใช้สตปิ ัญญาประกอบอาชีพน้ัน 2. จาเป็ นต้องมอี งค์ความรู้เฉพาะทาง 3. จาเป็ นต้องมกี ารเตรียมตัวเข้าสู่วชิ าชีพยาวนานพอสมควร (อย่างน้อยปริญญาตรี) 4. จาเป็ นต้องมกี ารอบรมระหว่างประจาการ 5. อาชีพทคี่ นพง่ึ พาตลอดชีวติ ทมี่ คี วามมน่ั คง 6. มกี ารกาหนดมาตรฐานวชิ าชีพของตนเองขนึ้ มาเอง เช่น กาหนดจรรยาบรรณ 7. คุณค่าของงานมากกว่าเงนิ ทไี่ ด้รับ 8. ต้องให้สิทธิปฏบิ ตั ติ ามความรับผดิ ชอบเพราะเรียนมา 9. ต้องมอี งค์กรวชิ าชีพอย่างแท้จริง 10. ออกใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครูได้
1. มศี รัทธาในอาชีพครู และให้เกยี รตแิ ก่ครูด้วยกนั 2. บาเพญ็ ตนให้สมกบั ได้ชื่อว่าเป็ นครู 3. ใฝ่ ใจศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ เพม่ิ เตมิ เสมอ 4. ต้ังใจฝึ กสอน อบรมศิษย์ให้เป็ นพลเมืองดี 5. ร่วมมอื กบั ผ้ปู กครองในการอบรมส่ังสอนนักเรียนอย่างใกล้ชิด 6. รู้จกั เสียสละ และรับผดิ ชอบในหน้าทกี่ ารงานท้งั ปวง 7. รักษาช่ือเสียงของคณะครูและโรงเรียน 8. รู้จกั มธั ยสั ถ์และพยายามสร้างฐานะด้วยความขยนั หมนั่ เพยี ร และซื่อสัตย์ ซ่ือตรง 9. ยดึ มนั่ ในศาสนาทต่ี นนับถอื และไม่ลบหล่ศู าสนาอนื่ 10. บาเพญ็ ตนให้เป็ นประโยชน์ต่อสังคม
ส่วนท่ี ๒ จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ข้อ ๑๖ ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื ส่งเสริม ให้กาลงั ใจ ศิษย์และผ้รู ับบริการตามบทบาทหน้าทีโ่ ดยเสมอหน้า ข้อ ๑๗ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกดิ การเรียนรู้ ทักษะและนิสัยท่ี ถูกต้องดงี ามแก่ศิษย์และผ้รู ับบริการ ตามบทบาทหน้าทอี่ ย่างเตม็ ความสามารถด้วยความบริสุทธ์ิ ใจ ข้อ ๑๘ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผ้รู ับบริการ
ส่วนที่ ๔ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวชิ าชีพ ข้อ ๒๑ ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พงึ ช่วยเหลอื เกอื้ กลู ซึ่งกนั และกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยยดึ มั่นในระบบ คุณธรรม สร้างความสามัคคใี นหมู่คณะ ส่วนท่ี ๕ จรรยาบรรณต่อสังคม ข้อ ๒๒ ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาพงึ ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นเป็ นผู้นาในการอนุรักษ์และ พฒั นาเศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ ส่วนรวม และยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมุข
หมวด ๓ จรรยาบรรณของวชิ าชีพ ข้อ ๑๓ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องประพฤตติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ และ แบบแผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ ส่วนท่ี ๑ จรรยาบรรณต่อตนเอง ข้อ ๑๔ ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาต้องมวี นิ ัยในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชีพ บุคลกิ ภาพและวสิ ัยทศั น์ให้ทนั ต่อการพฒั นาทางวทิ ยาการเศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งอยู่เสมอ
วนิ ัย หมายถงึ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั กฎเกณฑ์ คาสั่ง ขนบธรรมเนียม ประเพณี ท่ีองคก์ รกาหนดข้ึนเป็น ปทสั ถาน (NORM) เพอื่ ใชใ้ นการควบคุมและส่งเสริม ความประพฤติของบุคคลในองคก์ รใหเ้ กิดความมีระเบียบ และก่อใหผ้ ลของการปฏิบตั ิงานมีประสิทธิภาพ หากมี ผกู้ ระทาผดิ วินยั กม็ ีมาตรการในการลงโทษ
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความเจริญม่ันคงของประเทศ ความผาสุขของประชาชน รักษาภาพพจน์ชื่อเสียงทด่ี ขี องทางราชการ
ปรัชญาในการสร้างวนิ ัย วนิ ยั มีสภาพออ่ นไหวเหมือนน้า ปราบปราม ส่งเสริม วินยั ตอ้ งมีลกั ษณะเชิงพฤติกรรม ป้ องกนั วนิ ยั เกิดข้ึนดว้ ยใจสมคั ร วนิ ยั หมู่ดีกวา่ วนิ ยั ส่วนบุคคล วนิ ยั เกิดดว้ ยแรงจูงใจและแรงบงั คบั วนิ ยั เป็นผลิตผลของภาวะผนู้ า
แนวคิดในการเสริมสร้างวนิ ยั ขา้ ราชการครู วินยั เป็นปัจจยั ท่ีสร้างความสาเร็จ ความกา้ วหนา้ วินยั เป็นผลที่เกิดจากภาวะความเป็นผนู้ า วนิ ยั เป็นมาตรการส่งเสริมและป้ องกนั การเสริมสร้างวินยั จะตอ้ งดาเนินการครบ 3 ดา้ น • การใหค้ วามรู้ • สร้างความรู้สึก • การแสดงพฤติกรรม วนิ ยั ในตนเองน้นั เกิดจากความศรัทธา
การดาเนินการทางวนิ ัย เริ่มต้นเมอื่ ... มผี ู้ร้องเรียน ผู้บงั คบั บญั ชาพบเห็น บัตรสนเท่ห์ ได้รับรายงาน หรือแจ้งจากบุคคล จากหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง ป.ป.ช. ,ส.ต.ง. ,ป.ป.ง.,ป.ป.ท.
สาเหตุการกระทาความผดิ วนิ ัย ความรู้เท่าไม่ถงึ การณ์ ความไม่เข้าใจระเบยี บราชการ ปัญหาเศรษฐกจิ อารมณ์ และสังคม ความประมาทเลนิ เล่อ หรือความคกึ คะนอง จงใจกระทาผดิ
สาเหตุของการกระทาผดิ 1. ไม่เข้าใจ (ไม่รู้ว่าอะไรทาได้อะไรทาไม่ได้) 2. ตามใจ (เห็นคนอน่ื ทาได้จงึ ทาตามอย่างไป) 3. ไม่ใส่ใจ (ถือว่าระเบยี บแบบแผนไม่สาคญั วิชาการและ เสรีภาพสาคัญกว่า) 4. ชะล่าใจ (คดิ ว่าคงไม่เป็ นไร) 5. เผลอใจ (ส่ิงเย้ายวนชักนาถลาลงไป) 6. ล่อใจ (โอกาสเปิ ดช่องให้ได้ของมคี ่า) 7. ไม่มจี ติ ใจ (เสียขวญั และกาลงั ใจ) 8. จาใจ (ถูกบงั คบั ) 9. เจ็บใจ (ไม่ได้รับการปฏบตั โิ ดยเป็ นธรรม) 10. ต้ังใจ (เป็ นสันดาน)
สาเหตุทท่ี าผดิ วนิ ัย เพราะ... 1. ไม่เข้าใจ...........................(ต้องอบรมให้รู้) 2. ตามใจ..............................(ต้องอบรมให้สานึก) 3. ไม่ใส่ใจ.............................(ต้องอบรมให้ยอมรับสภาพ) 4. ชะล่าใจ.............................(ต้องอบรมให้สานึก) 5. เผลอใจ.............................(ต้องอบรมให้มสี ต)ิ 6. ล่อใจ................................(ต้องอบรมให้มสี ต)ิ 7. ไม่มีจติ ใจ.........................(ต้องให้กาลงั ใจ) 8. จาใจ.................................(ต้องป้ องกนั ) 9. เจบ็ ใจ...............................(ต้องป้ องกนั ) 10. ต้ังใจ................................(ต้องปราบปราม)
ลกั ษณะทว่ั ไปของวนิ ัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก.วนิ ัยเป็ นระบบไต่สวน ส่วนศาลเป็ นระบบกล่าวหา 1. ไม่มีอายุความ ยกเว้นได้รับล้างมลทนิ 2. ใช้เฉพาะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. ผ้รู ้องเรียนไม่จาเป็ นต้องเป็ นผ้เู สียหายโดยตรง 4. ยอมความกนั ไม่ได้ 5. ร้องเรียนแล้วเพกิ ถอน ไม่มีผล 6. ไม่อาจชดใช้ได้ด้วยเงนิ 7. ต้งั กรรมการสอบสวนทางวนิ ัยอย่างร้ายแรงและ ถูกลงโทษตดั เงนิ เดอื นไม่ สามารถท่จี ะเลอ่ื นข้นั เงินเดอื นได้ 8. รับสารภาพ ไม่เป็ นเหตุลดหย่อนโทษ 9. มูลกรณเี กดิ ขนึ้ ในระหว่างเป็ นข้าราชการ แม้ออกจากราชการแล้วเร่ืองไม่ยุติ 10. ถูกสอบสวน ลาออกได้ แต่เร่ืองไม่ยุติ กรณรี ะดบั โทษร้ายแรง 11. จะอ้างว่าไม่รู้ระเบยี บและกฎหมายไม่ได้ 12. การอุทธรณ์ไม่เป็ นคุณเสมอไป 13. มาตรฐานโทษสูงกว่าข้าราชการอนื่ 14. แม้ไม่มีเจตนากเ็ ป็ นการกระทาโดยประมาทได้ 15. ในบางกรณไี ม่เป็ นการกระทาผดิ วนิ ัย แต่ถูกให้ออกจากราชการได้ 16. มีท้งั ระเบยี บและกฎเกณฑ์ท่เี ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร และไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร 17. เมื่อรับโทษทางวนิ ัยแล้ว ยงั ต้องรับผดิ ตามกฎหมายอนื่ อกี ด้วย
การวนิ ิจฉัยคาว่า “ช่ัว” ความรู้สึกของสังคม เกยี รตขิ องการเป็ นข้าราชการ หรือบุคคลทส่ี ังคมคาดหวงั เจตนาของการกระทา ผลแห่งการกระทา พิจารณาขอ้ เทจ็ จริงเป็นรายๆ ไป ประกอบการวนิ ิจฉยั ขา้ งตน้ วา่ เป็นการประพฤติชวั่ หรือ ประพฤติชวั่ อย่างร้ายแรง
1. ความผดิ เกย่ี วกับการเบิกจา่ ยเงิน 2. ความรบั ผิดเก่ยี วกับการจดั ซือ้ จัดจ้าง 3. ความรบั ผดิ การเรียกเก็บเงิน 4. ความรับผิดเจา้ หน้าทข่ี องรฐั เอือ้ ประโยชนต์ อ่ พวกพ้อง 5. พฤติกรรมไมเ่ หมาะสมในการปฏบิ ัตใิ นหน้าท่ขี อง ผบู้ ังคับบัญชา
กรณที ุจริตต่อหน้าทร่ี าชการ 1. ตอ้ งมีหนา้ ที่ราชการท่ีจะตอ้ ง ปฏิบตั ิ 2. ไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการไป โดยมิชอบ หรือ ละเวน้ การปฏิบตั ิ หนา้ ที่ราชการโดยมิชอบ 3. เพื่อให้ ตนเอง หรือ ผอู้ ่ืน ไดป้ ระโยชนท์ ่ี มิควรได้ 4. โดยมีเจตนา ทุจริต
วธิ ีการป้ องกนั การทุจริต การแบ่งหน้าที่ การแบ่งแยกความรับผดิ ชอบ วธิ ีปฏิบตั งิ านทด่ี ี การดูแลรักษาทรัพย์สินอย่างเหมาะสม การใช้เจ้าหน้าทท่ี ม่ี ปี ระสิทธิภาพ ***************
มูลเหตุแห่งการทุจริต • เจ้าหน้าทไ่ี ม่ปฏบิ ัตติ ามหรือพยายามหลกี เลย่ี งกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคบั ต่างๆและจดั โครงงาน • วธิ ีปฏิบตั งิ าน ไม่กาหนดอานาจหน้าทขี่ องแต่ละบุคคลไว้ ให้เป็ นทแี่ น่นอนและรัดกมุ เช่น บัญชี การเงนิ และพสั ดุ และไม่มกี ารสอบทานงาน • ผู้ปฏบิ ัตขิ าดสมรรถภาพในด้านการเงนิ บัญชี และพสั ดุ หรือไม่มคี วามซื่อสัตย์สุจริต ความประพฤตแิ ละอปุ นิสัย
วธิ ีการทุจริต 1.การบญั ชีและการเงิน ก.รับเงิน 1. รับเงนิ แล้วไม่ลงบัญชี โดยไม่ออกใบรับหรือออก แต่ไม่นาเข้าบัญชี 2. ลงบญั ชีรับตา่ กว่าหลกั ฐาน ยกั ยอกเงินทเี่ หลอื 3. ทาลายหลกั ฐานการรับเงนิ แล้วไม่นาเข้าบัญชี 4. เอาใบรับเงินของปี ก่อนๆทเ่ี หลอื และเลกิ ใช้ฉีกมาเขียนรับเงนิ โดยไม่ลงต้นข้ัว 5. รับเงนิ แล้วแต่หมายเหตุในต้นข้วั หรือสาเนาว่ายกเลกิ หรือไม่ใช่ แล้วยกั ยอกเงนิ ทร่ี ับมา 6. ปลอมแปลงใบรับเงนิ เกบ็ จากลกู ค้า 7. ใบรับเงินทไ่ี ม่มเี ลขทพี่ มิ พ์ไว้ในแบบพมิ พ์เมอ่ื รับเงนิ จึงเขยี นเลขท่ี ถ้ารายไหนจะ ยกั ยอกกจ็ ะฉีกสาเนาหรือต้นข้วั ทงิ้ 8. การรับเงนิ เขยี นในต้นข้ัวหรือสาเนาตา่ กว่าต้นฉบับ 9. แก้ไขตัวเลขในต้นข้ัวหรือสาเนาใบเสร็จให้ตัวเลขต่ากว่าทไี่ ด้รับจริง
หลกั การพจิ ารณา ความผดิ 1. หลกั นิตธิ รรม 2. หลกั มโนธรรม 3. หลกั ความเป็ นธรรม 4. หลกั จรรยาบรรณ 5. หลกั นโยบายราชการ
ข้อคดิ 1. ศัตรูทรี่ ้ายกาจทส่ี ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...ตวั เราเอง สาหรับ 2. ความพ่ายแพ้ทย่ี ง่ิ ใหญ่ทสี่ ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การอวดดี ชีวติ 3. ความไร้ปัญญาที่สุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การโกหก 4. ความน่าเศร้าใจทส่ี ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การอจิ ฉาริษยา 5. ความผดิ ทร่ี ้ายแรงทสี่ ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...ความหมดอาลยั ตายอยาก 6. โทษทณั ฑ์ทีห่ นักท่ีสุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การหลอกตัวเองและหลอกผู้อน่ื 7. นิสัยทนี่ ่าสงสารทสี่ ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...ความรู้สึกน้อยเนือ้ ตา่ ใจ 8. ความน่านับถอื ยกย่องทส่ี ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...ความวริ ิยะอุตสาหะ 9. ความล้มละลายทีห่ นักทสี่ ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การรู้สึกสิ้นหวงั 10. ความร่ารวยที่มคี ่าทส่ี ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การมีสุขภาพแขง็ แรง 11. หนีส้ ินท่ใี หญ่ทส่ี ุดในชีวติ ของคนเรา คือ....หนีบ้ ุญคุณ 12. ของขวญั ทล่ี า้ ค่าทีส่ ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การให้อภัย 13. ความขาดแคลนท่สี ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...ความเมตตาทป่ี ระกอบด้วยปัญญา 14. ความรู้สึกปิ ติทสี่ ุดในชีวติ ของคนเรา คือ...การให้ทาน
ทาดี ไม่ได้ดี เพราะ 1. ทาดีไม่พอ (ทาดแี ต่ปากเสีย) 2. ทาดไี ม่ถูกกาลเทศะ - ทาดเี อาหน้า - ทาดีคยุ โอ้อวด - ทาดแี ต่คบคนไม่ดี 3.ทาดีไม่อดทน ชีวติ ประสบผลสาเร็จ การดารงชีวติ ให้เป็ นสุข 1. ดวง + 2 สิ่งแวดลอ้ ม = 30 % 3. มีการกระทา 60% 1. จงมสี ตริ ู้ตลอดเวลา 2. นับถอื สิ่งศักด์สิ ิทธ์ิแต่อย่างมงาย 4. มีความผกู พนั 10% 3. อย่าสร้างวิบากกรรม
พฤติกรรมของข้าราชการไทย รักความสงบ ประจบเจ้านาย กรีดกรายการงาน ชานาญนินทา หน้าใหญ่ใจกว้าง ชอบสร้างหนีส้ ิน ได้กนิ บนั เทงิ ช้ันเชิงเจ้าชู้ คราวสู้ทรหด เจ้าบทเจ้ากลอน ชอบสอนชาวบ้าน ไหว้วานกนั ได้ ใฝ่ ใจการกศุ ล ความจนไม่รับรู้ รักหมู่น้องพี่ รักท่อี าศัย ตดิ ใจการพนัน ขบขนั คา่ เช้า ของเมาไม่เบื่อ เช่ือโชคเชื่อดวง และ มกั หวงน้องเมยี ท่ีมา: สภาวจิ ยั แห่งชาติ
• จุดมุ่งหมาย • ผลท่ีไดร้ ับ 1. เพอื่ ใหค้ วามรู้ 1. ความรู้ 2. เพื่อเตือนสติ 2. เห็นความจาเป็น 3. เพ่ือปรับทศั นคติ 3. เห็นคุณค่า 4. เพอ่ื ปรับพฤติกรรม 4. สานึกและสังวรระวงั 5. นาไปปฏิบตั ิ
การพฆิ าตความเครียด 1. ระงบั อารมณ์โกรธ เพราะความโกรธทาให้ประสาทเครียด และสามารถทาอะไรบางอย่างลงไป โดยขาดความย้งั คดิ จะเกดิ ความเสียหายภายหลงั 2. ไม่ทาเรื่องเลก็ ให้เป็ นเร่ืองใหญ่ ทจ่ี ริงมเี ร่ืองเพยี งเลก็ น้อยเท่าน้ัน แต่ไปเกบ็ เร่ืองอนื่ มา ผสมผสานเป็ นเรื่องใหญ่ 3. อย่าตตี นไปก่อนไข้ นึกเอาว่าจะเกดิ เหตุอย่างน้ันอย่างนตี้ ดิ ตามมา ท้งั ๆ ทเ่ี รื่องยงั ไม่เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ถงึ วนั น้ันหากจะเกดิ เหตุขนึ้ จริงกต็ ้องยอมรับว่าเกดิ อะไรขนึ้ ให้มนั เกดิ เพราะเราได้หาวธิ ี ป้ องกนั เป็ นอย่างดแี ล้ว ดูแต่สุนัขจนตรอกยงั สู้ 4. ยมิ้ และมอี ารมณ์ขัน เพราะทาให้คลายความเครียดได้เป็ นอย่างดี แม้ในทป่ี ระชุมทเ่ี คร่งเครียด กใ็ ช้ได้ แต่ต้องให้ถูกกบั จังหวะเวลา 5. ระบายความในใจให้กบั ผู้ใหญ่ทเ่ี รามน่ั ใจว่าให้แนวคดิ และเกบ็ ความลบั ของเราได้ 6. ออกกาลงั กายหรือทางานอดเิ รก 7. ฝึ กสมาธิ 8. ไปพกั ผ่อนในสถานท่อี นั สมควร 9. หาหนังสือดๆี อ่าน ประเภทหลกั ธรมของศาสนาใดกไ็ ด้ 10. ฟังเพลง ดูทวี ี หรือนอน
ถา้ อยากเป็นคนงาม อยา่ ววู่ ามโกรธง่าย ถา้ อยากเป็นคนสบาย อยา่ เบื่อหน่ายความเพยี ร ถา้ อยากเป็นคนมง่ั มี อยา่ เป็นคนดีแต่จ่าย ถา้ อยากเป็นคนนาสมยั อยา่ ทาลายวฒั นธรรม ถา้ อยากเป็นคนมีเกียรติ อยา่ เหยยี ดหยามคนอื่น ถา้ อยากมีความรู้ อยา่ ลบหลู่อาจารย์ ถา้ อยากหาความสาราญ อยา่ ลา้ งผลาญสมบตั ิ ถา้ อยากเป็นคนมีอานาจ อยา่ ขาดความยตุ ิธรรม ถา้ อยากเป็นคนดงั อยา่ หวงั ความสงบ
คา้ ประกนั เจา้ หน้ีตอ้ งฟ้ องลกู หน้ีก่อน แลว้ จึงมีสิทธ์ิมาฟ้ องผคู้ ้าประกนั ภายหลงั ขอเพกิ ถอนค้าประกนั เม่ือเจา้ หน้ียนิ ยอม พยายามดูความรับผดิ จานวนเงิน ระยะเวลาค้าประกนั พร้อมที่จะรับผดิ ชอบต่อลกู หน้ี เม่ือไม่ชาระเงินใหเ้ จา้ หน้ี ควรทราบประวตั ิฐานะการเงินของลกู หน้ี
ปนู ะจะ๊ VISION วสิ ยั ทศั น์
วา่ ดว้ ยการใชบ้ ุคคล เป็นหลกั ประกนั ในการปล่อยชวั่ คราว 1. ระเบยี บสานักงานอยั การสูงสุด 2. คาส่ังกรมตารวจ 3. ระเบยี บราชการฝ่ ายตุลาการ - กรณีท่ีเป็นการกระทาส่วนตวั ใหใ้ ชว้ งเงินประกนั ไม่เกิน 10 เท่า ของเงินเดือน - กรณีเป็นการกระทาในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีราชการใหใ้ นวงเงิน ประกนั ไม่เกิน 15 เท่าของเงินเดือน
“บัตรสนเท่ห์ ไม่รับพจิ ารณา เว้นแต่รายทรี่ ะบุหลกั ฐานกรณี แวดล้อมปรากฎชัดแจ้ง ตลอดจนชี้พยานบุคคลแน่นอน” มติ ค.ร.ม.เร่ืองบตั รสนเท่ห์ นว.1011/ว26 ลงวนั ท่ี 17 กนั ยายน 2547
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126