สุขศึกษา ม.๔ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑ กระบวนการสรา้ งเสริมระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ในร่างกาย ตวั ช้วี ดั • อธิบายกระบวนการสรา้ งเสรมิ และดารง ประสิทธิภาพการทางานของระบบอวัยวะ ต่าง ๆ (พ ๑.๑ ม.๔-๖/๑)
ผงั สาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษา ม.๔
สุขศึกษา ม.๔ กระบวนการสรา้ งเสริมระบบอวัยวะต่าง ๆ ในรา่ งกาย การทางานของระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ในร่างกายตอ้ งมีความสัมพันธ์กัน หากระบบใดระบบหน่งึ ทางานผิดปกติก็จะสง่ ผลกระทบถึงระบบอน่ื ๆ เราจึงจาเปน็ ต้องเรยี นรกู้ ระบวนการสรา้ งเสริมระบบอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายเพื่อใหท้ างานอยู่ในระดบั ปกติ
สขุ ศกึ ษา ม.๔ ระบบอวยั วะตา่ งๆ ในรา่ งกาย มนษุ ยเ์ ป็นสงิ่ มีชวี ิตทม่ี โี ครงสรา้ งสลบั ซับซอ้ น รา่ งกายของคนเราประกอบดว้ ย ส่วนทเ่ี ล็กท่ีสดุ คอื อะตอม ซึง่ ยึดเข้ากันเป็น โมเลกลุ (Molecule) แต่ละโมเลกุลจะจัด รวมตัวกันเป็นโครงสร้างเรียกว่า เซลล์ (Cell) เซลล์ถือเปน็ หน่วยท่ีเล็กท่สี ดุ ของส่งิ มชี ีวติ โดยมีรปู รา่ งแตกต่างกันไปเพอ่ื ให้ เหมาะสมในการทาหนา้ ที่ เช่น เซลลป์ ระสาทมแี ขนงมากมายเพ่ือทาหนา้ ทสี่ ่งขอ้ มูล ข่าวสารระหว่างเซลล์ กลมุ่ เซลลช์ นิดเดยี วกนั เมอ่ื อยู่รวมกนั จะทาหน้าทอ่ี ย่างเดยี วกนั เรยี กวา่ เน้อื เยอื่ (Tissue) และเมื่อเนอ้ื เยื่อที่ทางานหรือทาหนา้ ทอี่ ยา่ งเดียวกันมา รวมกันก็จะพฒั นาตอ่ ไปเปน็ อวยั วะ (Organ) เชน่ ตับ ปอด สมอง หวั ใจ และกลุม่ ของ อวยั วะท่ที าหน้าที่เกย่ี วข้องกัน เรยี กวา่ ระบบอวยั วะ (Organ System) โดยระบบ อวัยวะจะมีหน้าที่ของตัวเอง และทางานประสานสมั พันธก์ ับระบบอนื่
สุขศึกษา ม.๔ การทางานของระบบอวยั วะต่าง ๆ ในรา่ งกายทส่ี าคญั ประกอบด้วย ๑๐ ระบบ ดังน้ี ๓. ระบบกล้ามเนอื้ ๒. ระบบกระดูกและข้อ ๔. ระบบไหลเวยี นโลหิต ๑. ระบบผวิ หนงั ระบบอวัยวะตา่ ง ๆ ๕. ระบบทางเดินหายใจ ๑๐. ระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะ ในรา่ งกาย ๖. ระบบยอ่ ยอาหาร ๙. ระบบต่อมไร้ท่อ ๗. ระบบประสาท ๘. ระบบสืบพันธ์ุ
สุขศกึ ษา ม.๔ หลกั การสร้างเสรมิ ระบบการทางานของระบบอวยั วะต่าง ๆ ในร่างกาย ๑. ออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ ๒. รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ ๓. พกั ผอ่ นให้เพยี งพอ ๔. รับอากาศบรสิ ุทธิ์ ๕. ทาจติ ใจใหร้ ่าเริง แจม่ ใส ๖. การดูแลรกั ษาอนามยั ส่วนบุคคล ๗. หลกี เลี่ยงส่ิงท่เี ป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพและอย่ใู นสิ่งแวดล้อมท่ปี ลอดภัย ๘. ตรวจสขุ ภาพร่างกายอย่างน้อยปีละ ๑ ครง้ั ๙. ระมัดระวังอุบัติเหตุ
สขุ ศึกษา ม.๔ กระบวนการสรา้ งเสรมิ และดารงประสทิ ธิภาพการทางาน ของระบบอวัยวะต่างๆ ในรา่ งกาย ๑. ระบบผวิ หนงั (Integumentary System) ลักษณะและสว่ นประกอบของผวิ หนัง
โครงสรา้ งและส่วนประกอบของผิวหนัง สุขศกึ ษา ม.๔ ๑. หนังกาพรา้ (Epidermis) เป็นผิวหนงั ชนั้ นอกซ่งึ จะมีการหลดุ ลอกออกเป็นขีไ้ คล แลว้ มกี ารสรา้ งผิวหนังใหม่ข้ึนมาทดแทน ๒. หนังแท้ (Dermis) ผวิ หนงั ช้นั นจ้ี ะอยู่ใตช้ ้ันหนงั กาพร้า และมีความหนามากกว่าช้นั หนงั กาพร้า ๓. ขนหรือผม (Hair) เจริญมาจากหนังกาพร้าชนั้ ลกึ มอี ยูท่ ่ัวร่างกาย ยกเวน้ บางแหง่ ขนทุกเส้นประกอบดว้ ย เสน้ ขน รากขน ขมุ ขน ๔. เลบ็ (Nails) เป็นส่วนของเซลล์ เล็บ โคนเล็บ รากเล็บ ชนั้ หนังกาพร้าที่ตายแลว้ หนังหุม้ ปลายเลบ็ กระดกู นวิ้ ลกั ษณะและสว่ นประกอบของเลบ็
สขุ ศึกษา ม.๔ การสร้างเสริมและดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบผิวหนัง ๑. รับประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์ ครบ ๕ หมู่ ๒. ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอเพอ่ื ใหร้ า่ งกายได้ขบั ของเสยี ออกทางเหงอ่ื ๓. รับแสงแดดออ่ น ๆ ในตอนเช้าและเย็นเพ่อื ใหร้ า่ งกายไดร้ บั วติ ามินดี ๔. ดแู ลรกั ษารา่ งกายใหส้ ะอาดอยู่เสมอ ๕. พักผ่อนให้เพียงพอ ทาจิตใจให้แจม่ ใสอยู่เสมอ ๖. ดม่ื นา้ สะอาดอย่างนอ้ ยวนั ละ ๘ แกว้ ๗. เลือกใช้เครอ่ื งสาอางเทา่ ทจ่ี าเปน็ และใหเ้ หมาะสมกับวัย การรับประทานผักผลไม้มวี ติ ามนิ ๘. ระมัดระวงั การเกิดอบุ ัติเหตุที่อาจทาใหเ้ กิดบาดแผล ช่วยบารงุ ผิวหนัง
๒. ระบบกระดกู และข้อ (Skeletal System) สุขศกึ ษา ม.๔ ระบบกระดูกและข้อ ประกอบด้วยอวยั วะประเภทกระดกู กระดูกอ่อน ข้อตอ่ เอ็น และพังผืด รวมประกอบเป็นโครง ของรา่ งกายรว่ มกับระบบกลา้ มเนอื้ และระบบประสาท ทาให้เกดิ การเคลอ่ื นไหวของร่างกาย ชนิดของกระดกู ๑. กระดกู ยาว (Long bones) ๒. กระดกู สนั้ (Short bones) ๓. กระดูกแบน (Flat bones) ๔. กระดูกทมี่ รี ปู รา่ งแปลก (Irregular bones) โครงสรา้ งของกระดูกในรา่ งกาย
สขุ ศึกษา ม.๔ การสรา้ งเสรมิ และดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบกระดกู และขอ้ ๑. รบั ประทานอาหารที่มีแคลเซยี มสงู ๒. ควบคมุ น้าหนักตวั ไม่ใหม้ ากเกินไป ๓. ให้รา่ งกายได้รบั แสงแดดออ่ น ๆ ทุกวนั อยา่ งน้อยวันละ ๑๐-๑๕ นาที ในชว่ งเช้าและเยน็ ๔. ออกกาลังกายอยา่ งสม่าเสมอ ๕. หลีกเลีย่ งปัจจยั เสยี่ งท่ีจะทาให้เกิดโรคกระดูกพรนุ ๖. ระมดั ระวังการเกดิ อบุ ัติเหตุตา่ ง ๆ
๓. ระบบกลา้ มเนือ้ (Muscular System) สขุ ศึกษา ม.๔ กล้ามเน้ือแบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ กลา้ มเนื้อลาย (Skeletal Muscle) กลา้ มเนือ้ เรยี บ (Smooth Muscle) กลา้ มเน้อื หัวใจ (Cardiac Muscle)
สขุ ศกึ ษา ม.๔ การสรา้ งเสรมิ และดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบกล้ามเนื้อ ๑. รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ ครบ ๕ หมู่ ๒. ออกกาลังกายหรือเล่นกฬี าอย่างสม่าเสมอ ๓. นอนหลบั พักผอ่ นอยา่ งเพยี งพอ ไมน่ อนดึก ๔. ดมื่ น้าสะอาดอยา่ งนอ้ ยวันละ ๘ แกว้ ๕. ไมใ่ ชก้ ลา้ มเนอ้ื ทางานหนกั เกนิ กาลังเพราะ จะทาให้กล้ามเน้อื อ่อนล้า
สขุ ศึกษา ม.๔ ๔. ระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory System หรอื Blood Vascular System) ส่วนประกอบของระบบไหลเวยี นโลหิต ระบบไหลเวยี นโลหติ ประกอบดว้ ย เลอื ด หลอดเลือด และหัวใจ ๑. เลอื ด เปน็ ของเหลวทไ่ี หลวนอยู่ในหัวใจและหลอดเลอื ด มสี แี ดง ลักษณะข้น เซลลเ์ มด็ เลือดขาว มีส่วนประกอบสาคัญ ๒ สว่ น คอื ๑.๑ ส่วนที่เปน็ ของเหลว เรียกว่า พลาสมา เซลล์เมด็ เลอื ดแดง (Plasma) ๑.๒ สว่ นทเ่ี ปน็ เมด็ เลอื ด ได้แก่ เซลล์เมด็ เลือดแดง (Red Blood Cells) เซลลเ์ มด็ เลือดขาว (White Blood Cells) และเกลด็ เลอื ด (Platelets) เกล็ดเลือด
สขุ ศกึ ษา ม.๔ ๒. หลอดเลอื ด หลอดเลือดในรา่ งกาย แบง่ เปน็ ๓ ชนดิ ได้แก่ ๒.๑ หลอดเลอื ดแดง (Artery) ๒.๒ หลอดเลอื ดดา (Vein) ๒.๓ หลอดเลือดฝอย (Capillary) ๓. หัวใจ เปน็ อวยั วะทป่ี ระกอบดว้ ยกล้ามเนื้อหวั ใจทไี่ มอ่ ยู่ ภายใต้อานาจจติ ใจ ภายในหัวใจมลี กั ษณะเป็นโพรง ๔ ห้อง โดยแบง่ เปน็ หอ้ งบน ๒ หอ้ ง เรยี กว่า เอเตรียม (Atrium) หอ้ งล่าง ๒ ห้อง เรียกว่า เวนตรเิ คลิ (Ventricle) หัวใจห้องบนซา้ ยและล่างซา้ ย มลี ้นิ หวั ใจท่ี เรียกว่า ไบคัสปิด (Bicuspid) คั่นอยู่ สว่ นหอ้ งบนขวา และลา่ งขวามีลน้ิ หวั ใจ เรยี กวา่ ไตรคสั ปดิ (Tricuspid)
สขุ ศกึ ษา ม.๔ วงจรการไหลเวยี นโลหิตผา่ นหัวใจ การสร้างเสริมและดารงประสิทธภิ าพการทางานของระบบไหลเวียนโลหิต ๑. ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ ๒. รบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ไม่รบั ประทานอาหารประเภทไขมนั มากเกิน ความตอ้ งการของร่างกาย ๓. ทาจติ ใจใหแ้ จม่ ใส ไมเ่ ครียด
สขุ ศกึ ษา ม.๔ ๕. ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System) ระบบทางเดนิ หายใจ ทาหน้าทแี่ ลกเปลีย่ นแก๊สเพอื่ ใหร้ ่างกายขบั แก๊สคาร์บอน- ไดออกไซดอ์ อกไป และรบั เอาแกส๊ ออกซิเจนเขา้ มา องค์ประกอบของระบบทางเดนิ หายใจ จมกู คอหอย กลอ่ งเสยี ง หลอดลม ปอด
กลไกการหายใจ สขุ ศึกษา ม.๔ การหายใจถูกควบคุมโดยศูนย์การหายใจในสมองซึ่งเป็นไปโดยอัตโนมตั ิ เมอื่ เราหายใจ เข้า อากาศจากภายนอกร่างกายจะผ่านรจู มกู ทัง้ สองข้างเข้าไปตามชอ่ งจมกู ขนและเย่ือใน ช่องจมูก จะช่วยกรองฝุ่นละอองทีป่ นมากบั อากาศ และปรับอุณหภูมิความช้ืนใหเ้ หมาะสม กบั ร่างกาย แล้วจงึ ผ่านจากคอหอยเข้าส่หู ลอดลม เยือ่ เมอื กและขนที่หลอดลมจะกักเก็บ ฝุน่ ละอองไมใ่ ห้ผา่ นเขา้ สูป่ อด อากาศจะเข้าส่ปู อดและเขา้ ไปในถุงลมเลก็ ๆ ทม่ี หี ลอดเลอื ด ฝอยล้อมรอบ จากนัน้ แกส๊ ออกซเิ จนในอากาศจะแพร่ผ่านผนงั ถุงลม เม่ือเราหายใจออก แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จากเลอื ด ก็จะผา่ นจากผนงั หลอดเลอื ดฝอยเข้าสถู่ งุ ลม การสรา้ งเสริมและดารงประสทิ ธิภาพการทางานของระบบทางเดนิ หายใจ ๑. ออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอ ๒. ไมส่ ูบบหุ ร่ี ๓. หลกี เลีย่ งการอยใู่ นสถานทท่ี ี่มีมลพิษทางอากาศสงู ๔. เม่ือเจบ็ ป่วย ไอ จาม ควรสวมหน้ากากอนามยั
สขุ ศกึ ษา ม.๔ ๖. ระบบยอ่ ยอาหาร (Digestive System) องคป์ ระกอบของระบบยอ่ ยและดูดซึมอาหาร • ฟนั (Teeth) • ลน้ิ (Tongue) • ต่อมน้าลาย (Salivary gland) • คอหอย (Pharynx) • หลอดอาหาร (Esophagus) • กระเพาะอาหาร (Stomach) • ลาไสเ้ ล็ก (Small Intestine) • ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine) • ตบั (Liver) • ถงุ น้าดี (Gall Bladder) • ตบั ออ่ น (Pancreas)
สขุ ศึกษา ม.๔ การสรา้ งเสริมและดารงประสทิ ธิภาพการทางานของระบบย่อยอาหาร ๑. รบั ประทานอาหารใหค้ รบทุกมอ้ื และตรงต่อเวลา ๒. เคยี้ วอาหารใหล้ ะเอียดกอ่ นกลืน จะช่วยในการยอ่ ยไดด้ ขี ้ึน ๓. รบั ประทานอาหารทสี่ ะอาด ถกู สขุ ลักษณะ และปรงุ สกุ ใหม่ ๆ ๔. หลกี เลยี่ งอาหารประเภทชา กาแฟ เครอื่ งดม่ื ทมี่ ีแอลกอฮอล์ ๕. รับประทานอาหารทมี่ ีเส้นใยอาหาร เชน่ ผกั ผลไม้ และดื่มนา้ สะอาดอย่างนอ้ ยวนั ละ ๘ แกว้ เพ่ือช่วยให้ขับถ่ายสะดวก ๖. ขับถา่ ยอจุ จาระให้เปน็ เวลา ไม่ปล่อยใหท้ อ้ งผูก ๗. ทาจติ ใจให้แจม่ ใส ไมเ่ ครยี ด ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ ๘. ดูแลรักษาสุขภาพของชอ่ งปากอย่างสม่าเสมอ
สขุ ศึกษา ม.๔ ๗. ระบบประสาท (Nervous System) โครงสร้างของระบบประสาท แบง่ เป็น ๒ ส่วน คือ ๑. ระบบประสาทสว่ นกลาง ไดแ้ ก่ สมอง และไขสนั หลงั ๒. ระบบประสาทสว่ นปลาย ได้แก่ เส้นประสาทสมอง เสน้ ประสาทไขสนั หลัง ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System) ❑สมอง (Brain) สมองแบ่ง ออกเป็น ๓ ส่วน คอื สมอง ส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และ สมองส่วนท้าย
❑ ไขสนั หลงั (Spinal cord) สขุ ศกึ ษา ม.๔ ❑ ระบบประสาทสว่ นปลาย (Peripheral Nervous System) ❑ เสน้ ประสาทสมอง (Cranial nerve) ❑ เส้นประสาทไขสันหลงั (Spinal nerve) นอกจากนีร้ า่ งกายยงั มี ระบบประสาทอัตโนมตั ิ (Autonomic Nervous System) ซ่งึ ทาหนา้ ทีค่ วบคุมการทางานของประสาทที่อยู่นอกอานาจจติ ใจให้เปน็ ไป ตามปกติ การสรา้ งเสริมและดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบประสาท ๑. รับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ โดยเฉพาะอาหารท่ชี ว่ ยบารุงสมอง ๒. พกั ผ่อนให้เพียงพอ ๓. ออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอ ๔. สงั เกตหรือสารวจความผดิ ปกตขิ องระบบประสาท ๕. ไมส่ ูบบุหร่ี เพราะอาจทาใหเ้ กดิ โรคหลอดเลือดสมองตีบ ๖. ระมดั ระวงั การเกดิ อุบัตเิ หตุทอี่ าจทาใหเ้ กดิ อันตรายต่อสมอง ไขสันหลัง และเสน้ ประสาท
๘. ระบบสบื พันธุ์ (Reproductive System) สุขศกึ ษา ม.๔ ระบบสืบพนั ธ์แุ บง่ เป็นระบบสบื พนั ธ์ุเพศชายและระบบสบื พันธเ์ุ พศหญงิ โครงสร้างของระบบสบื พันธ์ุเพศชาย (Male Reproductive System) ▪ ถงุ หมุ้ อัณฑะ (Scrotum) ▪ อัณฑะ (Testis) ▪ หลอดเก็บอสจุ หิ รอื ทอ่ พกั อสจุ ิ (Epididymis) ▪ หลอดนาอสจุ ิ (Vas Deferens) ▪ ต่อมลูกหมาก (Prostate Gland) ▪ องคชาต (Penis) ▪ ตัวอสุจิ หรอื สเปิร์ม (Sperm)
สุขศกึ ษา ม.๔ โครงสร้างของระบบสืบพนั ธ์เุ พศหญิง ▪ รังไข่ (Ovary) ▪ ท่อนาไข่ (Fallopian Tube) ▪ มดลกู (Uterus) ▪ ช่องคลอด (Vagina) การสรา้ งเสริมและดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบสบื พนั ธ์ุ ๑. รักษาความสะอาดด้วยการชาระล้างอวยั วะเพศภายนอก ดว้ ยสบู่อ่อน ๆ และนา้ สะอาดทกุ คร้งั ทอ่ี าบน้า และซบั ใหแ้ ห้ง ๒. ทกุ ครง้ั หลงั การขบั ถ่าย ควรใช้น้าลา้ งให้สะอาดแลว้ ใชก้ ระดาษชาระซบั ให้แห้ง ๓. สวมใสช่ ดุ ชั้นในท่แี ห้งและสะอาด ไม่คับหรอื หลวมจนเกินไป ๔. ในผหู้ ญงิ ทมี่ ีประจาเดอื น ควรเปล่ยี นผา้ อนามัยเมื่อเปยี กชืน้ ๕. สังเกตอาการผดิ ปกติของอวยั วะระบบสบื พนั ธุ์ หากพบส่ิงผิดปกติควรรีบไปพบแพทย์ ๖. ไมม่ เี พศสัมพนั ธก์ อ่ นวยั อันควร เพ่อื ป้องกนั การตง้ั ครรภแ์ ละการเกิดโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธ์
๙. ระบบตอ่ มไรท้ ่อ (Endocrine System) สขุ ศึกษา ม.๔ โครงสรา้ งของต่อมไรท้ ่อ ๑. ตอ่ มใตส้ มอง (Pituitary Gland) ๒. ตอ่ มไทรอยด์ (Thyroid Gland) ๓. ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland) ๔. ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland) ๕. ตบั ออ่ น (Pancreas) ๖. ตอ่ มเพศ (Gonad Gland) อัณฑะ (Testis) รงั ไข่ (Ovary)
สขุ ศึกษา ม.๔ การสรา้ งเสรมิ และดารงประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบต่อมไรท้ ่อ ๑. รับประทานอาหารทีใ่ ห้สารอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ต่อต่อมไรท้ ่อ ๒. ออกกาลงั กายดว้ ยกิจกรรมทเี่ หมาะสมกบั เพศและวยั ๓. พกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ ควรนอนหลบั วนั ละไม่ต่ากวา่ ๘ ชั่วโมง ๔. หลีกเลย่ี งปจั จัยเสยี่ งทกี่ อ่ ให้เกดิ ผลกระทบกับตอ่ มไรท้ ่อ เช่น การหลีกเลย่ี งเครอ่ื งด่ืมท่ีมแี อลกอฮอล์ การรบั ประทานยา ทอ่ี าจมผี ลกับตอ่ มไรท้ อ่ ๕. สังเกตและสารวจสภาพรา่ งกายของตนเองสมา่ เสมอ หากพบอาการผดิ ปกติหรอื มีพัฒนาการช้าเกินไป ควรบอกพอ่ แม่ ผปู้ กครองและรีบปรกึ ษาแพทย์
สขุ ศกึ ษา ม.๔ ๑๐. ระบบขับถ่ายปสั สาวะ (Urinary System) การกาจัดของเสียทางไต จะขับของเสียออกมาทางปสั สาวะโดยมอี วัยวะท่ี เก่ียวข้อง ได้แก่ ไต (Kidneys) ตรงกลางสว่ นที่เว้าเป็นกรวยไตจะมที ่อไตต่อออกไปยงั กระเพาะปสั สาวะ ไตมหี นา้ ท่ีกรองของเสียออกจากเลอื ดทีไ่ หลผา่ น เขา้ มา ให้เป็นน้าปัสสาวะ แล้วขบั ผา่ นไตลงสู่กระเพาะปสั สาวะ ทอ่ ไต (Ureter) กระเพาะปัสสาวะ (Bladder) ทอ่ ปัสสาวะ (Urethra)
กระบวนการกาจดั ของเสียทางไต สุขศกึ ษา ม. ๔ ของเสยี ต่าง ๆ ในร่างกาย จะออกจากเซลลแ์ ล้วเข้าสู่หลอดเลอื ด เลอื ดพร้อม ของเสยี และสารทเ่ี ป็ นประโยชนจ์ ะไหลเวยี นมาทไี่ ต โดยเลอื ดจะไหลเวยี นไปสู่ หลอดเลอื ดฝอยทอ่ี ยู่ในหน่วยไต หน่วยไตจะทาหน้าทกี่ รองสารทอี่ ยู่ในเลือด รวมทงั้ นา้ บางส่วนจะถกู ผนังของหน่วยไตดูดซมึ กลับคนื สู่กระแสเลอื ดเพอื่ ให้ ร่างกายนาไปใช้ ส่วนของเสยี อน่ื ๆ ทร่ี วมเรียกว่า นา้ ปัสสาวะ จะถกู ส่งตอ่ ไปตาม ท่อไต กระเพาะปัสสาวะจะหดตัว เราจะรู้สกึ ปวดปัสสาวะ นา้ ปัสสาวะจะถกู ขับ ผ่านทอ่ ปัสสาวะออกจากร่างกายทางช่องปัสสาวะ การสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ ๑. ไม่กลัน้ ปัสสาวะ เมอ่ื รู้สกึ ปวดต้องไปปัสสาวะ ๒. ดม่ื นา้ สะอาดอยา่ งน้อยวันละ ๘ แก้ว ๓. สังเกตการถา่ ยปัสสาวะและสขี องนา้ ปัสสาวะ เพราะอาการผดิ ปกตทิ เี่ กดิ ขนึ้ สามารถบอกโรค ได้ ๔. เมอ่ื มอี าการผิดปกตเิ กดิ ขนึ้ กับระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: