Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการบรรยายหรือคู่มือการอบรมฯ

เอกสารประกอบการบรรยายหรือคู่มือการอบรมฯ

Published by Srp Srk, 2022-02-03 09:26:59

Description: เอกสารประกอบการบรรยายหรือคู่มือการอบรมฯ

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 4.12 การสรา งใบกิจกรรม/แบบฝก หัด/แบบทดสอบ : แบบฟง เสียง (Listening) การสรางใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบในรูปแบบการปฏิสัมพันธผานเว็บไซต Liveworksheets แบบฟงเสียง (Listening) ผสู อนสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนได ดงั น้ี 4.12.1 ผสู อนทำการ Upload ไฟลงานตามขัน้ ตอนในหวั ขอท่ี 4.3 4.12.2 คลกิ ปมุ รูปแบบคำตอบ (Edit) ที่แถบเครือ่ งมือการใชงาน 4.12.3 นำเมาสม าวาดเปนกรอบส่เี หล่ยี มตรงชองวางท่ีผูสอนกำหนด 4.12.4 ใสคำสั่งสำหรับใหอานออกเสียงแบบอัตโนมัติดวยรูปแบบ listen:ขอความที่ตองการให ออกเสียง เชน listen:apple และ listen:pen เปน ตน 4.12.5 จากขอที่ 4.12.4 เมื่อผูสอนใสคำสั่งเสร็จเรียบรอย จะปรากฏหนาจอสำหรับเลือกภาษาท่ี ตองการใหอ อกเสียง 4.12.6 คลิกเลอื ก Set as default for this worksheet และคลกิ ปมุ save ทัง้ นี้ สามารถแสดงรายละเอยี ดไดด ังภาพท่ี 4.33 ดงั น้ี ภาพที่ 4.33 ขนั้ ตอนการสรา งใบกิจกรรม/แบบฝก หดั /แบบทดสอบ รูปแบบฟงเสยี ง จากภาพที่ 4.33 เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบรอยแลว ใหผูสอนสามารถเลือกกำหนดรูปแบบการตอบ คำถามอื่น ๆ ตามที่ผูสอนตองการ และผูสอนสามารถเปลี่ยนมุมมองการดู เพื่อแสดงผลลัพธจากการสรางใบ กิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ โดยคลิกปุม มุมมอง (Preview) ซึ่งจะแสดงรายละเอียดไดดังภาพที่ 4.34 ดงั น้ี 100

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน ภาพที่ 4.34 หนา จอการเปล่ยี นมมุ มองการดู เพอ่ื แสดงผลลพั ธแ บบฟง เสียงและโยงเสนจบั คู จากภาพที่ 4.34 ผูสอนสามารถทดลองฟงเสียงและโยงเสนจับคูคำตามที่กำหนด จากนั้นคลิกปุม Finish!! เพ่ือสงคำตอบและดูคะแนนที่ไดร บั ซง่ึ จะแสดงรายละเอยี ดไดดังภาพท่ี 4.35 ดังนี้ ภาพที่ 4.35 หนา จอการเรียกดคู ะแนนทไ่ี ดร บั จากการตอบคำถามแบบฟงเสียงและโยงเสน จบั คู 101

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน 4.13 การสรา งใบกจิ กรรม/แบบฝกหดั /แบบทดสอบ : แบบพดู (Speaking) การสรางใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบในรูปแบบการปฏิสัมพันธผานเว็บไซต Liveworksheets แบบพูด (Speaking) ผสู อนสามารถปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนได ดังนี้ 13.1 ผสู อนทำการ Upload ไฟลงานตามขน้ั ตอนในหัวขอ ท่ี 4.3 13.2 คลิกปมุ รูปแบบคำตอบ (Edit) ท่แี ถบเครอ่ื งมอื การใชง าน 13.3 นำเมาสมาวาดเปนกรอบส่ีเหล่ียมตรงชอ งวางทผ่ี สู อนกำหนด 13.4 ใสคำสงั่ สำหรบั ใหผเู รียนออกเสยี งเพื่อเปนคำตอบดวยรูปแบบ speak:ขอความทีต่ องการใหพ ดู เชน speak:1 และ speak:2 เปน ตน 13.5 จากขอที่ 4.13.4 เมื่อผูสอนใสคำสั่งเสร็จเรียบรอย จะปรากฏหนาจอสำหรับเลือกภาษาท่ี ตองการใหผเู รยี นออกเสียง 13.6 คลกิ เลือก Set as default for this worksheet และคลิกปุม save ทง้ั น้ี สามารถแสดงรายละเอยี ดไดดงั ภาพที่ 4.36 ดงั น้ี ภาพที่ 4.36 ขนั้ ตอนการสรา งใบกจิ กรรม / แบบฝกหัด / แบบทดสอบ รปู แบบการพูด จากภาพที่ 4.36 เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบรอยแลว ผูสอนสามารถเปลี่ยนมุมมองการดู เพื่อแสดง ผลลัพธจากการสรางใบกิจกรรม / แบบฝกหัด / แบบทดสอบ โดยคลิกปุม มุมมอง (Preview) ซึ่งจะ แสดงรายละเอียดไดดงั ภาพท่ี 4.37 ดงั น้ี 102

หลกั สตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน ภาพที่ 4.37 หนา จอการเปลยี่ นมมุ มองการดู เพ่ือแสดงผลลพั ธแบบการพูด จากภาพที่ 4.37 ผสู อนสามารถทดลองพูดตามทก่ี ำหนด จากน้ันคลกิ ปมุ Finish!! เพื่อสง คำตอบและดู คะแนนที่ไดร บั ซึ่งจะแสดงรายละเอยี ดไดด งั ภาพที่ 4.38 ดงั น้ี ภาพที่ 4.38 หนาจอการเรยี กดูคะแนนท่ไี ดร ับจากการตอบคำถามแบบการพูด 103

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน 4.14 การสรางใบกจิ กรรม/แบบฝก หัด/แบบทดสอบ : แบบแทรกเสียง (Insert Sound) การสรางใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบในรูปแบบการปฏิสัมพันธผานเว็บไซต Liveworksheets แบบแทรกเสียง (Insert Sound) ผูสอนสามารถแทรกรูปแบบเสียงได 2 ประเภท โดย สามารถปฏิบตั ิตามขนั้ ตอนได ดังนี้ 4.14.1 การแทรกเสยี งรปู แบบไฟล mp3 1) ผสู อนทำการดาวนโหลดไฟลเ สยี งรปู แบบ mp3 ไดท ่ี https://soundoftext.com 2) ผูสอนทำการพิมพขอ ความทต่ี องการในชอ ง Text 3) ผูส อนทำการเลือกภาษาทีต่ อ งการ 4) คลิกปุม Submit 5) จะปรากฏผลลัพธตามขอ 2) ที่ผูสอนกำหนด โดยสามารถคลิกปุม Play เพื่อลดลองฟง เสียงวาตรงกบั ที่ผูสอนตองการ หรอื ไม 6) คลิกปุม Download เพื่อดาวนโหลดไฟลเสียงรูปแบบ mp3 เก็บไวที่เครื่องคอมพิวเตอร ของผูส อน ทั้งน้ี สามารถแสดงรายละเอียดไดด ังภาพที่ 4.39 ดังนี้ ภาพท่ี 4.39 ขนั้ ตอนการดาวนโ หลดไฟลเ สยี งรูปแบบ mp3 จากภาพที่ 4.39 เมื่อผูสอนดำเนินการดาวนโหลดไฟลเสียงรูปแบบ mp3 เสร็จเรียบรอย ใหป ฏิบตั ิตามข้ันตอน ดังนี้ 1) ผสู อนทำการ Upload ไฟลง านตามขั้นตอนในหัวขอท่ี 4.3 2) คลิกปุม รปู แบบคำตอบ (Edit) ทแี่ ถบเครอ่ื งมือการใชง าน 3) นำเมาสม าวาดเปน กรอบสเี่ หลย่ี มตรงชองวางทผ่ี ูสอนกำหนด 4) ใสค ำสั่งสำหรับแสดงเสยี งจากไฟล mp3 ดวยรปู แบบ playmp3: 104

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน 5) จากขอที่ 4 จะปรากฏหนาจอสำหรับใหผูสอนเลือกไฟลเสียง mp3 ที่ดาวนโหลดเก็บไวที่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร โดยคลกิ ปุม Choose File และคลกิ ปุม Upload ท้งั น้ี สามารถแสดงรายละเอยี ดไดดงั ภาพท่ี 4.40 ดังน้ี ภาพท่ี 4.40 ขนั้ ตอนเลือกไฟลเ สยี งรูปแบบ mp3 จากภาพที่ 4.40 เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบรอยแลว ใหผูสอนสามารถเลือกกำหนดรูปแบบ การตอบคำถามอื่น ๆ ตามที่ผูสอนตองการ และผูสอนสามารถเปลี่ยนมุมมองการดู เพื่อแสดงผลลัพธจากการ สรางใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ โดยคลิกปุม มุมมอง (Preview) ซึ่งจะแสดงรายละเอียดไดด ัง ภาพท่ี 4.41 ดังน้ี ภาพที่ 4.41 หนา จอการเปลีย่ นมุมมองการดู เพอ่ื แสดงผลลัพธแบบการแทรกไฟลเสียง mp3 105

หลักสูตรการพัฒนาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน จากภาพที่ 4.41 ผูสอนสามารถทดลองฟงเสียงจากไฟล mp3 และตอบคำถามตามที่กำหนด จากนั้นคลิกปุม Finish!! เพ่ือสงคำตอบและดูคะแนนที่ไดรับ ซึ่งจะแสดงรายละเอยี ดไดด ังภาพที่ 4.42 ดงั นี้ ภาพท่ี 4.42 หนา จอการเรียกดคู ะแนนที่ไดร บั จากการตอบคำถามแบบการแทรกเสียงไฟล mp3 4.14.2 การแทรกคลปิ VDO จาก YouTube 1) ผูสอนทำการ Upload ไฟลง านตามขัน้ ตอนในหวั ขอท่ี 4.3 2) คลิกปมุ รปู แบบคำตอบ (Edit) ทีแ่ ถบเครอ่ื งมอื การใชงาน 3) นำเมาสมาวาดเปน กรอบสี่เหลย่ี มตรงชอ งวางทผี่ ูส อนกำหนด 4) วางลงิ ค (Link) คลปิ VDO จาก YouTube ตามทผ่ี ูสอนตอ งการ 5) ผสู อนสามารถเลือกกำหนดรูปแบบการตอบคำถามอ่นื ๆ ตามทผ่ี สู อนตองการ ทง้ั น้ี สามารถแสดงรายละเอยี ดไดดงั ภาพท่ี 4.43 ดังนี้ ภาพที่ 4.43 ขนั้ ตอนเลือกคลิป VDO จาก YouTube 106

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรแู บบออนไลน จากภาพที่ 4.43 เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบรอยแลว ผูสอนสามารถเปลี่ยนมุมมองการดู เพื่อ แสดงผลลัพธจากการสรา งใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบ โดยคลิกปุม มุมมอง (Preview) ซึ่งจะ แสดงรายละเอียดไดดงั ภาพที่ 4.44 ดงั น้ี ภาพท่ี 4.44 หนาจอการเปล่ียนมุมมองการดู เพ่ือแสดงผลลัพธแบบคลปิ VDO จาก YouTube จากภาพที่ 4.44 ผูสอนสามารถทดลองดูคลิป VDO จาก YouTube และตอบคำถามตามท่ี กำหนด จากนั้นคลิกปุม Finish!! เพื่อสงคำตอบและดูคะแนนที่ไดรับ ซึ่งจะแสดงรายละเอียดไดดังภาพที่ 4.45 ดงั น้ี ภาพที่ 4.45 หนาจอการเรียกดคู ะแนนทไ่ี ดร บั จากการตอบคำถามแบบ VDO จาก YouTube 107

หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 4.15 การนำใบกจิ กรรม/แบบฝกหดั /แบบทดสอบไปใชง าน เมื่อผูสอนทำการสรางใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบในรูปแบบการปฏิสัมพันธผานเว็บไซต Liveworksheets เสร็จเรียบรอย หากตอ งการนำไปใชง านสามารถปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอนได ดังนี้ 15.1 คลิกปุม รปู แบบคำตอบ (Save) ทแี่ ถบเครื่องมือการใชง าน 15.2 หากผสู อนตองการใหใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพนั ธที่สรางข้ึนเผยแพรสู สาธารณะ ซึ่งผูอื่นสามารถเขามาใชงานได ใหคลิกเลอื ก Yes, I want to share my worksheet with other teachers 15.3 หากผูสอนตองการใหใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธที่สรางขึ้นมีความ เปน สวนตัว ใหคลกิ เลือก No, I want to keep it private 15.4 กำหนดชื่อใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธที่สรางขึ้นตรงชอง Please enter a title for your worksheet และคลิกปุม Save ทัง้ น้ี สามารถแสดงรายละเอียดไดดังภาพท่ี 4.46 ดังน้ี ภาพท่ี 4.46 ขน้ั ตอนการบนั ทกึ ใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏสิ ัมพันธท ่สี รา งขึ้น จากภาพที่ 4.46 เมื่อผูสอนดำเนินการบันทึกใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธท่ี สรางขึ้นเสร็จเรียบรอย จะปรากฏหนาจอสำหรับสงลิงค (Link) ใหกับผูเรียน ซึ่งจะแสดงรายละเอียดได ดังภาพที่ 4.47 ดังน้ี 108

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน ภาพท่ี 4.47 หนาจอแสดงผลลพั ธข องลงิ คเ พอื่ สงใหกับผูเ รยี น จากภาพที่ 4.47 เมื่อผูสอนดำเนินการบันทึกใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธที่ สรางขึ้นเสร็จเรียบรอย สามารถเรียกดูใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบตาง ๆ ไดที่เมนู My worksheets ซึ่งจะแสดงรายละเอยี ดไดดงั ภาพที่ 4.48 ดงั นี้ ภาพที่ 4.48 หนา จอแสดงการเรียกดใู บกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบจากโปรโฟลข องผูสอน จากภาพที่ 4.48 ผูสอนสามารถคลิกที่ใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบจากโปรโฟล จากนั้นจะ ปรากฏหนาจอการนำไปใชงานในรูปแบบตาง ๆ เชน เพิ่มใน Google Classroom เพิ่มใน Microsoft Teams และการสงลงิ คใหผ ูเรยี น เปนตน ซงึ่ จะแสดงรายละเอียดไดดังภาพที่ 4.49 ดงั นี้ 109

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน ภาพที่ 4.49 หนาจอแสดงผลลัพธข องลงิ คเพ่อื สงใหกับผูเรียนรปู แบบอน่ื ๆ จากภาพที่ 4.49 เมื่อผูเรียนไดรับลิงค (Link) ใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธ จากผูเรียนเรียบรอยแลว สามารถลงมือทำตามที่รูปแบบที่ผูสอนกำหนด และเมื่อคลิกปุม Finish!! จะปรากฏ หนาจอใหผูเรียนดำเนนิ การ แบง เปน 1) หากผูเรียนตองการตรวจสอบคำตอบใหค ลกิ ปมุ Check my answers 2) หากผูเ รียนตอ งการสง คำตอบกับผสู อนใหค ลกิ ปมุ Email my answers to my teacher 3) จากขอ 2) จะปรากฏสวนที่ใหกรอกขอมูลเพิ่มเติม คือ ใสชื่อของผูเรียน (Enter your full name) กลุมเรียน/ระดับ (Group/level) ชื่อสถาบันการศึกษา (School subject) อีเมลของผูสอน หรือรหัส ของผสู อน (Enter your teacher's email or key code) 3) คลกิ ปมุ Send ทง้ั น้ี สามารถแสดงรายละเอยี ดไดดังภาพท่ี 4.50 ดงั นี้ 110

หลกั สตู รการพัฒนาครดู า นการจัดการเรยี นรูแบบออนไลน ภาพที่ 4.50 หนา จอแสดงการสงคำตอบของผูเรียนใหกบั ผสู อน จากภาพที่ 4.50 ผสู อนสามารถดำเนนิ การตรวจสอบรหัสของผสู อน (Key code) ไดดงั น้ี 1) คลกิ เลือกโปรไฟลข องผูสอน จากนน้ั คลิกเลอื กเมนู My account 2) จะปรากฏหนาจอ Edit your account 3) ใหผูสอนสังเกตตรงคำวา Key code เพื่อสงใหกับผูเรียน ทั้งนี้ รหัสของผูสอน (Key code) แตละ ทานจะไมซำ้ กัน โดยระบบจะสรางขนึ้ มาใหโดยอตั โนมัติ ท้งั นี้ สามารถแสดงรายละเอยี ดไดดงั ภาพที่ 4.51 ดงั นี้ ภาพที่ 4.51 หนา จอแสดงการตรวจสอบรหัสของผูสอน (Key code) 111

หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแ บบออนไลน จากภาพที่ 4.51 เมื่อผูเรียนดำเนินการตอบคำถามและสงคำตอบมาใหกับผูสอนเรียบรอยแลว จะปรากฏเครือ่ งหมาย ทโ่ี ปรไฟลข องผสู อนดงั ภาพท่ี 4.52 ดงั นี้ ภาพท่ี 4.52 หนา จอแสดงการแจง เตือนเม่ือผูเรยี นสงคำตอบมาใหก ับผสู อน จากภาพที่ 4.52 ผูสอนสอนสามารถคลิกเขาไปดูรายละเอียดเกี่ยวกับคะแนนของผูเรียนไดเพิ่มเติม ดงั ภาพที่ 4.53 ดงั น้ี ภาพท่ี 4.53 หนาจอแสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกบั คะแนนของผูเรียน 112

หลกั สตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน บทปฏบิ ตั กิ ารบทท่ี 4 คำสั่ง กำหนดใหผูเขาอบรมดำเนินการสรางใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธดวย Liveworksheets โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. เลอื กรายวชิ าที่ผเู ขา อบรมสอน หรือถนดั ทีส่ ดุ จำนวน 1 รายวชิ า และ 1 เนื้อหา (บท) 2. ออกแบบและตกแตงใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพนั ธใ หสวยงาม เหมาะสมกบั ผูเ รยี น 3. ดำเนินการสราง 1 ใบกิจกรรม/แบบฝกหัด/แบบทดสอบแบบปฏิสัมพันธ โดยจะตองมีรูปแบบการ ตอบคำถาม 2 รปู แบบขึน้ ไป 4. สงงานใหกับวิทยากรภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยแจงรหัสของผูสอน (Key code) ของตนเอง กลบั มาดว ย 5. ทำไฟลข อมลู ทเ่ี ปน การเฉลยคำตอบสง กลบั มาในรปู แบบ PDF สำหรบั ใหวทิ ยากรตรวจคำตอบ 113

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน บทท่ี 5 การสรา งสือ่ วดิ ีโอสำหรบั การสอนดว ยแอปพลเิ คชันบนมือถอื KineMaster ในปจ จบุ ัน การตัดตอวดิ ีโอไมจ ำกดั อยเู พยี งบนเครอ่ื งคอมพิวเตอรเ ทานั้น แตสามารถตดั ตอวิดโี อและ เพิ่มลูกเลนตาง ๆ ใหกับวิดีโอไดบนสารทโฟน และแท็บเล็ต ผานแอปพลิเคชันมากมาย หนึ่งในแอพพลิเคชันดี ๆ เหลานน้ั ทจี่ ะนำเสนอใหใ ชกนั คอื KineMaster KineMaster เปนแอปพลิเคชันในระบบปฏิบัติ IOS และ Android ความสามารถของแอปพลิเคชัน นอกจากการตัดตอวิดีโอ ยังมาพรอมกับลูกเลนตาง ๆ มากมาย เชน การเพิ่มแสงสวางใหวิดีโอที่มืด การทำ วิดีโอสามมิติ การหมุนวิดีโอ การบันทึกเสียงพูดเขาไปในวิดีโอ หรือแมแตการสรางภาพยนตรก็สามารถทำได งาย ๆ เปนตน ภายในแอปนี้ยังมีฟงกชันของแอปพลิเคชันแตงรูปดวย และสามารถนำรูปนั้นไปสรางเปนวิดีโอ ใสเสยี งออดิโอ และสามารถแชรวดิ โี อบนโลกออนไลนไดท นั ที นอกจากนี้ ยังมีรูปแบบวิดีโอ หรือTemplate ใหเลือกใชตามความเหมาะกับวาระตาง ๆ ดวย เชน วันฮาโลวีน วันแตงงาน และวันวาเลนไทน เปน ตน ภาพที่ 5.1 KineMaster App ท่ีมา : Google Play Store 114

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรแู บบออนไลน 5.1 คณุ สมบตั แิ ละความสามารถของ KineMaster (Application Features) 5.1.1 ความสามารถ 1) สามารถเลอื กเอฟเฟคใหก ับวิดโี อของคุณไดมากมาย ไมว าจะเปน การเปล่ยี นสี หรอื เพิ่มแสง ปรบั ความสมดลุ เปนตน 2) รองรบั การทำงานวิดีโอแบบ HD 3) สนับสนุนไฟลรูปได 2 แบบ คือ JPG และ PNG 4) รองรับไฟลอ อดโิ อ 3 แบบ อาทเิ ชน MP3 M4A และ AAC 5) สามารถสง ไฟลท ี่ไดทำการแกไข หรือตัดตอ ไปยงั เพื่อนบนโลกออนไลนไ ดทันที 6) สามารถใสเสียงพูดลงไปภายในวิดีโอไดดวย 5.1.2 คณุ สมบัติ 1) วดิ โี อหลายชั้นภาพเอฟเฟกตซ อนทบั สตกิ เกอรขอความและลายมอื 2) ดาวนโหลดผลกระทบเพ่ิมเติมเพลงฟรีคาภาคหลวงซอนภาพสติกเกอรและอืน่ ๆ จาก KineMaster Asset Store 3) การตดั แตงภาพทีละเฟรมอยา งแมนยำ 4) ดตู วั อยา งทันทีสำหรบั การแกไ ขท้ังหมด 5) การควบคมุ ความสวา งและความอิม่ ตวั ของสี 6) ตวั กรองเสยี งรวมถงึ เคร่ืองเปล่ียนเสียง 7) ภาพเบลอภาพโมเสกและอ่ืน ๆ 8) รปู แบบภาพเคลอื่ นไหวจำนวนมาก 9) ควบคมุ ความเรว็ สำหรบั วดิ โี อคลปิ 10) การควบคมุ ระดับเสยี งที่แมนยำในแตละชว งเวลาภายในคลปิ 11) ผลการเปล่ยี นภาพ (การเปล่ยี นภาพแบบ 3D แบบจางและอ่นื ๆ) 12) รปู แบบภาพเคล่อื นไหว ภาพนงิ่ และเสียงหลากหลายรูปแบบ แบง ปนบน YouTube, Facebook, Google+, Dropbox และอ่ืน ๆ 13) การบันทกึ วิดโี อและเสียงเรียลไทม 5.2 การสมคั รสมาชิก KineMaster ใหบริการแบบสมัครสมาชิก แตผูใชงานสามารถเขาใชงานไดในโหมดทดลองใชโดย ไมตองสมคั รสมาชกิ ได โหมดทดลองใช KineMaster ใหบริการฟรีสำหรับการใชงานสวนบุคคลที่ไมใชเชิงพาณิชย แตมี ลายน้ำ “Made with KineMaster” ในวิดีโอทั้งหมด และสามารถทำการสมัครสมาชิกรายเดือนและรายป สำหรับโดยการซือ้ ภายในแอปพลเิ คชัน 115

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน สำหรับการสมัครสมาชิกรายเดือน หรือรายป นอกจากการไมมีลายน้ำ ผูใชงานยังไดรับประโยชน จากการเขาถงึ เน้ือหาทีส่ ามารถดาวนโหลดไดจ ากรานคาของ KineMaster รวมถึงผลกระทบดานภาพซอนทับ เพลงที่มีคาลิขสิทธิ์ระดับมืออาชีพที่มีคุณภาพสูงและอ่ืน ๆ โดยจะมีการอัปเดตอยางสม่ำเสมอ การสมัคร สมาชิกจะตออายุโดยอัตโนมัติทุกเดือน หรือทุกปหากคุณเลือกตัวเลือกการสมัครรายปที่มีสวนลด จนกวาผูใช จะยกเลกิ ใน Play Store หรอื App Store ทั้งนี้ KineMaster สามารถใชแทร็กเพลงของ Muserk ที่มีคุณภาพระดับมืออาชีพที่มีอยูใน Asset Store และลายนำ้ จะถกู นำออกจากวิดีโอของคณุ เม่อื คุณแชรบน YouTube ไดฟรีสำหรับการใชงานสวนบุคคล ท่ีไมใ ชเชงิ พาณิชย 5.3 ระบบปฏบิ ตั ิการและอปุ กรณทสี่ นับสนนุ KineMaster สามารถใชไดกับอุปกรณสวนใหญที่ใช Android 4.1.2 (Jelly Bean MR2) ขึ้นไป แตคุณจะมีประสบการณการแกไขที่ดีที่สุดโดยใชอุปกรณที่มีความสามารถในการถอดรหัสวิดีโอที่มี ประสทิ ธภิ าพใน SoC สำหรับระบบปฏิบัติ IOS ใชไดกับอปุ กรณ ดงั น้ี - iPhone ตอ งมี iOS 13.2 หรือใหมกวา - iPadตองมี iPadOS 13.2 หรือใหมกวา - iPod touch ตองมี iOS 13.2 หรอื ใหมกวา - Mac ตอ งใช macOS 11.0 หรือใหมกวาและ Mac ทใี่ ชช ิพ Apple M1 5.4 การสนบั สนนุ และรองรบั ไฟลมลั ติมเี ดยี KineMaster สนับสนนุ และรองรับรูปแบบไฟลม ลั ติมีเดียตา ง ๆ ดังนี้ รูปแบบวดิ ีโอ: - MP4 (พน้ื ฐาน H.264 / หลกั / โปรไฟลส ูง + AAC LC / PCM) - 3GP (พืน้ ฐาน H.264 / หลกั / โปรไฟลสูง + AAC LC / PCM) - MOV (พืน้ ฐาน H.264 / หลกั / โปรไฟลสูง + AAC LC / PCM) รูปแบบเสียง: - MP3 - M4A - AAC - WAV 116

หลกั สูตรการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน รปู แบบภาพ: - JPEG - PNG - WebP - BMP - GIF (ภาพน่งิ เทาน้ัน) รปู แบบวดิ ีโอการสงออก: MP4 ทมี่ ี H.264 + AAC LC (สวนกำหนดคา H.264 ข้ึนอยกู บั อปุ กรณ) 5.5 การใช KineMaster สรา งส่อื วิดีโอสำหรบั การสอน 5.5.1 เริ่มตนการใชงาน เมอื่ ดำเนินการติดต้งั แอปพลเิ คชนั KineMaster เรียบรอ ยแลว ใหทำการเปด แอปพลเิ คชนั นั้น และ ดำเนนิ การตามภาพที่ 5.2 (A) (B) 117

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน (C) (D) ภาพที่ 5.2 การเร่มิ ตน เขา งานคร้ังแรก 5.5.2 สรางสอื่ วดิ ีโอดว ย KineMaster เริ่ม New Project โดยเรมิ่ ดว ย Project Assistant มีผูชว ย ดงั นี้ ภาพที่ 5.3 เรม่ิ สรางวิดีโอดว ย KineMaster 118

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 1) กด New Project จาก main menu เพอ่ื ท่ีจะสราง project ภาพที่ 5.4 New Project 2) เลอื ก Project Assistant ภาพที่ 5.5 Project Assistant 3) ใสชอื่ โปรเจกต กด ตกลง ภาพที่ 5.6 การใสชอ่ื โปรเจกต 4) แถบ videos และ images เปนการเพิ่มไฟลภ าพและวดิ โี อ เขา ไปในโปรเจกต กดถดั ไป ภาพท่ี 5.7 แถบ videos และ images 119

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 5) เลอื กแถบ theme ที่ตองการ กดถัดไป ภาพท่ี 5.8 แถบ theme 6) พมิ พข อความ หวั ขอ ท่ตี องการแสดงในโปรเจกต กดถดั ไป 7) เลือกแถบเพลง สามารถเลือกใน assets มที ัง้ เปน สมาชกิ และดาวนโ หลดฟรี 8) แถบเลน เปน การเลนดนตรกี อนทีจ่ ะนำไปใส กดเพมิ่ จะเปนการเพิ่มดนตรที เี่ ลอื ก กดถดั ไป 9) สามารถทำการตดั ตอ วิดโี อ 10) เมอื่ เสร็จสน้ิ ทำการแชรใ นแกลอร่ี YouTube, Facebook, Google+ และเม่ือเปดโปรแกรมจะพบโปรแกรมทม่ี อี ยใู นเครอ่ื ง ปมุ play สำหรบั เลน วิดโี อ share สำหรบั แชรวิดีโอ, edit สำหรบั ตกแตง วิดีโอ, delete สำหรับลบวดิ โี อ 120

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรูแ บบออนไลน ภาพท่ี 5.9 โปรแกรม เมอื่ ทำการตัดตอ วิดีโอ ปมุ undo หรอื ปมุ redo เปนการยกเลิกคำสั่งลา สดุ และทำคำส่ังลาสดุ ปุม change the theme เปนการเปลี่ยนธมี ของวดี โิ อ ปมุ เปนการแชรวิดโี อเม่อื ทำการตดั ตอวิดีโอเสร็จแลว และแถบการตงั้ คา โปรเจกต ทางดา นขวามือของวิดีโอ ปุม adding media เพิม่ รูปภาพ หรอื วดิ โี อ ปุม audio เพิม่ เพลง ปุม Voice . สามารถอดั เสยี งไดโดยตรงจากโทรศพั ท ปมุ สำหรบั ทำการถา ยภาพ หรือบันทกึ วิดีโอข้ึนมาใหม 121

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรยี นรูแ บบออนไลน ภาพท่ี 5.10 แถบการตัดตอและการต้ังคา โปรเจกต 5.5.3 ขนั้ ตอนการผลติ ส่ือมลั ตมิ ีเดีย 1) ข้ันการเตรยี มการผลิต (Pre Production) 1.1) สรุปโครงเรอื่ ง 1.2) เขียนบทดำเนนิ เรอ่ื ง 1.3) ออกแบบสตอรี่บอรด (storyboard) 2) ข้ันตอนการผลติ (Production) 2.1) จดั เตรียมสถานท่ี 2.2) ดำเนินการถายทำ 3) ขั้นตอนหลงั การผลติ (Post Production) 3.1) การตดั ตอ และลำดบั ภาพ 3.2) ใสเ สยี งประกอบ 3.3) ใสกราฟกและเทคนคิ พเิ ศษ 3.4) ตรวจสอบความเรียบรอ ยของส่อื 3.5) ประมวลภาพทส่ี มบรู ณ 4) ขัน้ ตอนการทดสอบกอนเผยแพร แบบสอบถามสอ่ื จากผเู ชี่ยวชาญ ใชส อบถามความเห็นจากผูเชย่ี วชาญท่มี ีตอ สอื่ 5) ข้นั ตอนการเผยแพรและวัดผล การวดั ผล ใชแ บบสอบถามเพอื่ วดั ผลความสำเรจ็ โดยแบง แบบสอบถามออกเปน 2 ระดบั คอื 122

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 5.1) แบบสอบถามความพึงพอใจของการพัฒนาสื่อ เพื่อสอบถามความเขาใจ ในเนอ้ื หาทไ่ี ดส อ่ื สารออกไปและขอเสนอแนะเพื่อปรบั ปรุงส่อื ใหม เี น้อื หาท่ีนา สนใจมากย่ิงข้ึน 5.2) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของสอ่ื โดยผรู บั ชม 5.5.4 เทคนคิ ตดั ตอ วิดีโอ CROSS CUTTING คือ การตัดตอวิดีโอที่ถายลำดับภาพยนตรที่ตัดสลับไปมาตั้งแต 2 เหตุการณ ขึ้นไป ซึ่งเหตุการณดำเนินไปขางหนา แตตองการเลาเรื่องคูขนานแบบ 2 เสนเรื่อง หรืออาจมากกวานี้ก็ได เทคนิคนี้จะสรางขึ้นเพื่อสรางความตื่นเตน ระทึก หรือเปรียบเทียบสิ่งตาง ๆ ที่ขัดแยงกัน ซึ่งเปนเทคนิคท่ี คอ นขางซับซอ น ตองใชค วามเขา ใจอยางมากในเรอ่ื งการเวนจังหวะ และจังหวะเวลาแตล ะชวง ภาพท่ี 5.11 CROSS CUTTING CUTAWAYS คือ การตัดตอวิดีโอที่มีภาพหลักแลวมีการแทรกภาพอื่น ๆ เขามาในวิดีโอ แลวตัด ยอนกลับไปยังภาพหลักอีกครั้ง อาจจะเปนภาพที่มีความยาว หรือเปนเฟรมเดียวก็สามารถทำได ซึ่งวิธีนี้เราจะ นิยมใชสำหรับการยอ หรือการขามในฉากที่มีระยะเวลานาน เพื่อเปรียบเทียบใหขอมูลเพิ่มเติม และแสดง ปฏิกิริยาบางอยา งตอเหตุการณห ลกั นน้ั ๆ ซึ่งภาพท่ีแทรกเขา มาจะตองมีความเกีย่ วขอ งการภาพหลกั ดวย MONTAGE คือ การตัดตอวิดีโอที่เนนการรวบรวม หรือประมวลภาพ และสรางความคิดที่รวบยอด ในสิ่งที่ตองการจะสื่อสารออกมาไป เพื่อสรางลำดับใหมีความตอเนื่อง ใหเขาใจเหตุการณเรื่องราวตาง ๆ ได 123

หลักสตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน ในชวงเวลาสั้น ๆ บอยครั้งก็มีการใชเพลงเขามาประกอบ โดยเพลงนั้นจะมีความหมาย หรือทำนองสอดคลอง กบั เรื่องราวที่ตอ งการสือ่ ออกไป การตัดตอภาพยนตรเกิดขึ้นทั้งในภาพยนตรแอ็กชัน หนังตลก หนังโรแมนติก หรือแมแตหนัง สยองขวัญ การตัดตอแสดงเวลาที่ผานไปและรวบรวมการพัฒนาตัวละครดวยวิธีที่ราบรื่นที่สุดเทาที่จะทำได ซึ่งสามารถสรางภาพตัดตอไดหลายวิธี เชน การตัดตอแบบ jump cut ขึ้นอยูกับตำแหนงและฉาก การตัดตอ แบบ Montage ขึ้นอยูกับลำดับเหตุการณ แบบแทรกเพลงขึ้นอยูกับการเลือกเพลงที่เขากับฟุตเทจตัวละคร เพื่อใหบรรลุเปาหมาย หรือการตัดเก็บไวใ นความยาวที่เหมาะสมเพือ่ นำไปใชเ ปนภาพตัดตอตอไป เปนตน ผูใช กจ็ ะไดว ิดีโอตดั ตอทีม่ ีคณุ ภาพตามตอ งการ MATCH CUT คือ การตัดตอ วดิ โี อจากภาพ ๆ หนึ่งไปเปนอีกภาพหน่งึ ท่ีมคี วามคลายกนั ผา นการ จบั คู ซ่ึงแบง ออกไดเ ปน 3 ประเภท คือ 1) Action – Movement เนนการเชือ่ มของทิศทาง การเคลือ่ นไหว 2) Composition – Graphics เนน การเช่ือมตอ ของสี แสงตัดท้งั รปู แบบและรูปราง 3) Sound ใชเสยี งเดียวกัน แตระดบั เสียงแตกตางกนั เชน ขณะท่ีใสหฟู ง ก็จะเปนเสียงออกจากหูฟง แตหากถอดหฟู ง ก็จะเปนเสียงทเี่ ปดจากเคร่ือง แตเปนเพลงเดยี วกนั ซึ่งจะใชองคประกอบจากฉากกอนหนาในการตัดตอวิดีโอเพื่อนำไปยังฉากตอไปอยางลื่นไหล เพ่ือสรางความรูสึกเชงิ ลึกของการเช่อื มตอระหวางสองเหตุการณที่แตกตา งกนั ทัง้ เหตกุ ารณ Match cut ชวยใหสามารถดึงดูด/สงสายตาของผูชมไปสูช็อตตอไปกอนที่จะรูวามีอะไรเกิดขึ้น โดย การตัดวิดีโอขณะที่ตัวละครเคลื่อนไหว หรือทำอะไร และจบการเคลื่อนไหวนั้นในที่อื่น หรือกับตัวละครอื่น ในช็อตตอ ไป สิ่งน้สี รา งการเคล่อื นไหวทล่ี น่ื ไหลซงึ่ จะทำใหด วงตาของผูชมเคลอ่ื นไหวในทิศทางตามทตี่ องการ JUMP CUTS คือ การตัดภาพวิดีโอในเหตุการณหนึ่งใหภาพกระโดด หรือJump ขามชวงเวลาหนึ่ง โดยที่เหตุการณ หรือองคประกอบภาพ เชน ตำแหนงของตวั ละคร มุมกลอง หรือขนาดของภาพยังอยูแบบเดิม การตัดตอวิดีโอแบบนี้จะสรางความรูสึกไมตอเนื่องของภาพ ในดานเทคนิค Jump Cuts จะใชเพื่อสื่อถึงภาวะ ไมปกติภายในจติ ใจของตัวละคร หรือการยอ เวลา เพือ่ แสดงใหเ หน็ ถงึ การรอคอยที่ทกุ อยางยังอยทู ่ีเดิม แตเวลา เปลี่ยนไป นอกจากเพื่อการสื่อความหมายในเชิงภาษาภาพยนตร ยังสามาถใชเทคนิคเพื่อสรางสรรคสไตล ใหเ กดิ ความนา สนใจได J-cut and l-cut เปนการตัดตอโดยใชเสียงเปนตัวเชื่อม ซึ่ง J-cut เปนแบบเสียงมากอนภาพ สวน l-cut เปนแบบภาพมากอนเสียงแตมีเอฟเฟกตที่แตกตางกันมากกับวิธีที่ผูคนไดยินและเห็นภาพวิดีโอ แนวคิดที่นี่คือ การนำผูช มไปสูช็อตตอไปดว ยเสียง เปนเอฟเฟกตท ่ีเรียบงายแตชัดเจนซึง่ จะสรางโลกที่แตกตางเมื่อเหน็ และได ยินเสียง ผูกำกับภาพยนต Edgar Wright ก็ไดใชการตัดตอแบบนี้เพื่อทำใหภาพยนตรเต็มไปดวยความรูสึกที่ แทจริง การพูดถึงตัวละครสองตัวมันเปนเรื่องสำคัญที่จะตองมีเสียงที่ผสมผสานทั้งสองเขาดวยกัน ซึ่งสามารถ 124

หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน ใช L-cut หรือJ-cut ได แตควรตรวจสอบใหแนใจวาเสียงนั้นเขากันกับวิดีโอ สถานการณ ตัวละคร และอารมณ/ บรรยายกาศทีต่ อ งการสื่อ วิธีน้ีนับวาเปนวธิ ีทีด่ สี ำหรบั บทสนทนาและสง เสริมการกระทำทีด่ ูเปน ธรรมชาติ (A) (B) ภาพท่ี 5.12 J-cut and l-cut CUTTING ON ACTION คือ การตัดตอวิดีโอที่แสดงการเคลื่อนไหวที่ตอเนื่องกัน อาจจะมีมุมกลอง หรือขนาดของภาพที่แตกตางกันได ซึ่งเปนการตัดตอวิดีโอจากภาพหนึ่ง ไปยังอีกภาพหนึ่ง เปนเทคนิคที่สราง ความตอ เนอื่ งของเหตกุ ารณ ใหเหน็ ถึงความหลากหลาย ใหผ ชู มเขา ใจเหตกุ ารณแ ละเรอ่ื งราวตาง ๆ ได “cutting on action” ถือไดวาเปนการตัดที่สำคัญและเปนที่รูจักมากที่สุด โดยการตัดวิดีโอตรง ขณะทต่ี ัวละครทกำลังแสดงแอ็กชันบางอยาง เชน การเคลื่อนไหว หันหัว เตะ กระโดด วิ่ง และอื่น ๆ เปนวิธีหนึ่งที่ใชการจับสายตาผูชมจากภาพหนึ่งไปยังอีกภาพโดยไมรูวาเคยมีการตัดมากอนอยางราบร่ืน การตัดตอ วิดีโอแบบนท้ี ำไดเ ฉพาะในกรณที ม่ี ีการครอบคลมุ เหตกุ ารณ/สถานการณเพยี งพอรวมถึงการถายภาพ มมุ ภาพกวา ง ภาพระยะใกล และภาพปานกลาง ซง่ึ วิธนี ้ีจะชว ยใหค ุณทำงานไดมากข้ึนเม่อื ทำการตัดตอ 125

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน ภาพที่ 5.13 CUTTING ON ACTION จากที่กลาวมานั้น cross-cutting เปนวิธีที่สมบูรณแบบในการบอกเลาเรื่องราวสองเรื่องในเวลา เดียวกัน โดยปกติเรื่องเลาสองเรื่องนี้เลนกนั ในเวลาเดียวกัน ดังนั้น จะตัดทั้งสองเร่ืองออกไป เทคนิคงาย ๆ คือ เมื่อการแสดงตัวละครตัวหนึ่งกำลังทำอะไรบางอยาง จากนั้นก็ตัดตัวละครตัวอื่นในที่อื่นและกำลังทำอยางอ่ืน แลวตดั กลับไปทีต่ วั ละครตวั แรก การกำหนดเวลาและการเลาเรื่องที่สมบูรณแบบอาจเปนเรื่องที่ยาก แตก็เปนวิธีที่ดีที่จะบอกเลา เรือ่ งราวสองเรื่องพรอ มกนั จดุ ตัด คือ การสรางความใจจดใจจอและสรางขอบเขต สวน Cutaways เปนเพียงการแทรกฟลเลอรเขาไปในฉากที่ชวยใหผูชมเขาใจสภาพแวดลอมของ ตัวละคร สามารถทำไดโดยดึงจาก B-roll ตามตำแหนง Cutaways สามารถเปนทั้งภาพกวาง ภาพระยะใกล หรอื ภาพปานกลาง เพียงแคใหต องแนใ จวา ไมไ ดต ดั ชวงเวลาท่ีสำคญั ออกไป ดังนั้น นี่เปนเพียงสองคลิปที่วางติดกัน เรียกวาเปน “shot, react shot” ซึ่งเปนแคจุดสิ้นสุดของ ฉากหนึ่งและจุดเริ่มตนของอีกฉากหนึ่ง ไมมีความหมายเพิ่มเติม แตสิ่งสำคัญที่ควรทราบ คือ การตัดเชนนี้มี ประโยชน หรือจำเปนในการตัดโฆษณาเชิงพาณิชย หรือวิดีโอขององคกรเพื่อที่จะถายทอดขอมูลพื้นฐานใน รปู แบบท่ีมีโครงสรางมากโดยไมม ีการรบกวนใด ๆ เพือ่ ความปลอดภยั กค็ วรใหย ึดตามมาตรฐาน ทงั้ หมดนก้ี ็เปน ตวั อยางการ Cutting ในแบบตาง ๆ ทจี่ ะนำมาปรบั ใชกบั การตัดตอ วดิ โี อ นอกจาก จะสรางใหวิดีโอมีความนาสนใจแลว หากนักตัดตอวิดีโอสามารถประยุกตวิธีคิดตาง ๆ ในการตัดตอแตละแบบ ก็จะทำใหผลงานของคุณมีมิติ นาสนใจมากขึ้นไมวาจะเปนในดานสไตลภาพ หรือการเลาเรื่อง ซึ่งการสรางวิดีโอดี ๆ ออกมาวิดีโอนึง นักตัดตอวิดีโอถือเปนคนสำคัญ หากนักตัดตอวิดีโอสามารถนำความคิดสรางสรรคมาใช ประกอบได กจ็ ะยิ่งเพม่ิ คณุ คาของวดิ โี อของคณุ อกี ดว ย 5.5.5 เทคนคิ การเพมิ่ ความนา สนใจ 1) ชื่อคลิป คำบรรยายคลิปใครวาไมสำคัญ อันดับแรกที่สำคัญมาก ๆ คือการตั้งชื่อคลิปวิดีโอ ไมวาเราจะตัดตอวิดีโอดีมากแคไหน แตถาการตั้งชื่อไมชวนนาสนใจ หรืออานแลวไมชวนใหคนเขามาดู คลิปก็จะไมไดผลเทาที่ควร ดังนั้นควรตั้งชื่อคลิปใหสั้นและอานแลวทำใหคนสนใจที่จะอยากรูตอวาจะสื่อสาร อะไร หรือจะใชค ำพดู หรือประโยคฮิตในชว งเวลานัน้ เพ่ือใหง ายตอ การเขาถงึ มากยิ่งข้นึ 126

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน ภาพที่ 5.14 ตัวอยางช่ือคลปิ 2) หนาปกคลิปวิดีโอควรมีความนาสนใจตอที่คนจะเลือกคลิกเขามาดูก็เปนหนา ปกคลิปวิดีโอนั่นเอง หรือเราสามารถเรียกไดว า First Impression ก็วาได ควรตัดตอวดิ ีโอที่ปกคลิปมีเอกลักษณและนาสนใจ ทำให คนอยากเขาไปดูคลปิ มากยิง่ ข้นึ ภาพท่ี 5.15 ตวั อยา งหนา ปก 3) ความยาวของคลิปวิดีโอมีผล จากการสำรวจพบวาคนสวนใหญจะใหความสนใจคลิปวิดีโอเพียง 10 วินาทีสั้น ๆ เทานน้ั ถา คลปิ วดิ โี อไมน าสนใจคนกจ็ ะกดออกทันที ดงั นั้นหากวิดโี อมเี นื้อเร่อื งท่ียาวควรตัดตอ 127

หลักสูตรการพฒั นาครูดา นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน วิดีโอให 10 วินาทีแรก มีความนาสนใจเพื่อดึงดูดใหคนดูตอ แตถาหากสามารถทำคลิปใหส้ันภายใน 10 วินาที ไดก ็จะเขาถงึ คนไดงา ยมากย่ิงข้นึ ภาพท่ี 5.16 ตัวอยา งความยาววดิ ีโอ 4) ตามเทรนดอยเู สมอ ในทกุ ชวงของโลกโซเชียลมักจะมีเรอื่ งเดน เร่ืองฮอตอยูตลอดเวลา ดังน้ันควร ที่จะสำรวจวาความสนใจของคนในขณะนั้นคืออะไร แลวนำมาปรับใชใหเขากับการตัดตอวิดีโอ สรางความ แตกตาง เนื้อหาของวิดีโอเปนสิ่งสำคัญมากที่สุด เพราะหากวิดีโอสื่อสารไมชัดเจน เนื้อหาไมครอบคลุมเรื่องท่ี ตองการจะสื่อสาร การรบั ขอ มูล หรือความเขาใจของคนรบั สอ่ื ก็จะผิดเพีย้ นไป ควรสรางความแตกตางและเปน เอกลักษณใ นการตดั ตอ วิดโี อ จะทำใหค นสามารถรับรแู ละจดจำสิ่งท่ตี อ งการส่อื สารไดม ากยิง่ ขน้ึ ภาพท่ี 5.17 ตัวอยางเทรนด 128

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน เทคนิคตาง ๆ เราสามารถจะนำมาปรับใชกับการตัดตอวิดีโอเพื่อการเรียนการสอนได ซึ่งหลายคน ที่อาจจะยังไมถนัด หรืออยากไดผูที่เชี่ยวชาญมาชวยก็สามารถหาไดไมยาก เพราะตอนนี้ก็มีเว็บไซตที่รับตัดตอ วดิ โี อเปน ตัวชวยใหกับหลาย ๆ คนทีย่ ังไมม นั่ ใจวา จะสามารถทำเองได ซึ่งเว็บไซตเหลาน้กี จ็ ะมีการสำรวจตลาด และรจู กั สรา งการส่ือสารใหเ ขา ถงึ ลกู คา ถอื วา เปน ตวั ชว ยทีด่ ขี องอกี ทางหน่ึง 129

หลักสตู รการพัฒนาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน บทปฏบิ ัติการบทท่ี 5 1. สรา ง วดิ โี อแนะนำตนเองกับผเู รียน ดวย KineMaster ระยะเวลา 1-2 นาที โดยสามารถเลือกใชการตัดตอ เอฟเฟกตต า ง ๆ ตามความสนใจ 2. สรางวดิ โี อเพ่ือประกอบการสอนในรายวชิ าการของตนเอง ดว ย KineMaster จำนวน 1 ชน้ิ งาน ความยาว 5-10 นาที 130

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน บทท่ี 6 การสรางชน้ิ งานดวยโปรแกรมบนเวบ็ ไซต CANVA CANVA เปนเว็บแอปพลิเคชันเพื่อการออกแบบงานกราฟกตาง ๆ เชน งานโฆษณา โปสเตอร ภาพ สำหรับสื่อโซเชียลมีเดีย ปกหนังสือ และงานนำเสนอ เปนตน โดยสามารถผสมผสานสื่อหลายชนิด ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวิดีโอ การใชงานงาย มีแมแบบใหเลือกใชงานตามความเหมาะสม อยา งหลากหลาย และสามารถใชง านโดยการติดตั้งในคอมพวิ เตอร และสมารท โฟน หรอื แทบ็ เล็บได 6.1 การลงทะเบียนเพอ่ื ใชง าน 6.1.1 การสมคั รสมาชกิ เพ่ือขอสทิ ธใิ์ ชง านโปรแกรมบนเวบ็ ไซต https://www.canva.com ภาพท่ี 6.1 หนาเวบ็ ไซต https://www.canva.com 6.1.2 ลงทะเบยี นสมคั รสมาชกิ โดยใชอ ีเมล (email) ตามทท่ี านสะดวก เชน Google หรอื Facebook ก็ได ภาพท่ี 6.2 การลงทะเบยี นเว็บไซต https://www.canva.com 131

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน 6.1.3. จากนั้นใหลงชื่อเขาสูระบบ โดยไปทำการยืนยันการสมัครผานทางอีเมลที่ไดทำการสมัคร สมาชกิ ไว ภาพที่ 6.3 การลงทะเบียนเปนสมาชกิ https://www.canva.com สำเร็จ 6.2 การสรา งชิ้นงาน 6.2.1 เรม่ิ สรางช้นิ งาน โดยกดปุม Create a design จะปรากฏเมนูใหเลอื กดงั ภาพ ภาพท่ี 6.4 เรมิ่ สรา งชน้ิ งาน 132

หลักสตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรูแบบออนไลน 6.2.2 สามารถเรียนรดู วยตนเอง จากเมนู Learn > Tutorials จะปรากฏเมนใู หเลือกตามทีต่ องการดังภาพ 1 2 ภาพที่ 6.5 การเลอื กเมนู Learn > Tutorials 6.2.3 สามารถเลอื กแมแ บบ จากเมนู Templates จะปรากฏเมนใู หเ ลือกตามทตี่ อ งการดงั ภาพ ภาพท่ี 6.6 แมแ บบจาก Templates 133

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 6.2.4 ตัวอยางการเลือกแมแบบ จากเมนู Templates > Presentation จะปรากฏแมแบบสำหรับ สรา งไฟลน ำเสนอ ใหเ ลอื กตามท่ีตองการดังภาพ ภาพท่ี 6.7 การเลอื กแมแ บบเพอื่ การนำเสนอ 134

หลกั สตู รการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน 6.2.5 ตัวอยา งการเลือกแมแ บบ จากเมนู Templates > Video จะปรากฏแมแบบสำหรับสรางไฟล วดิ ีโอ ใหเ ลือกตามที่ตองการดังภาพ ภาพที่ 6.8 การเลอื กแมแ บบเพอ่ื สรางไฟลว ิดโี อ 6.2.6 ตัวอยางการเลือกแมแบบ จากเมนู Templates > Social Media จะปรากฏแมแบบสำหรับ สรา งไฟล Facebook, Instagram หรือYouTube เปน ตน ใหเลือกตามทตี่ อ งการดงั ภาพ ภาพที่ 6.9 การเลอื กแมแ บบเพ่อื สรา งไฟลล ง Social Media 6.2.7 ตัวอยางการเลือกแมแบบ จากเมนู Templates > Logo จะปรากฏแมแบบสำหรับสรางไฟล ตราสัญลกั ษณของสินคา และผลติ ภณั ฑ ใหเลอื กตามทตี่ องการดงั ภาพ 135

หลกั สตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรูแบบออนไลน ภาพที่ 6.10 การเลอื กแมแ บบเพ่ือสรา งตราสัญลักษณข องสนิ คา และผลิตภัณฑ 6.2.8 ตัวอยางการเลือกแมแบบ จากเมนู Templates > Education จะปรากฏแมแบบสำหรับ สรางไฟลทางการศึกษา เชน Lesson plan, Classroom, Worksheet หรือCertificate เปนตน ใหเลือก ตามท่ตี องการดงั ภาพ ภาพท่ี 6.11 การเลอื กแมแบบเพ่อื สรางสรางไฟลทางการศกึ ษา 136

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 6.2.9 ตัวอยา งแมแบบ Classroom Décor Kit templates ภาพที่ 6.12 การเลือกแมแบบ Classroom Décor Kit templates 6.2.10 ตวั อยา งแมแ บบ Certificate templates ภาพท่ี 6.13 การเลอื กแมแบบ Certificate templates 137

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 6.2.11 ตัวอยางการสรางชิ้นงาน โดยการเลือกจากแมแบบที่เราตองการโดยใหคลิกที่ปุม Customize this template ดงั ภาพ ภาพท่ี 6.14 การเลือกแมแบบทเ่ี ราตอ งการ 6.2.12 จากนั้นจะปรากฏหนาตางใหปรับแตงขอมลู ตามความตองการ โดยมีเมนูเพิ่มเติมใหปรับแตง ชิ้นงานแตละสวนที่ฝงซายมือ เชน Elements, Uploads, Photos, Text, Styles, Audio, Video และ Background เปน ตน ภาพท่ี 6.15 ปรบั แตง ขอ มูลตามความตองการ 138

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจัดการเรยี นรแู บบออนไลน 6.2.13 ตัวอยางหนาปรับแตง Elements ขอมูลตามความตองการ เชน รูปรางอิสระ รูปทรงตาง ๆ รูปภาพ ภาพถาย ภาพเคล่อื นไหว แผนภมู ิ กรอบรปู และวดิ โี อแมแบบตา ง ๆ เปน ตน ภาพที่ 6.16 ตวั ยางการปรบั แตงขอ มลู ตามความตองการ 139

หลักสูตรการพฒั นาครดู า นการจดั การเรยี นรแู บบออนไลน 6.3 การอปั โหลดขอ มูลภายนอกเพ่อื ใชงาน การอัปโหลดขอมูลตาง ๆ จากภายนอกไปไวบนเว็บไซตเพื่อใชงานได ทั้งไฟลรูปภาพ เสียง และวิดีโอ เปนตน สามารถทำไดโดย 6.3.1 เลือก “Uploads” ภาพที่ 6.17 การ Uploads 6.3.2 เลือกประเภทของสอ่ื ทีต่ อ งการอปั โหลด รปู ภาพ เสยี ง หรือวิดีโอ ภาพที่ 6.18 เลอื กประเภทของสอื่ Uploads 140

หลกั สตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 6.4 การสง ออกไฟลช นิ้ งาน 6.4.1 การสง ออกไฟลช น้ิ งานเพ่อื นำไปเผยแพรในรูปแบบ Share Link โดยการกดแชรล ิงค ใหก ดปุม Share และทำการกำหนดสิทธิ์การเขาถึงไฟลชิ้นงานของเราวาใหคนที่มีลิงค สามารถดูได แกไขได หรือใชเปน แมแ บบได ภาพที่ 4.19 การ Share Link 6.4.2 การสงออกไฟลชิ้นงานเพื่อนำไปเผยแพรในรูปแบบ Download โดยใหกดปุม และทำ การกำหนดคาไฟลชิ้นงานของเราวาตองการนำไปใชเปนไฟลนามสกุลใด ซึ่งไดทั้งไฟลรูปภาพ วิดีโอและไฟล เอกสาร เชน png, jpg, pdf, mp4 และ gif เปน ตน ภาพที่ 4.20 การ Download 141

หลกั สูตรการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน 6.4.3 การสง ออกไฟลชน้ิ งานเพื่อนำไปเผยแพรใ นรปู แบบอ่นื ๆ บนโซเซยี ลมเี ดยี โดยใหกดปมุ … จะ ปรากฏเมนใู หเลือกรูปแบบตามทเ่ี ราตอ งการเผยแพรดังภาพ ภาพที่ 4.21 การเผยแพรใ นรปู แบบอื่น ๆ บนโซเซียลมีเดีย 6.4.4 ตัวอยา งชน้ิ งานที่สรางจากโปรแกรม Canva ภาพท่ี 4.22 ตวั อยา งช้ินงาน 142

หลกั สูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน บทปฏิบัติการบทที่ 6 1. สรา ง Infographic แนะนำตนเองกบั ผูเรียน ดว ยโปรแกรม Canva 2. สรา ง Infographic เพ่ือประกอบการสอนในรายวิชาการของตนเอง ดว ยโปรแกรม Canva จำนวน 1 ชิ้นงาน 143

หลักสูตรการพัฒนาครดู า นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน บทที่ 7 การสรางการตนู แอนเิ มชันดว ย Animaker สำหรับการเรยี นการสอนในยคุ ออนไลน Animaker เปนเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการสรางการตูนแอนิเมชัน หรือกราฟกวิดีโอ สำหรับ ประกาศ โฆษณา ประชาสัมพันธ การนำเสนอ และสื่อใหความตาง ๆ แบบงาย โดยผูใชงานสามารถเลือก แมแ บบมาปรับแตง รูปรา ง และความเคล่ือนไหวไดดวยตนเอง 7.1 แนวทางความคิด และการออกแบบส่ือ การจะทำสื่อมัลติมีเดีย ไมวาจะเปนสื่อใด ๆ ก็แลวแต ลวนตองมีจุดเริ่มตนจากการออกแบบ โดยหาจุดมุงหมาย วัตถุประสงคที่ตองการนำเสนอ หรือชี้นำวา ทำเพื่ออะไร ตองการใหใครเปนกลุมเปาหมาย ตองการใหสงผลอยางไรตอผูชม วิเคราะหปจจัยที่เกี่ยวของกับเนื้อหาที่ตองการนำเสนอ การเขียนเนื้อหา การ กำหนดรปู แบบ การวางโครงสรา ง การมีความรูในเครอื่ งมอื หรือโปรแกรมท่ีจะใชง าน 7.2 การออกแบบ (Design) การออกแบบ (Design) มีขนั้ ตอนการออกแบบ ดังน้ี 7.2.1 การเขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เปนการนำวัตถุประสงคทั่วไปที่ไดกำหนดไวในขั้นการ วางแผนมาเขียนเปนรูปแบบวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมซึ่งจะบงบอกถึงสิ่งที่คาดหวังวาผูเรียนจะแสดง พฤติกรรมใด ๆ ออกมาหลังจากสิ้นสุดการเรียนรู โดยที่พฤติกรรมนั้นจะตองวัดได หรือสังเกตไดคำที่ระบุ ในวตั ถุประสงคป ระเภทนจ้ี งึ เปน คำกรยิ าท่ีชีเ้ ฉพาะ เชน อธิบาย แยกแยะ เปรยี บเทยี บ วิเคราะห เปน ตน 144

หลักสตู รการพฒั นาครูดา นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน 7.2.2 การเขียนเนื้อหา การวิเคราะหเนื้อหาในขั้นตอนการวางแผน ทำใหทราบถึงขอบเขตของ เนื้อหาบทเรียนที่ตองการนำเสนอ ในขั้นตอนนี้จะตองรวบรวมเนื้อหาจากแหลงขอมูลตาง ๆ รวมทั้งจาก ผเู ชย่ี วชาญ มาทำการเขียนเรยี บเรยี งตามหวั ขอ ท่ีวางแผนไว โดยตอ งพิจารณาใหเ หมาะสมตอ การนำเสนอดวย บทเรียนมัลติมีเดีย รูปแบบการเขียนอาจใชวิธีการเหมือนการเขียนหนังสือ หรือบทความ แตควรใชประโยคที่ สนั้ กระชบั ไดใจความ 7.2.3 การกำหนดรปู แบบ กลวิธใี นการสอน และวธิ ีการประเมินผล เปนการนำเนอ้ื หามาพิจารณาวา ตองทำการเรียนการสอนอยางไร ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน วัตถุประสงคของ บทเรียน ผูเรียน สภาพแวดลอมของหองเรียนและสื่อการสอน ดังนั้นในขั้นนี้ผูออกแบบการสอนควรตองหาคนชวยคิด เพื่อให ไดรูปแบบหลาย ๆ รูปแบบ และตองคิดวิธีการประเมินผลการเรียนรูเพื่อที่จะพิจารณาวาผูเรียนบรรลุ วัตถุประสงคท ีต่ ัง้ ไว หรอื ไม 7.2.4 การวางโครงสรางของบทเรียนและเสนทางการควบคุมบทเรียนการออกแบบโครงสรางของ บทเรียนเปนการกำหนดความสัมพันธของสวนประกอบตาง ๆ ในบทเรียนแบบคราว ๆ เชน สวนนำ สวน เนื้อหา สวนแบบฝกหัด สวนแบบทดสอบ เปนตน นอกจากนี้โครงสรางยังแสดงใหเห็นภาพรวมของลักษณะ การเขา สูแตละสวนในบทเรยี น วา มีทางใดบา ง ผเู รียนสามารถเรยี นในลกั ษณะเสนตรง หรอื ไมเ ปนเสนตรง โดย สวนใหญการวางโครงสรางบทเรียนจะพิจารณาจากขอบขายของ เนื้อหาและรูปแบบการสอนรวมทั้งลักษณะ ของผูเรียนเพอื่ การออกแบบที่เหมาะสมตอการใชงาน 7.2.5 การเขียนผังการทำงาน (Flow Chart) ของโปรแกรมผังการทำงาน หมายถึง แผนภูมิที่แสดง ความสัมพนั ธของเนื้อหาแตล ะเฟรม หรอื แตล ะสว น ตัง้ แตเริ่มจนจบของบทเรียน ในลกั ษณะที่ละเอียดมากกวา ดูจากโครงสราง รูปแบบการเขียนผังงานนิยมเขียนในรูปแบบและสัญลักษณเดียวกับการเขียนผังงาน (Flow Chart) ของโปรแกรมคอมพิวเตอร ซึ่งความละเอียดในการเขียนผังงาน ขึ้นอยูกับความซับซอนของเนื้อหาและ การทำงานของโปรแกรมบทเรียน ยิ่งผังงานละเอียดมากเทาไร ก็จะงายตอผูที่นำผังงานไปใชตอ เชน ผูที่เขียน กรอบแสดงเรือ่ งราว (Storyboard) หรือผเู ขยี นโปรแกรม 7.2.6 การรางสวนประกอบตาง ๆ ในหนาจอ (Interface Layout) เมื่อการดำเนินการมาถึง ขั้นนี้ จะทำใหเราเกิดภาพของหนาจอคราว ๆ วาบทเรียนจะประกอบดวยสวนใดบาง ในสวนนี้จะเปนสวนที่ ผูออกแบบควรรางสวนประกอบตาง ๆ ของหนาจอ ใหสามารถมองเห็นตำแหนงของ สวนประกอบตาง ๆ เพื่อใหผูทำหนาที่ผลิตแผนโครงเรื่อง (Storyboard) ในขั้นตอนตอไปไดนำไปใชเปนแนวทาง ในกรณีที่เปน ชุดบทเรียนหลาย ๆ เรื่อง นิยมทำออกมาในลักษณะโครงราง (Template) แบบตาง ๆ เพื่อใหงายตอการ ใชงาน 7.2.7 การเขียนแผนโครงเรื่อง (Storyboard) จากผังการทำงานและการรางหนาจอในขั้นที่แลว ผูพัฒนาสื่อจะนำมาขยายรายละเอียดออกเปนกรอบเรื่องราวของบทเรียนที่แสดงรายละเอียดแตละหนาจอ ตั้งแตเฟรมแรกจนถึงเฟรมสดุ ทายของบทเรียนวา จะนำเสนอขอ มูลน้ันดวยวิธกี ารแบบใด โดยแสดงภาพหนาจอ 145

หลักสตู รการพัฒนาครดู า นการจดั การเรยี นรูแบบออนไลน พรอมทั้งรายละเอียดของขอความและลักษณะของภาพและเงื่อนไขตาง ๆ ในเฟรมนั้น เชน ถานำเสนอดวย ขอความและภาพนิ่ง ก็จะบอกรายละเอียดวาขอความเขียนวาอยางไร ภาพประกอบคือภาพอะไร อยูตำแหนง ใดบางของหนาจอ หรือถานำเสนอดวยภาพเคลื่อนไหว หรือปฏิสัมพันธ จะนำเสนอวาภาพนั้นเคลื่อนไหว อยางไร จากตำแหนงไหนไปที่ใดของหนาจอ มีปฏิสัมพันธโตตอบกับผูเรียนอยางไร ถาผูเรียนคลิกเมาสแลว โปรแกรมจะตอบสนองอยางไร ซึ่งการเขียนกรองแสดงเรื่องราวอาจใชการวาด หรือเขียน หรือสรางจาก โปรแกรมคอมพิวเตอรก ็ไดขนึ้ อยูกบั ความถนดั ของผเู ขียน 7.3 พนื้ ฐานการใชงานโปรแกรม Animaker ภาพท่ี 7.1 รปู แบบ Dashboard โปรแกรม Animaker Dashboard เปรยี บเสมอื นแผนไมกระดาน หรอื กระดาษท่ีจะทำงานลงไปโดยแตล ะขนาด มเี พอื่ นำไปใชก ารโปรแกรมทแ่ี สดงผลแตกตางกนั โดยไลจ ากซา ยไปขวาดงั น้ี - Horizontal video อตั ราสวน 16:9 ใชก บั สอ่ื ท่วั ไปมาตรฐาน - Vertical video อตั ราสว น 9:16 ใชก ับ Youtube - Square video อตั ราสว น 1:1 ใชก ับ แอปพลิเคชนั ตาง ๆ - Presentation Slide ใชง านกับ Google slide - Voiceover/TTS ใชง านกบั มือถือ Android - Custom Size Video สามารถกำหนดขนาดของตัวงานเองได 146

หลักสตู รการพัฒนาครูดา นการจดั การเรียนรแู บบออนไลน 7.4 การสรางโปรเจกต (Project) ภาพที่ 7.2 แถบ My Project แถบ My Project คือ แถบที่ใชเก็บโปรเจกตงาน ที่เคยทำและบันทึกเอาไว โดยสามารถนำกลับมา ทำตอได โดยโปรแกรม Animaker จะทำการบันทกึ อัตโนมัติ 7.5 การสรา ง Dashboard กดคลกิ ท่ี Dashboard ตามขนาดที่ตอ งการ ภาพที่ 7.3 เลอื กขนาด Dashboard สามารถเลือกไดวาจะเปน Dashboard เปลา หรือจะเลือก Template ที่ทางโปรแกรมทำสำเร็จรปู ไวใหแลว ในท่นี ้ที างผูจัดทำไดเ ลือก Blank Dashboard 147

หลักสูตรการพัฒนาครูดา นการจัดการเรียนรแู บบออนไลน ภาพที่ 7.4 แสดงองคป ระกอบของ Blank Dashboard หมายเลข 1 แถบ Tool (เครอ่ื งมอื ) เปน แถบท่ีมเี ครอ่ื งมือตาง ๆ เชน Background ,Character และ Object ตาง ๆ เปน ตน หมายเลข 2 Layout เปนพนื้ ที่ ท่ีจะแสดงผล หมายเลข 3 Sence เปนฉากทจี่ ะแสดง หมายเลข 4 ปมุ Play เปนปมุ ทเี่ ลน ใชแ สดงการตูน ณ จุดของขดี ทกี่ ำหนดในTimeline หมายเลข 5 ปมุ Play Scene ใชเ ลน โดยเรมิ่ จากตน ของ Timeline ใน Scene นนั้ ๆ หมายเลข 6 Timeline เปนแถบใชแ สดงเวลา และ Object ตาง ๆ ทงั้ ปรากฏ เคล่ือนไหวและเอฟเฟกตตาง ๆ 7.6 แถบเครือ่ งมอื (Tool) แถบเคร่อื งมอื คอื แถบทใ่ี ชใ นการนำ Object (ส่ิงของ คน สถานท่ี ในฉาก) 7.6.1 Search คือ เครื่องมอื ทใ่ี ชคน หาไอเทม หรอื ส่ิงตา ง ๆ โดยการพมิ พ ภาพที่ 7.5 Search 148

หลักสตู รการพฒั นาครดู า นการจัดการเรียนรูแ บบออนไลน 7.6.2 pre built template ใชในการหาsceneสำเรจ็ รูปมาใชก ับงานของเรา ภาพที่ 7.6 pre built template 7.6.3 Character ใชในการเลอื กหา และออกแบบตัวละคร และยงั สามารถกำหนดกรยิ า ทา ทาง หรือเสยี งตา ง ๆ ลงในตวั ละครนนั้ ๆ ภาพที่ 7.7 Character 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook