ก เอกสารประกอบการเรยี น เรอื่ ง ระบบร่างกาย สาหรับนักเรยี นระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่2 ฉบับได้จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นส่ือการเรียนประกอบการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการ จดั ระบบในร่างกายมนุษย์ โครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย มนุษย์ โดยเอกสารประกอบการเรียนฉบับน้ี ประกอบไปด้วยเนื้อหาสาระ ใบ กิจกรรม แบบทดสอบ และมีภาพประกอบท่ีชัดเจน ตรงตามเน้ือหาเอกสาร ประกอบการเรียน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 5 ระบบ ได้แก่ ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบสบื พันธ์ุ ระบบประสาท ผูจ้ ัดหวังวา่ เอกสารประกอบการเรยี น เรือ่ ง ระบบร่างกาย ฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้เรียนในการเรียนรู้ และสามารถนาผู้เรียนไปสู่จุดหมายตาม ศักยภาพเป็นผู้ท่ีมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ได้ ผ้จู ดั ทา
ข เร่ือง หนา้ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั 1 ระบบย่อยอาหาร 3 ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด 7 ระบบสืบพันธ์ุ 12 ระบบหายใจ 16 ระบบประสาท 22 ใบงาน 26 แบบทดสอบ 32 เฉลยแบบทดสอบ 33 บรรณานุกรม 36
1 มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพืน้ ฐานของสิ่งมีชีวิต การ ลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ โครงสรา้ งและหน้าที่ ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ัง นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตัวช้ีวัด ตัวชี้วัด ม.2/1 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะที่เกี่ยวข้องใน ระบบหายใจ ตวั ชีว้ ัด ม.2/2 อธบิ ายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจาลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๊ ตัวช้วี ดั ม.2/3 ตระหนักถึงความสาคญั ของระบบหายใจโดยการบอก แนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหายใจใหท้ างานเป็นปกติ ตวั ชี้วัด ม.2/4 ระบุอวยั วะและบรรยายหน้าท่ีของอวยั วะในระบบขับถา่ ย ในการกาจัดของเสยี ทางไต ตวั ชวี้ ดั ม.2/5 ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบขบั ถ่ายในการกาจัด ของเสียทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏบิ ตั ติ นท่ชี ว่ ยให้ระบบขบั ถ่ายทา หนา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างปกติ ตวั ชวี้ ดั ม.2/6 บรรยายโครงสร้างและหน้าท่ขี องหัวใจหลอดเลอื ด ตวั ชี้วัดม.2/7 อธิบายการทางานของระบบหมนุ เวียนเลือดโดยใช้ แบบจาลอง
2 ตัวชี้วัด ม.2/8 ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบ อตั ราการเต้นของหวั ใจ ขณะปกติและหลงั ทากิจกรรม ตัวชี้วัด ม.2/9 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหมุนเวียนเลือดโดย การบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวยี นเลือดให้ทางานเป็น ปกติ ตวั ชว้ี ดั ม.2/10ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าทีข่ องอวัยวะในระบบประสาท สว่ นกลางในการควบคุมการทางานต่าง ๆ ของรา่ งกาย ตวั ชี้วัด ม.2/11 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบประสาทโดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษา รวมถึงการป้องกันการกระทบกระเทือนและ อนั ตรายตอ่ สมองและไขสนั หลัง ตัวช้ีวัด ม.2/12 ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ สืบพนั ธข์ุ องเพศชายและเพศหญงิ โดยใชแ้ บบจาลอง ตัวชว้ี ัด ม.2/13 อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงท่ีควบคุม การเปล่ียนแปลงของรา่ งกาย เม่ือเข้าสูว่ ยั หนุม่ สาว ตัวชี้วัด ม.2/14 ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเม่ือเข้าสู่วัย หนุ่มสาว โดยการดูแลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงท่ีมีการ เปล่ียนแปลง
3 อาหารประเภทต่าง ๆ ที่เราบริโภคเขา้ ไปในร่างกายโดยเฉพาะอาหารท่ีให้พลงังาน ลว้นแต่มีโมเลกุลขนาดใหญ่เกินกวา้ ท่ี ร่างกายจะลา เลียงเขา้สู่เซลลส์ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ จาเป็นต้องแปรสภาพให้มี ขนาดเล็กลง การแปรสภาพของอาหาร ดังกล่าวเกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่อาศัยการ ทางานของเอนไซมย์ย่อยอาหารโดยทั่วไป เรียกว่า น้าย่อย จากนั้น โมเลกุลของ ส า ร อ า ห า ร จ ะ ถู ก ดู ด ซึ ม เ ข า้ สู่ เ ซ ล ล์ กระบวนการแปรสภาพอาหารท่ีมีโมเลกุล ใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลงเรียกว่า้ การย่อย อาหาร (Digestion) การยอ่ ยอาหาร กระบวนการที่ทาให้อาหารที่มีขนาดใหญ่มีขนาดเล็กลงจนสามารถดูด ซมึ เข้าเซลลน์ าไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ การยอ่ ยภายนอกเซลล์ มี 2วิธคี ือ 1. การย่อยแบบเชิงกล (mechanical digestion) โดยการบดเค้ยว ของฟันและการบีบรัดตัว ของท่อทางเดินอาหารเป็ นการเปลี่ยนขนาด โมเลกุลทาใหอ้ าหารมีขนาดเล็กลง 2. การย่อยแบบเชิงเคมี(chemical digestion) โดยการใช้น้าย่อย ซงึ่ นา้ ยอ่ ยหรอื เอนไซม์ (enzyme) มีคุณสมบัตดิ ังนี้
4 อาหาร ปาก คอหอย หลอดอาหาร ลาไสใ้ หญ่ ลาไสเ้ ลก็ กระเพาะอาหาร ลาไสต้ รง ทวารหนกั กากอาหาร
ช่องปาก (Mouth cavity) 5 กระบวนการยอ่ ยเรม่ิ ต้นทีช่ ่องปาก เม่อื คณุ เริม่ เคีย้ ว อาหาร ฟันทาหนา้ ท่บี ดอาหารใหเ้ ปน็ ช้ินเลก็ ตอ่ ม นา้ ลายจะผลติ นา้ ลายออกมาคลุกเคล้ากับอาหาร เพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การกลนื และเคลอ่ื นผ่านไปยังสว่ น ต่อไป นอกจากน้ี ในน้าลายยังมเี อนไซม์อะไมเลส ทาหน้าทีย่ อ่ ยอาหารจาพวกแปง้ ด้วย หลังจากทีเ่ รากลืนอาหารผา่ นลาคอลงไป อาหารจะเคล่ือนผา่ นหลอดอาหารด้วยวธิ ีที่ เรียกวา่ Peritalsis ซ่ึงเป็นการเคลอ่ื นไหว ของหลอดอาหารให้กอ้ นอาหารท่ีกลืนลงไป ตกลงสูก่ ระเพาะอาหาหาร กระเพาะอาหาร (Stomach) เมอื่ อาหารเคลอ่ื นมายังกระเพาะอาหาร กอ้ นอาหารจะ กระต้นุ ใหก้ ระเพาะอาหารเกดิ การเคลอ่ื นไหว เพือ่ เป็น การคลุกเคลา้ อาหารให้ทาผสมกับนา้ ยอ่ ยทห่ี ล่ังออกม จากต่อมไรท้ อ่ ซึ่งเอ้อื ตอ่ การทางานของเอนไซม์หรอื นา้ ยอ่ ย โดยอาหารจาพวกโปรตนี จะถูกย่อยท่กี ระเพาะ อาหารมากทสี่ ุดดว้ ยเอนไซมม์เพปซิน (Pepsin) ถุงนา้ ดี (Gallbladder) ทาหน้าท่เี ก็บน้าดี (Bile) ท่ีผลิตมาจาก ตบั และปลอ่ ยน้าดเี ขา้ สูท่ างเดินอาหาร ผา่ นทอ่ น้าดี เม่ือมีอาหารเคล่ือนผ่าน มายงั ลาไส้เลก็ สว่ นต้น
6 ตบั (Liver) บทบาทของตบั ในระบบทางเดินอาหารคือทาหน้าที่ ผลติ นา้ ดี เพอ่ื ชว่ ยการย่อยไขมันและวิตามนิ บางชนดิ โดยน้าดีทส่ี รา้ งจากตับจะเกบ็ ไว้ทีถ่ งุ น้าดแี ละ ลาเลยี งเข้าสู่ทางเดินอาหารบริเวณลาไสเ้ ลก็ สว่ นตน้ ตับออ่ นทาหน้าทใี่ นการผลิตนา้ ย่อยซ่ึงเปน็ ตับอ่อน (Pancreas) เอนไซมห์ ลายชนิด และมีบทบาทในการยอ่ ย อาหารจาพวกโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน น้าย่อยทีผ่ ลติ โดยดบั ออ่ นจะลาเลียงผ่านทอ่ มา ส่ทู างเดินอาหารทลี่ าไส้เลก็ ส่วนต้น ลาไสเ้ ลก็ (Small intestine) ลาไสเ้ ลก็ ทาหนา้ ทผ่ี ลติ นา้ ยอ่ ย, คลุกเคลา้ อาหารที่ ให้เข้ากับนา้ ยอ่ ยจากตับออ่ น, และดูดซึมสารอาหาร ทย่ี อ่ ยแล้ว สารอาหารทัง้ โปรตีนน คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั จะถูกยอ่ ยอยา่ งสมบรู ณภ์ ายในลาไสเ้ ลก็ แบคทเี รียบางชนิดท่อี ยใู่ นลาไสเ้ ลก็ มีบทบาทในการ ผลิตเอนไซมเ์ พือ่ ชว่ ยย่อยคาร์โบไฮเดรต ลาไสใ้ หญ่ (Large intestine) ภายในลาไส้ใหญ่ น้าและเกลอื แร่ รวมถงึ วิตามิน จะถูก ดูดซมึ เขา้ ส่รู ะบบไหลเวยี นโลหิตผ่านทางผนงั ลาไส้ และ ไม่พบกระบวนการย่อยอาหารเกดิ ขน้ึ ในลาไสใ่ หญ่ กาก อาหารตา่ งๆ ทเี่ หลือจากการยอ่ ยจะถูกขบั ออกจาก รา่ งกายทางทวารหนกั (Anus)
7 วิลเลย่ี ม ฮารว์ ีย์(William Harvey) นักวิทยาศาสตรช์ าวองกั ฤษ เป็นผูค้ น้ พบ ระบบการหมนุ เวยี นเลอื ดของคน วา่ ้ มีระบบ ปดิ คอื มกี ารไหลของเลือดภายในหลอด เลอื ดเปน็ ทศิ ทางเดยี วกัน ซ่ึงระบบจะทา หนา้ ทลี่ า เลียงสารอาหารตา่ ง ๆ ไปยัง เซลล์และกา จดขั องเสยี ทเ่ี ซลล์ ไม้ ่ตอ้ง การออกจากรา่ งกาย หวั ใจ (Heart) เส้นเลอื ด (Blood vessels) เลือด (Blood)
8 อยู่ระหว่างปอดท้ัง 2 ข้าง ค่อนไปทางซ้าย เล็กน้อย ประกอบด้วยกล้ามเน้ือพิเศษที่เยกว่า กล้ามเน้ือหัวใจ แบ่งออกเป็นห้องบน 2 ห้อง เรียกว่า Atrium (เอเตรียม) และห้องล้างซ้าย เรยี นกวา่ Ventricle (เวนตริเคลิ ) หวั ใจหอ้ งบนมีขนาดเลก็ กว่าห้องลา่ ง และระหว่างหวั ใจห้องบนกับหอ้ งล่างจะ มลี นิ้ หวั ใจที่กน้ั อยเู่ พือ่ ไมใ่ ห้เลือดไหลย้อนกลับ ได้แก่ ล้นิ ไตรคสั พดิ (Tricuspid Valve) อยรู่ ะหวา่ งห้องบนขวากบั ลา่ งขวา และล้นิ ไบคสั ปดิ (Bicuspid Valve) ล้ินระหว่างห้องหัวใจเป็นลิ้นปิด-เปิดทาง เดยี ว เม่ือเลือดไหลมาจะมีแรงดันใบล้ินทาให้ ลิ้นเปิดออก และปิดกลับอย่างรวดเร็วเพ่ือ ป้องกันมิให้เลือดไหลย้อนกลับ การปิด กระแทกของล้ินจะทาให้เกิด “เสียงเต้นของ หัวใจ” (heart beat)
9 การหมนุ เวียนของเลือดจากหวั ใจไปและกลับจากสว่ นตา่ ง ๆ ของ ร่างกายนัน้ ต้อง อาศัยหลอดเลอื ด ซึ่งมีอยู่ ท่ัวร่างกาย หลอดเลือด ในร่างกายคนเราแบง่ ออกเปน็ 3 ชนิด คอื 1.หลอดเลือดอาร์เทอรี ( Arteries) เป็นหลอดเลือดท่ีนาเลือดออกจากหัวใจ ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดท่ีอยู่ ในหลอดเลือดนเ้ี ป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊ส ออกซิเจนมาก ยกเว้นเลือดที่ส่งไปยัง ป อ ด ซึ่ งเ ป็ น เ ลื อ ด ที่ มี ป ริ ม า ณ แ ก๊ ส คารบ์ อนไดออกไซด์มาก หลอดเลือดอาร์ เ ท อ รี มี ผ นั ง ห นา ไม่ มี ลิ้ น ก้ั น มี ค ว า ม แข็งแรง เพอื่ ให้มีความทนทานต่อแรงดัน เลือดทถี่ ูกฉีดออกจากหวั ใจ 2.หลอดเลอื ดเวน ( Vein ) เป็นหลอด เลือดท่ีนาเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายเข้าสู่หัวใจ เลือดที่อยู่ในหลอด เ ลื อ ด น้ี เ ป็ น เ ลื อ ด ท่ี มี ป ริ ม า ณ แ ก๊ ส คาร์บอนไดออกไซด์สูง ยกเว้นเลือดท่ี นาจากปอดมายังหัวใจ จะเป็นเลือดท่ีมี ปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง ภายใน หลอดเลือดนี้จะมีล้ินป้องกันไม่ให้เลือด ไหลย้อนกลับ 3.หลอดเลือดฝอย ( Capillaries ) เป็นหลอด เ ลื อ ด ท่ี มี ข น า ด เ ล็ ก ล ะ เ อี ย ด เ ป็ น ฝ อ ย ติ ด ต่ อ อ ยู่ ระหว่างแขนงเล็ก ๆ ของหลอดเลือดอาร์เทอรีและ หลอดเลือดเวน หลอดเลือดฝอยมีผนังบางมาก เป็นบริเวณท่ีมีการแลกเปล่ียนสารอาหาร แก๊ส และส่ิงตา่ ง ๆ ระหว่างเลือดกับเซลลข์ องร่างกาย
10 1 . ส่ ว น ท่ี เ ป็ น ข อ ง เ ห ล ว 3.เลอื ด ( Blood ) ซึ่งเรียกว่า น้าเลือด หรือ พลาสมา ( Plasma ) มี 2.สว่ นที่เปน็ ของแข็ง ไดแ้ ก่ อ ยู่ปร ะมาณร้อ ยล ะ 5 5 เซลล์เม็ดเลอื ด และเกลด็ เลือด ข อ ง ป ริ ม า ณ เ ลื อ ด ที่ ไ ห ล ซึ่งมอี ย่ปู ระมาณร้อยละ 45 อยู่ในร่างกาย ของปริมาณเลือดทงั้ หมด 1)เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง ( Red Blood Cell ) 2)เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว ( White Blood มีรูปร่างค่อนข้างกลมแบน ตรงกลางบุ๋มเข้า cell ) มรี ปู รา่ งกลม ขนาดใหญก่ ว่าเซลล์ ห า กั น เ ม่ื อ โ ต เ ต็ ม ที่ ไ ม่ มี นิ ว เ ค ลี ย ส เม็ดเลือดแดง ไม่มีนิวเคลยี ส ทาหน้าที่ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น ส า ร ป ร ะ เ ภ ท ต่อต้านและทาลาย เชือ้ โรคหรอื สงิ่ โปรตีนท่ีเรียกว่า ฮีโมโกลบิน ซึ่งมีเหล็กเป็น แปลกปลอม ทเี่ ข้าสูร่ า่ งกาย แหล่งที่ องค์ประกอบที่สาคัญ ฮีโมโกลบิน แดงมี สร้างเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวไดแ้ ก่ มา้ ม ไข หน้าที่ลาเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์ กระดูก และตอ่ มน้าเหลอื ง เซลลเ์ ม็ด ต่า ง ๆ ทั่ วร่ า งก า ย แล ะ ลา เลี ยงแ ก๊ ส เลอื ดขาวมอี ายุประมาณ 7-14 วัน กจ็ ะถกู คาร์บอนไดออกไซด์กลับไปสู่ปอดเพื่อทา ทาลาย การแลกเปล่ียนแก๊ส เซลล์เม็ดเลือดแดง สร้างที่ไขกระดูก และเซลล์เม็ดเลือดแดงมี เกลด็ เลอื ด ( Blood Platelet ) เปน็ อายุประมาณ 110-120 วัน หลังจากน้ัน ส่วนประกอบของเลอื ดทไ่ี ม่ใช่เซลล์ มีขนาด จะถกู สง่ ไปทาลายท่ีตบั และมา้ ม เลก็ มาก ไม่มสี ี ไม่มีนวิ เคลียส ทาหน้าท่ี ช่วยทาใหเ้ ลือดแข็งตวั เม่อื เลือดออกสู้ ภายนอกรา่ งกาย และช่วยห้ามเลอื ดใน กรณีทเ่ี กดิ บาดแผล แหล่งที่สร้างเกล็ด เลอื ดไดแ้ ก่ ไขกระดูก เกลด็ เลอื ดมีอายุ 4 วันเทา่ นน้ั กจ็ ะถูกทาลาย
11 การหมนุ เวยี นเลอื ดไปยงั สว่ นตา่ งของรา่ งกาย 1.เลอื ดจากสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายซ่ึงเป็นเลือดท่มี ีปริมาณแกส๊ ออกซเิ จนตา่ จะไหลกลบั เข้าสหู่ วั ใจหอ้ งบนขวา (Right Atrium ) 2.เม่อื หวั ใจบบี ตวั เลือดจะไหลจากหัวใจห้องบนขวาผา่ นลน้ิ หัวใจลงสูห่ ัวใจหอ้ งลา่ งขวา ( Right Ventricle ) 3.เมอื่ หัวใจหอ้ งลา่ งขวาบีบตัว เลอื ดจะไหลเข้าส่หู ลอดเลือดไปยงั ปอด เม่อื มีการแลกเปลยี่ นแก๊สระหว่างแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สออกซิเจน เลอื ดทม่ี ีปริมาณแก๊สออกซเิ จนสูงจะไหลกลบั เขา้ สู่หัวใจหอ้ งบนซา้ ย ( Left Atrium ) 4.เมอ่ื หัวใจหอ้ งบนซา้ ยบบี ตวั เลอื ดจะไหลผ่านลิ้นหวั ใจลงสู่หวั ใจห้องลา่ ง ซ้าย(Left Ventricle ) 5.เมอ่ื หวั ใจห้องลา่ งซ้ายบบี ตวั เลอื ดจะไหลเขา้ สหู่ ลอดเลือดไปเลี้ยงสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย และเม่ือเลือดมีปริมาณแก๊สออกซิเจนตา่ ก็จะไหลกลบั เขา้ สู่หัวใจ หอ้ งบนชวาเปน็ เชน่ น้ีเรอ่ื ย ๆ ไป
ระบบสบื พนั ธุ์ 12 ระบบสบื พนั ธุ์คอื กระบวนการผลิตสง่ิ มีชวี ติ เพอ่ื ดารงเผา่ พนั ธ์ุ หมายถึง การผลิตส่งิ มชี วี ติ ชนดิ เดียวกัน เพ่ือให้ส่งิ มีชวี ิตน้นั ๆ ดารง เผ่าพันธุ์ตอ่ ไป มี 2 แบบ คอื การสบื พันธุ์แบบไมอ่ าศัยเพศ คือ การ สืบพนั ธ์ทุ ีไ่ มม่ ีการผสมกนั ระหว่างเซลล์ สืบพนั ธุเ์ พศผกู้ ับเพศเมยี การสืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ คือ การ สืบพนั ธุท์ ีม่ กี ารผสมกนั ระหว่างเซลล์ สืบพนั ธุเ์ พศผู้กับเพศเมยี การสบื พนั ธ์ุของคนเปน็ การสืบพันธแุ์ บบอาศัยเพศโดย วิธกี ารปฏสิ นธิภายใน เม่ือชายและหญิงยา่ งเขา้ สูว่ ัยรนุ่ ตอ่ ม ใตส้ มองจะหลงั่ ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมเพศ (ชายคอื อัณฑะ หญงิ คอื รงั ไข่) ให้ผลติ ฮอร์โมนเพศและผลติ เซลลส์ บื พันธ์ุ
3. หลอดนาตวั อสจุ ิ 13 อยู่ตอ่ จากหลอดเกบ็ อสุจิ ทาหนา้ ท่ีลาเลียง อสจุ ไิ ปเกบ็ ไว้ทตี่ ่อมสร้างนา้ เลี้ยงอสจุ ิ 4. ต่อมสรา้ งนา้ เลย้ี งอสจุ ิ(seminal vesicle) อยตู่ อ่ จากหลอดนาตัวอสุจิ ทาหน้าทีส่ รา้ ง อาหารให้แกต่ ัวอสจุ ิ สว่ นมากเปน็ นา้ ตาลฟรัก โตส และสารประกอบอน่ื ๆท่ีทาใหเ้ กดิ สภาพที่ เหมาะกับตัวอสุจิ 5. ต่อมลกู หมาก(prostate gland) อย่บู รเิ วณตอนตน้ ของท่อปสั สาวะ ทา หนา้ ทหี่ ลัง่ สารบางชนิดทเ่ี ป็นเบสอยา่ งอ่อน เขา้ ไปในทอ่ ปัสสาวะปนกับนา้ เล้ียงอสุจิ และ สารทที่ าให้ตวั อสุจิแข็งแรงและวอ่ งไว 6. ตอ่ มคาวเปอร(์ cowper gland) ลเพ่นื ศทมอ่ หี ปนัส้าสทาี่หวละใัง่ นสขาณรขะอเกงิดเหกลารวใกสรๆะไตป้นุ หทลา่อง 7. อวยั วะเพศชาย(pennis) เปน็ กลา้ มเนื้อทีห่ ด และพองตวั ไดค้ ลา้ ยฟองนา้ ในวลาปกติจะออ่ น และงอตัวอยู่ แต่เม่อื ถูกกระตนุ้ จะเเขง็ ตัวเพราะ มีเลือดมาคง่ั มาก ภายในจะมที อ่ ปสั สาวะทา หน้าทเี่ ปน็ ทางผา่ นของตวั อสุจแิ ละนา้ ปสั สาวะ
14 ระบบสืบพนั ธุเ์ พศหญงิ ระบบสืบพนั ธุ์เพศหญิง ประกอบด้วยอวยั วะต่างๆ ดังน้ี รังไข่ ทาหนา้ ทผ่ี ลิตไขแ่ ละฮอรโ์ มนเพศหญิง ซ่ึงจะ กาหนดลักษณะต่างๆในเพศหญงิ เชน่ ตะโพก ผาย เสยี งแหลม สาหรับรังไขจ่ ะมี 2 อนั ซึง่ จะอย่คู นละขา้ งของมดลูกจะมลี กั ษณะคลา้ ย เมด็ มะม่วงหิมพานตย์ าวประมาณ 2 - 3 เซนตเิ มตร หนา 1 เซนติเมตร ท่อนาไข่ เรยี กอีกช่ือหนง่ึ ว่า ปีกมดลูก เป็นทางเช่อื มต่อ ระหว่างรังไข่ทง้ั สองข้างกบั มดลกู ทาหน้าท่ีเปน็ ทางผา่ นของไข่ท่ีออกจากรังไข่เข้าสูม่ ดลูกและ เปน็ บรเิ วณท่ีอสุจิจะเข้าปฏิสนธิกบั ไข่ ทอ่ นาไข่ มเี ส้นผา่ นศูนย์กลางประมาณ 2 มลิ ลิเมตร และยาวประมาณ 6 - 7 เซนตเิ มตร
15 มดลกู มรี ูปร่างคลา้ ยผลชมพู่หวั กลับลง กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 6 - 8 เซนตเิ มตร หนา ประมาณ 2 เซนตเิ มตร อยู่ในบรเิ วณอุง้ กระดูกเชิง กรานระหวา่ งกระเพาะปสั สาวะกบั ทวารหนัก ทา หน้าที่เปน็ ทฝ่ี งั ตวั ของไข่ทไี่ ดร้ บั การผสมแลว้ และเป็น ที่เจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์ ช่องคลอด อยู่ตอ่ จากมดลกู ลงมา ทาหนา้ ท่เี ป็น ทางผา่ นของตัวอสจุ เิ ข้าส่มู ดลกู และเป็น ทางออกของทารกเมอ่ื ครบกาหนดคลอด เม่ือไขต่ ก รา่ งกายจะผลติ ฮอร์โมนเพื่อเตรียมเยือ่ บุโพรง มดลกู สาหรบั การฝงั ตัวของไข่ทีไ่ ด้รับการปฏสิ นธิ แต่เมอื่ ไมม่ ีการ ปฏสิ นธิ เยือ่ บโุ พรงมดลกู และหลอดเลอื ดกจ็ ะสลาย กลายเปน็ ประจาเดอื น เพศหญิงจะมปี ระจาเดอื นตัง้ แต่อายุ 12 ปี รอบเดือน ประมาณ 28 วัน เมื่ออายุ 50 ปีก็หมดประจาเดือน
ระบบหายใจ 16 (Respiration) เปน็ การแลกเปลย่ี นกา๊ ชคารบ์ อนไดออกไซด์ ที่รา่ งกายของเราไม่ต้องการ กับกา๊ ชออกซิเจนท่อี ย่นู อกร่างกายของเรา ซ่งึ มีความสาคญั และจาเปน็ ตอ่ เรามาก ระบบหายใจประกอบดว้ ยจมกู หลอดลม ปอด ถงุ ลม กะบังลมและ ซ่ีโครง การหายใจแบ่งเปน็ 2แบบ 1. การหายใจแบบตอง้ อาศยั ออกซเิ จน เป็นการสลายโมเลกลุ อาหารอย่าง สมบูรณ์ ได้พลังงานเตม็ ท่ี ผลทไี่ ดค้ ือ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์และนา้ 2. หายใจแบบไมใ่ ช้ออกซิเจน เป็นการ สลายโมเลกุลอาหารอย่างไมส่ มบูรณ์ได้ พลังงานออกมาเพยี ง 1 ใน 9 ของการ หายใจแบบใชอ้อกซเิ จน สารอาหาร + ออกซเิ จน คารบ์ อนไดออกไซด์ + นา้ + พลังงาน
กลไกลการหายใจของมนษุ ย์ 17 1.) การหายใจเข้า (Inspiration) กะบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทาให้ปริมาตร ของช่องอกเพิ่มข้ึน ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่าลงกว่า อากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไป ยงั ถงุ ลมปอด 2.) การหายใจออก (Expiration) กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซ่ีโครงจะเล่ือนต่าลง ทาให้ปริมาตรของ ช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศ ภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคล่ือนท่ีจากถุงลมปอดไปสู่ หลอดลมและออกทางจมกู
อวัยวะทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบหายใจ 18 ช่องจมกู (Nasal cavity) ชว่ ยในการกรองอากาศ มเี มอื กเหนยี ว ๆ ทาหนา้ ที่ดักจบั ฝนุ่ ละอองและจลุ นิ ทรีย์ มีขนเล็ก ๆ หรอื ซเี ลีย (Cilia) อยบู่ นเซลลท์ ช่ี ่วยในการพดั พา เมอื กข้ึนมาทีจ่ มกู และคอหอย คอหอย (Pharynx) คอหอยส่วนจมูก เป็นทางผา่ นของ อากาศอยา่ งเดียว คอหอยส่วนปาก เป็นทางผา่ นของอาหาร และอากาศ คอหอยส่วนกลอ่ งเสยี ง เป็น ทางผา่ นของอากาศอย่างเดียว คอหอย (Pharynx)
19 กล่องเสยี ง (Larynx) และฝาปดิ กล่องเสยี ง (Epiglottis) ประกอบดว้ ยอวัยวะท่เี ป็นกระดูกออ่ นมี ลักษณะเป็นสันนนู ออกมาตรงแนวกลาง เรียกว่า ลูกกระเดือก และจะมีเส้นเสยี ง (Vocal cords) เป็นแหลง่ กาเนดิ เสียงและ เปน็ ทางผา่ นของอากาศ กล่องเสยี ง (Larynx) ฝาปิดกลอ่ งเสียง (Epiglottis) ซง่ึ ทาหนา้ ท่ี เปดิ ปดิ กลอ่ งเสยี ง เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หอ้ าหารเข้าไปใน กลอ่ งเสยี งและหลอดลม เปน็ หลอดกลมๆประกอบด้วย กระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือ รูปตัว U เพื่อปอ้ งกนั ไม่ใหห้ ลอดลมแฟบ ไดง้ ่าย และทาใหอ้ ากาศผ่านเข้า ออกไดส้ ะดวก
ขั้วปอด (Bronchus) 20 เป็นสว่ นท่ีต่อจากหลอดลมโดย จะแยกเป็น 2 ขา้ งแลว้ แตก แขนงย่อยออกไปยังปอด เรียกว่า แขนงขั้วปอด ขวั้ ปอดข้างขวาจะลาดกว่า ดงั นน้ั เวลาสาลกั สง่ิ แปลกปลอมจะทาให้ สง่ิ แปลกปลอม มีโอกาสตกลง ทางดา้ นขวาได้ ขั้วปอด (Bronchus) ปอดมี 2 ข้างมีลักษณะคล้ายฟองน้าลอยน้าได้ ปอด ลอ้ มรอบด้วยเยื่อหุ้มปอด ซึ่งสร้างของเหลวลื่นๆ (Lungs) เพือ่ ช่วยปอ้ งกันการเสยี ดสรี ะหวา่ งปอดกบั ซี่โครง ในระหว่างการหายใจ ในเด็กมสี ชี มพู ในผู้ใหญ่อาจจะมีสีคล้า และมีจุดดาเป็นหย่อมท่ีเกิดการสะสม ของฝุ่นละออง เช่น จาก ควันบุหร่ี หรอื ทอ่ ไอเสยี รถยนตเ์ ป็นตน้ เป็นอวัยวะที่ทาหน้าที่ในการแลกเปล่ียนก๊าซ โดยนาก๊าซ CO2 ออก จากเลือด และนาออกซเิ จนเขา้ สเู่ ลือด
ถุงลม 21 (Alveolus) มีลกั ษณะเป็นถงุ ขนาดเลก็ นบั ลา้ น ๆ ถงุ โดยมีร่างแหเส้น เลือดฝอยลอ้ มรอบแต่ละถุงไว้ และผนงั ของถงุ ลมมีความบาง และช่มุ ช้นื เกิดการแลกเปล่ียนก๊าซโดย กระบวนการแพร่ โดยแพร่ จ า ก ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ม า ก ไ ป ห า ความเข้มข้นน้อย กระบวนการทางานของระบบการหายใจ การแลกเปลยี่ นแกส๊ ทถ่ี งุ ลม อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซ่ึงมีลักษณะ กลมคล้ายลูกองุ่น ซ่ึงปอดต่ละข้างจะมีถุงลมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ะถุงมี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือด ฝอยมาห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้า ผ่านเข้าออกถุงลมโดยผ่านเย่ือบางๆของถุงลม เลอื ดจากหัวใจมาสู่ปอด เปน็ เลอื ดที่มี ออกซเิ จนต่า คาร์บอนไดออกไซด์สงู เม่ือมาสถู่ ุงลมจะมกี ารแลกเปลย่ี นแก๊ส โดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เขา้ สู่เสน้ เลือด ขณะเดียวกนั คาร์บอนไดออกไซด์ ในเสน้ เลือดจะแพรเ่ ข้าสถู่ ุงลม แล้วขับ ออกทางลมหายใจออก
22 ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาท (Nervous System) ทาหนา้ ที่ ควบคุม การทางานของ ทุกระบบ ทางานได้อย่างรวดเรว็ รว่ มกบั ระบบตอ่ ม ไร้ท่อ นอกจากนี้ยงั ทา หน้าท่รี ับและตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ภายนอก โดยระบบประสาทของมนษุ ย์ แบ่งเป็น 2 สว่ น 1.ระบบประสาทสว่ นกลาง (Central Nervous System : CNS ) เป็นร ะบบประสา ท ท่ีท า ห น้า ที่ เ ป็น ศูนย์กลางหรือควบคุมการทางานของ ระบบอื่นๆของร่างกาย เช่น ควบคุม การเคลื่อนไหวของกล้ามเน้ือลายและ กระดูกเพ่ือให้สามารถปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ ม 2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System : PNS ) ประกอบดว้ ย 2.1 เสน้ ประสาทสมอง (cranial nerve) 12 คู่ - สมองทกุ สว่ นจะมีเสน้ ประสาทสมองแยกออกมาเปน็ คูๆ่ เพอ่ื รบั สัญญาณความรสู้ กึ และออกคาส่ังควบคมุ หนว่ ยปฏบิ ัตงิ านให้ ตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้า 2.2เส้นประสาทไขสันหลงั (spinal nerve) - เปน็ เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสนั หลัง 31 คู่ เพื่อทา หนา้ ที่รับความรู้สึกและสั่งการไปยงั หนว่ ยปฏบิ ัตงิ าน (effectors) เชน่ กลา้ มเน้อื หรือตอ่ มตา่ งๆ
23 ระบบประสาทของมนษุ ย์ประกอบดว้ ย สมอง ไขสนั หลงั และเสน้ ประสาท สมองและไขสันหลัง ประกอบด้วยเซลล์ ประสาท หรือ นิวรอน (Neuron) อยู่ มากมายแต่ละเซลล์ ประกอบด้วย 2 ส่วน คอื 1. ตัวเซลล์ (Cell body) มีนิวเคลียส ขนาดใหญ่อยใ้ นไซโทพลาซึม 2. เส้นใยประสาท (Nerve fiber) คือส่วนของไซโทพลาซึมที่แตกแขนงย่ืน ออกไปจากตวัเซลลแ์ บ่งออกเปน็ ● เดนไดรต์ (Dendrite) ทาหน้าที่นาสญั ญาณประสาทเขาส้ ตู่ วเั ซลล์ ● แอกซอน (Axon) ทาหน้าที่นาสญั ญาณประสาทออกจากตวั เซลล์
24 สมอง ( brain ) 1. สมองสว่ นหนา้ 1.1 ซรี บี รมั (Cerebrum) มขี นาดใหญส่ ดุ รอยหยักมาก ทาหนา้ ทเี่ กี่ยวกับ การเรียนรู้ ควบคุมการเคลอ่ื นไหว ความรู้สึก และประสาทสมั ผัส 1.2 ทาลามัส (Thalamus) เปน็ ตวั กลางถา่ ยทอดกระแสประสาทในสมอง 1.3 ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ทาหน้าทีค่ วบคมุ สมดุลรา่ งกายและ การทางานของระบบประสาทอตั โนมัติ เช่น ควบคมุ อณุ หภูมิของร่างกาย การ หายใจ การหลบั การเตน้ ของหวั ใจ เป็นต้น 2.สมองสว่ นกลาง มเี ซลล์เชื่อมระหวา่ งสมองส่วนหนา้ กบั สว่ นท้าย และสว่ นหนา้ กบั ตา ทาใหล้ ูกตากลอกไปมา และมา่ นตาหดขยายได้ 3.สมองสว่ นทา้ ย 3.1 ซีรีเบลลมั (Cerebellum) อยูใ่ ต้ซีรบี รมั ควบคมุ ระบบกล้ามเนอ้ื และ การทรงตวั 3.2 พอนส์ (Pons) อยดู่ า้ นหน้าของซีรเี บลลัม มใี ยประสาทเช่ือมระหว่าง ซีรบี รัมและซรี เี บลลัม ชว่ ยให้รา่ งกายเคลอ่ื นไหวพร้อมกบั ทรงตัวได้ 3.3 เมดลั ลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เป็นศูนย์กลางการ ควบคุมการทางานเหนอื อานาจจติ ใจ สมองสว่ นกลาง พอนส์ และเมดลั ลา ออบลองกาตา รวมกันเรียกวา่ \"กา้ นสมอง (brain stem)\"
25 ไขสันหลงั (spinal cord) ทาหน้าท่ีเช่อื มกระแสประสาทจาก หนว่ ยรบั ความรู้สึกทัว่ รา่ งกายกบั สมอง เซลลป์ ระสาท (neuron) เป็นกลุม่ ของใยประสาทหลายอันที่มารวมกัน ใยประสาทรบั ความรูส้ ีก เรียกว่า เดนไดรท์ (dendrite) ส่วนใยประสาทท่ีส่งความรู้สึกเรียกวา่ แอกซอน (axon) เซลลป์ ระสาทมี 3 สว่ น ไดแ้ ก่ 1.เซลลป์ ระสาทรับความรู้สึก รบั กระแส ประสาทจากอวยั วะรับสัมผสั เขา้ สูส่ มองและ ไขสันหลัง 2.เซลลป์ ระสาทนาคาสงั่ เชื่อมเซลล์ ประสาทรับความรู้สึกกับสมอง ไขสนั หลัง และเซลลป์ ระสาทส่งั การ 3.เซลล์ประสาทสั่งการ รับคาสง่ั จากสมอง หรอื ไขสันหลงั ใหค้ วบคมุ การทางานของ อวยั วะต่างๆ
26 ใบงานที่ 1 การจัดระบบในรา่ งกาย คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นพจิ ารณาภาพรา่ งกายมนษุ ย์ แลว้ ตอบคาถามใหถ้ กู ตอ้ ง 1. นักเรยี นสามารถจาแนกระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกายไดเ้ ป็นกีร่ ะบบ อะไรบา้ ง 2. ใหน้ ักเรยี นเลอื กระบบในรา่ งกายมา 1 ระบบ แลว้ แยกอวัยวะตา่ ง ๆ ในระบบนนั้ วา่ มอี วยั วะใดบ้าง 3. ให้นักเรยี นเลือกอวยั วะมา 1 อวยั วะ แล้วแยกส่วนประกอบภายในอวัยวะนนั้ ๆ 4. ส่วนประกอบของอวัยวะแต่ละส่วนนั้นมี หน่วยทเ่ี ลก็ ทสี่ ดุ เปน็ ส่วนประกอบ เรยี กวา่ อะไร
28 ใบงานที่ 2 ระบบยอ่ ยอาหาร คาชแี้ จง จงเตมิ คาหรอื ข้อความลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง 1………………………. 4..………………………. 2..………………………. 5..………………………. 3………………………. 6…………………..……. 4..………………………. 7..………………………. หมายเลข 1-7 คือส่วนประกอบของทางเดนิ อาหารมีลาดบั ดังน้ี 1......................................................................................................................................... 2......................................................................................................................................... 3......................................................................................................................................... 4......................................................................................................................................... 5......................................................................................................................................... 6......................................................................................................................................... 7.........................................................................................................................................
27 ใบงานที่ 3 ระบบไหลเวยี นโลหติ คาช้แี จง จากรปู ภาพทก่ี าหนดใหจ้ งเขยี นลกู ศรแสดงโครงสรา้ งของหวั ใจให้ ถูกต้องพรอ้ มทงั้ อธิบายกลไกการทางานของระบบไหลเวยี นโลหติ
29 ใบงานท่ี 4 ระบบสบื พนั ธ์ุ คาชี้แจง ให้นกั เรยี นตอบคาถามจากรปู ภาพทกี่ าหนดใหต้ อ่ ไปน้ี 1. จากรูปอวยั วะทเี่ ก่ียวข้องกับการสบื พันธข์ุ องเพศชายมอี ะไรบ้าง .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 2. จากรูปอวยั วะท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การสืบพนั ธุ์ของเพศหญิงมีอะไรบ้าง .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 3. เพศหญิงจะเริ่มมปี ระจาเดอื นเมอื่ อายเุ ทา่ ใด .................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. เพศชายจะผลิตเซลล์สบื พนั ธุ์เพศชายเมอื่ อายเุ ทา่ ใด .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................
ใบงานที่ 5 31 ระบบหายใจ คาชแี้ จง จงเขยี นเครอื่ งหมาย / หน้าขอ้ ความทถี่ กู และเขยี นเครอ่ื งหมาย x หนา้ ขอ้ ความทผ่ี ดิ ......... 1. กระบวนการหายใจเกดิ ข้ึนกับทุกเซลล์และเกดิ ตลอดเวลา ......... 2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทาปฏิกริ ิยากบั สารอาหาร เกดิ พลังงาน น้า และแกส๊ ออกซิเจน ......... 3. อัตราเร็วของการหายใจขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของแกส๊ ออกซเิ จนในเลือด ......... 4. การแลกเปล่ยี นแก๊สออกซิเจนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ เกิดขน้ึ ทถ่ี งุ ลมภายในปอด ......... 5. เม่ือเปา่ ลมหายใจลงในนา้ ปูนใส น้าปนู ใสขนุ่ แสดงวา่ ลมหายใจ ออกมีแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ......... 6. การหมุนเวียนของแก๊สจะเกิดควบคไู่ ปกับการหมุนเวียนของ เลอื ด ......... 7. พลงั งานที่ร่างกายนามาใช้ในการทากิจกรรมต่างๆ ไดม้ าจาก กระบวนการหายใจ ......... 8. อวยั วะที่ชว่ ยในการหายใจ คือ กระดูกซโี่ ครงและกลา้ มเนอ้ื ......... 9. แก๊สทีส่ าคญั ซ่ึงเกย่ี วข้องกบั การดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ คอื แก๊ส ออกซเิ จน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ......... 10. ปรมิ าณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดใ์ นเลอื ดสงู จะทาให้มกี าร
ใบงานที่ 6 30 ระบบประสาท คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นอธบิ ายสว่ นประกอบและหนา้ ทข่ี องระบบประสาท ชือ่ ……………………… ชือ่ ……………………… หนา้ ท…ี่ ……………… หน้าท…ี่ ……………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ช่อื …………………… ช่อื ……………………… ช่อื ……………………… หนา้ ท…ี่ …………… หน้าท…ี่ ……………… หนา้ ท…่ี ……………… ………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ………………………… ………………………… …………………………… ………………………… ช่อื ………………………… ช่ือ…………………… หน้าท…่ี ………………… หน้าท…่ี …………… …………………………… ………………………… …………………………… ………………………… …………………………… ………………………… …………………………… ………………………… …………………………… ………………………… ……………………………
32 แบบทดสอบ เรอื่ ง ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย จานวน 10 ขอ้ คาชีแ้ จง เลอื กคาตอบทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว 1. ถ้าระบบหายใจมคี วามผดิ ปกติเน่ืองจากการสูบบหุ รี่จะสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบใดมากที่สดุ ก. ระบบไหลเวยี นเลือด ข. ระบบยอ่ ยอาหาร ค. ระบบประสาท ง. ระบบน้าเหลือง 2. การกาจัดของเสียทางปอดมีความสาพันธ์กับกระบวนการใดมากที่สดุ ก. กระบวนการย่อยอาหาร ข. กระบวนการแลกเปลีย่ นแกส๊ ค. กระบวนการกรองของเสียท่ีไต ง. กระบวนการสูบฉีดเลือด 3. การควบคุมระดับนา้ ตาลในเลอื ดจะตอ้ งใช้อนิ ซูลนิ ท่ีสรา้ งจากอวยั วะใด ก. ตับ ข.ตบั ออ่ น ค. ม้าม ง. ตับออ่ น 4. เมอื่ เรารับประทานอาหารเข้าสู่รา่ งกาย มรี ะบบใดบา้ งทีต่ อ้ งทางาน ประสานกันเพื่อเปลีย่ นอาหารเป็นพลังงานใหร้ ่างกายนาไปใชใ้ นการ เจริญเติบโต ก. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลอื ด ระบบหายใจ ข. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลอื ด ระบบประสาท ค. ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขับถา่ ย ง. ระบบย่อยอาหาร ระบบสบื พันธุ์ ระบบหมนุ เวียนเลือด 5. ฮอร์โมนจากต่อมใดทีห่ ลั่งมากระตนุ้ ใหก้ ลา้ มเนอ้ื มดลกู บีบตัวในช่วงคลอด ก. รังไข่ ข. มดลกู ค. ตอ่ มใต้สมอง ง. ท้งั ก, ข,ค
33 6. หัวใจมีหน้าทอ่ี ย่างไร ก. แลกเปลยี่ นแกส๊ ในเลอื ด ข. ควบคมุ การทางานของปอด ค. สูบฉีดเลือดไปสู่เซลลท์ ว่ั รา่ งกาย ง. ควบคุมการทางานของอวยั วะตา่ งๆ ทัว่ ร่างกาย 7. การเค้ยี วอาหารท่เี ปน็ ชนิ้ ใหญใ่ หม้ ขี นาดเล็กลง คือขอ้ ใด ก. การย่อยทางเคมี ข. การยอ่ ยทางกล ค. การกลนื อาหาร ง. การหายใจ 8. ขอ้ ใดคือหน้าทขี่ องเกลด็ เลือด ก. ขนสง่ แก๊สออกซิเจนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ข. ทาลายเชื้อโรคหรือสง่ิ แปลกปลอมทเี่ ขา้ สรู่ า่ งกาย ค. นาเลอื ดไปเลย้ี งส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ง. ชว่ ยให้เลอื ดแข็งตวั เวลาเกดิ บาดแผล 9. ในขณะทีค่ นเราหายใจเขา้ ขอ้ ความใดกล่าวถึงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกะบัง ลมกับกระดกู ซี่โครงไดถ้ กู ตอ้ ง ก. ทั้งกะบังลมและกระดูกซ่โี ครงเลือ่ นตา่ ลง ข. ทั้งกะบงั ลมและกระดูกซ่ีโครงเลือ่ นสงู ข้นึ ค. กะบังลมเลือ่ นตา่ ลง กระดูกซโ่ี ครงเลือ่ นสงู ขึ้น ง. กะบังลมเลื่อนสงู ขึน้ กระดกู ซี่โครงเล่ือนตา่ ลง 10. เมื่อเรารบั ประทานอาหารเข้าสรู่ ่างกาย มรี ะบบใดบา้ งทีต่ ้องทางาน ประสานกนั เพ่อื เปล่ยี นอาหารเปน็ พลงั งานให้ร่างกายนาไปใชใ้ นการ เจริญเตบิ โต ก. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบหายใจ ข. ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขบั ถา่ ย ค. ระบบย่อยอาหาร ระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบหมุนเวยี นเลือด ง. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบประสาท
34 เฉลย แบบทดสอบ เร่อื ง ระบบตา่ งๆของรา่ งกาย จานวน 10 ขอ้ คาชี้แจง เลอื กคาตอบทถ่ี กู ตอ้ งทสี่ ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว 1. ถ้าระบบหายใจมีความผดิ ปกติเนื่องจากการสบู บุหรี่จะส่งผลกระทบตอ่ ระบบใดมากท่ีสดุ ก. ระบบไหลเวยี นเลือด ข. ระบบยอ่ ยอาหาร ค. ระบบประสาท ง. ระบบน้าเหลือง 2. การกาจดั ของเสยี ทางปอดมคี วามสาพันธก์ บั กระบวนการใดมากทีส่ ดุ ก. กระบวนการย่อยอาหาร ข. กระบวนการแลกเปล่ียนแกส๊ ค. กระบวนการกรองของเสียที่ไต ง. กระบวนการสบู ฉีดเลอื ด 3. การควบคมุ ระดับน้าตาลในเลือดจะต้องใชอ้ นิ ซลู ินที่สร้างจากอวัยวะใด ก. ตบั ข.ตบั อ่อน ค. ม้าม ง. ตับอ่อน 4. เม่ือเรารับประทานอาหารเข้าสู่ร่างกาย มรี ะบบใดบา้ งที่ตอ้ งทางาน ประสานกันเพือ่ เปลี่ยนอาหารเป็นพลังงานให้ร่างกายนาไปใช้ในการ เจริญเตบิ โต ก. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลือด ระบบหายใจ ข. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ค. ระบบหมนุ เวยี นเลือด ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขบั ถ่าย ง. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ระบบหมนุ เวียนเลือด 5. ฮอร์โมนจากต่อมใดที่หลั่งมากระตุน้ ให้กลา้ มเน้อื มดลูกบีบตวั ในชว่ งคลอด ก. รงั ไข่ ข. มดลูก ค. ต่อมใต้สมอง ง. ทงั้ ก, ข,ค
35 6. หัวใจมีหน้าทอ่ี ย่างไร ก. แลกเปลยี่ นแกส๊ ในเลอื ด ข. ควบคมุ การทางานของปอด ค. สูบฉีดเลือดไปสู่เซลลท์ ว่ั รา่ งกาย ง. ควบคุมการทางานของอวยั วะตา่ งๆ ทัว่ ร่างกาย 7. การเค้ยี วอาหารท่เี ปน็ ชนิ้ ใหญใ่ หม้ ขี นาดเล็กลง คือขอ้ ใด ก. การย่อยทางเคมี ข. การยอ่ ยทางกล ค. การกลนื อาหาร ง. การหายใจ 8. ขอ้ ใดคือหน้าทขี่ องเกลด็ เลือด ก. ขนสง่ แก๊สออกซิเจนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ข. ทาลายเชื้อโรคหรือสง่ิ แปลกปลอมทเี่ ขา้ สรู่ า่ งกาย ค. นาเลอื ดไปเลย้ี งส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ง. ชว่ ยให้เลอื ดแข็งตวั เวลาเกดิ บาดแผล 9. ในขณะทีค่ นเราหายใจเขา้ ขอ้ ความใดกล่าวถึงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกะบัง ลมกับกระดกู ซี่โครงไดถ้ กู ตอ้ ง ก. ทั้งกะบังลมและกระดูกซ่โี ครงเลือ่ นตา่ ลง ข. ทั้งกะบงั ลมและกระดูกซ่ีโครงเลือ่ นสงู ข้นึ ค. กะบังลมเลือ่ นตา่ ลง กระดูกซโ่ี ครงเลือ่ นสงู ขึ้น ง. กะบังลมเลื่อนสงู ขึน้ กระดกู ซี่โครงเล่ือนตา่ ลง 10. เมื่อเรารบั ประทานอาหารเข้าสรู่ ่างกาย มรี ะบบใดบา้ งทีต่ ้องทางาน ประสานกนั เพ่อื เปล่ยี นอาหารเปน็ พลงั งานให้ร่างกายนาไปใชใ้ นการ เจริญเตบิ โต ก. ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ระบบหายใจ ข. ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขบั ถา่ ย ค. ระบบย่อยอาหาร ระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบหมุนเวยี นเลือด ง. ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบประสาท
. ระบบยอ่ ยอาหาร. ที่มา : https://sites.google.com. 9 สิงหาคม 2563 . ระบบไหลเวยี นเลอื ด. ทมี่ า : http://taem.weebly.com. 9 สิงหาคม 2563 . ระบบหายใจ. ที่มา : https://www.trueplookpanya.com. 9 สิงหาคม 2563 . ระบบขับถา่ ย. ที่มา : http://cms574.bps.in.th/group7/excretion. 9 สงิ หาคม 2563 . ระบบสืบพนั ธุ์. ทีม่ า : https://th.wikipedia.org. 9 สิงหาคม 2563
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: