Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดี

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดี

Published by แตงหวาน TV, 2021-12-13 16:32:11

Description: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดี

Search

Read the Text Version

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดี กับสถาปัตยกรรมไทย จัดทำโดย นส.ชนกนันท์ รัสมีจันทร์ ม.4/7 เลขที่4

1. ความหมาย ของวรรณคดีและสถาปติยกรรม วรรณคดี หมายถึง บทประพันธ์ ที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี มีคุณค่า ทางวรรณศิลป์ เช่น สามก๊ก รามเกียรติ์ ลิลิตตะเลงพ่าย สถาปัตยกรรม หมายถึง ศิลปะและความ รู้เกี่ยวกับการออกแบบงานก่อสร้าง ประกอบด้วยศิลปะลักษณะหรือศิลปะที่ เกี่ยวกับการก่อสร้าง

2.ความรู้อื่นๆ ควในหัวข้อที่ได้รับ วรรณคดีกับสถาปัตยกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับสถาปัตยกรรมมองเห็นได้ น้อยที่สุด เพราะสถาปัตยกรรมเป็นศิลปะที่คำนึงถึงประโยชน์ใช้สอยค่อนข้างสูง จึงไม่อาจ นำวรรณคดีไปประยุกต์ใช้ได้ ยกเว้นการสร้างสถาปัตยกรรมด้วยจุดประสงค์เฉพาะ เช่น การสร้างอาคารบ้านช่องหรือปราสาทในเทพนิยายต่างๆ ในส่วนสนุกเพื่อสร้างความ บันเทิงตื่นตาตื่นใจแก่เด็กๆ นอกจากนี้การสร้างฉากในการถ่ายทำภาพยนตร์บางเรื่อง อย่างสมจริงตามที่บรรยายไว้ในวรรณคดี หลังการถ่ายทำภาพยนตร์ อาจเก็บฉากเหล่า นั้นเป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้เข้าชม เช่น ฉากพราสาทราชวังของไทยจากภาพยนตร์ จะพบได้มากในบทชมเมือง บนชม เรื่อง The King and I ที่มาเลเซีย ซึ่งเป็นสถาน ปราสาทราชวัง และบทพรรณาบ้าน ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ กลายเป็นสถานที่ท่อง เรือนต่างๆ ผู้เสพวรรณคดีจะเห็นภาพ เที่ยวสำคัญแห่งหนึ่ง ส่วนการที่วรรณคดีนำเสนอ ทั้งสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม เรื่องสถาปัตยกรรมนั้น รวมทั้งมัณฑนศิลป์อย่างครบถ้วน ดัง เช่นบทพรรณาเมืองกุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัดสาหรี ในบทละคร เรื่อง อิเหนา

3.ความสัมพันธ์ ระหว่างวรรณคดี การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง มแลอะงทมีี่ลจึุดกซมึุ้่งงมหามกายยิ่งเพขึื้่นอสรน้าับงคแวต่าสมมัเยข้ศาใตจววรรรรษณทีค่ ด1ีใ9นมนุัมก วรรณคดีกับศิลปะแขนงอื่นๆ เป็นแนวทางหนึ่งของ การศึกษา วรรณคดี โดยใช้วิธีเปรียบเทียบ หรือศึกษาในเชิงข้ามศิลป์ ศคิิลดปและแะขนันกงวิตจ่าางรๆณใ์นด้ฐาานนศิะลทีป่เะป็ตน่างงาเนห็สนรส้าองดสครรล้คอ์ขงอกังนว่า มนุษย์ในสมัยหนึ่งๆ ย่อมมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและ กัน แม้ว่าศิลปะแต่ละแขนงแต่ละประเภทจะอาศัยวัสดุต่างกันหรือมีเทคนิคสร้างสรรค์ที่เเตกต่างกัน แต่ศิลปะก็ เป็นเครื่องสะท้อนสังคม มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง มีรูปแบบและเนื้อหาที่แสดงลักษณะร่วม และมีความ คิดที่ประทับเป็นร่องรอยไว้เช่นเดียวกับที่จะพบได้ในองค์ประกอบต่างๆ ที่รวมเรียกว่าอารยธรรมของมนุษย์ ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับศิลปะแขนงอื่นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 แบบดังนี้ 1. ความสัมพันธ์ด้านการยืมรูปแบบและเนื้อหา มุ่งเน้นไปที่การพิจารณาในเรื่องของรูปแบบและสิ่งที่ ประกอบกันเป็นรูปแบบของงานศิลปะว่า สามารถหยิบยืมหรือปรับเปลี่ยนข้ามสาขาได้ 2. ความสัมพันธ์ด้านการสร้างอิทธิพลและแรงบันดาลใจ เป็นการสืบหาที่มาและวิธีการในวรรณคดี ซึ่ง รับมาจากงานศิลปะชิ้นใดชิ้นหนึ่งหรือศิลปินคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ

4.การอนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่ - การออกกฎหมายคุ้มครอง ศิลปกรรมและโบราณวัตถุสถาน อัน เป็นมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ จึงควรมีกฎหมายคุ้มครอง - การตั้งหน่วยงานที่มีผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะสาขา เนื่องจากงานศิลปกรรม แต่ละประเภท นั้นมีความแตกต่าง กันการดูแลรักษาจึงต้องเลือกใช้วิธี การที่ถูกต้อง - การจัดทำเป็นแหล่งท่องเที่ยวและพัก ผ่อน เป็นการสร้างความสำคัญทำให้ ผู้คนใน ท้องถิ่นเห็นคุณค่าและให้ความ สำคัญที่จะอนุรักษ์โบราณสถาน - การการเผยแพร่ความรู้ สร้างความ เข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของ ศิลปกรรม แก่ประชาชนเพื่อให้เกิดความ ซาบซึ้งเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ ศิลปกรรมของชาติ