Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบโครงกระดูกและกล้ามเนื้อ

ระบบโครงกระดูกและกล้ามเนื้อ

Published by อลงกรณ์ โสดา, 2022-06-21 15:32:56

Description: ระบบโครงกระดูกและกล้ามเนื้อ

Search

Read the Text Version

ระบบโครงกระดกู และกล้ามเนือ้ (Skeleton and Muscle)

ร่างกายเราสามารถเคล่ือนไหวได้เกดิ จากการ ทาํ งานร่วมกันของระบบใดบ้างในร่างกาย

โครงกระดูกของมนุษย์ ประกอบด้วยกระดูกกว่า 206 ชิน้

 ป้ องกันอันตรายอวัยวะภายใน เช่น กระดูกซ่ีโครงป้ องกนั หวั ใจ ปอด  พยุงร่างกาย  เป็ นท่ยี ดึ เกาะของกล้ามเนือ้  สร้างเม็ดเลอื ด แหล่งสะสมสาํ คญั ของธาตุแคลเซียม และฟอสฟอรัส

โครงสร้ างของกระดกู กระดกู พรุน ประกอบด้วยเซลล์และ เส้นใยพงั ผืด (Spongy bone) เป็ นสารประกอบแคลเซยี ม ฟอสเฟต กระดกู ทบึ กระดกู ทบึ (Compact bone) กระดกู พรุน (Spongy bone) (Compact bone) ไขกระดกู (Bone marrow) เย่อื หุ้มกระดกู (Periosteum)

กระดูกทบึ (Compact bone) กระดูกพรุน (Spongy bone) มี ลกั ษณะคล้ายฟองนํา้ ช่วย ให้กระดกู มีนํา้ หนักเบามี หน้าท่สี ร้างเม็ดเลอื ดให้กับ ร่างกาย และเป็ นแหล่ง สะสมไขมัน เย่ือหุ้มกระดกู (Periosteum) ทาํ หน้าท่สี ร้างเซลล์กระดกู ใหม่ทดแทนเซลล์กระดูกท่ตี ายไป แล้ว เพ่ือการเจริญเตบิ โต หรือซ่อมแซมกรณีกระดกู หัก

3 กระดูกแกน (Axial Skeleton) คือกระดกู ท่เี ป็ นแกนกลางของ ลาํ ตัว กระดูกอ่อน กระดกู รยางค์ ( Appendicular Skeleton) คือกระดกู นอกเหนือไปจากกะโหลกศีรษะ และกระดกู ลาํ ตวั

กระดูกแกน (Axial Skeleton) มจี าํ นวน 80 ชนิ้  กระดกู กะโหลกศีรษะ 22 ชนิ้  กระดกู สันหลัง 34 ชิน้  กระดกู ซ่ีโครง 24 ชิน้

 กระดกู กะโหลกศีรษะ เป็ นแผ่นเช่ือมตดิ กัน เป็ นโพรงสาํ หรับบรรจสุ มอง ป้ องกันไม่ให้สมองได้รัอนั ตราย

 กระดูกสนั หลงั ช่วยคาํ้ จุนและรองรับนาํ้ หนักของร่างกาย ระหว่างกระดกู สันหลังแต่ละข้อมีแผ่น กระดกู อ่อนหรือหมอนรองกระดูก หมอนรองกระดกู ทาํ หน้าท่รี องและเช่อื ม กระดกู สันหลังแต่ละข้อเพ่ือป้ องกนั การ เสียดสี กระดกู สันหลังแต่ละข้อมีช่องให้ไขสันหลังสอดผ่านและเป็ นท่ี เกาะของกล้ามเนือ้ และเอน็

ส่วนประกอบของกระดกู สันหลัง

 กระดกู ซ่ีโครง ป้ องกันอันตรายให้กับอวยั วะภายในร่างกาย เช่ือมต่อกับด้านข้างของกระดกู สันหลัง ตอนปลายของกระดกู จะโค้งมาทางด้านหน้าและเข้าเช่ือมต่อ กับ กระดกู หน้าอก (Sternum) ยกเว้นกระดกู 2 คู่ ซ่ีสัน้ ๆ จะไม่ เช่อื มต่อกับกระดกู หน้าอก เรียกว่า ซ่ีโครงลอย

กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton กระดกู นอกเหนือไปจากกะโหลกศีรษะและกระดกู ลาํ ตวั กระดกู แขน 60 ชนิ้ กระดกู ขา 60 ชนิ้ กระดกู สะบกั 2 ชนิ้ กระดกู เชงิ กราน 2 ชนิ้ กระดกู ไหปลาร้า 2 ชนิ้ ภายในกระดกู จะมีข้อต่อท่เี ช่ือม มีจาํ นวน 126 ชนิ้ กนั ระหว่างกระดกู แต่ละท่อน

กระดกู แขนเร่ิมท่บี ริเวณไหล่ มีกระดกู สะบักและกระดกู ไหปลาร้า ทาํ หน้าท่เี ป็ นฐานรองแขน เช่ือมโยง ระหว่าง กระดกู สนั หลงั ด้านบนของ ลาํ ตวั กบั กระดกู ต้นแขน ประกอบด้วย กระดกู ปลายแขนท่อนใน กระดกู ปลายแขนท่อนนอก ต่อจากกระดกู ปลายแขน จะเป็ น กระดกู ข้อมือ กระดกู ฝ่ ามือ กระดกู นิว้ มือ ช่วยให้ข้อมือและมือ บดิ หมุนได้

กระดูกขา:มขี นาดใหญ่และ กระดูกน่อง กระดกู หน้าแข้ง แขง็ แรงกว่ากระดกู แขน ขาช่วงบน:มีกระดกู โคนขา เช่ือมกบั กระดกู เชงิ กราน ขาช่วงล่าง:มีกระดกู หน้าแข้ง และกระดกู น่องช่วยรับนํา้ หนัก ของร่ างกาย บริเวณเท้า:ประกอบด้วย กระดกู ฝ่ าเท้า และกระดกู นิว้ เท้าช่วยในการเคล่ือนไหว ของเท้า

แล้วใช้อะไรในการเช่ือมต่อกนั ?

ขอ้ ตอ่ และเอ็นเชื่อมกระดกู ข้อต่อเกดิ จากกระดกู ตงั้ แต่ 2 ชนิ้ ขนึ้ ไปท่อี ย่ใู กล้กันมา เช่อื มต่อกันโดยมีเอน็ และกล้ามเนือ้ ช่วยยดึ เสริมความ แขง็ แรง ทาํ ให้มคี วามยดื หย่นุ ในการเคล่ือนไหวได้สะดวกขนึ้ ข้อต่อเคล่ือนไหวไม่ได้ ข้อต่อเคล่อื นไหวได้ ทาํ ให้ร่างกายสามารถเคล่อื นท่ี หรือบดิ งอได้

กจิ กรรม ชนิดของข้อต่อกบั การเคล่ือนไหว แสดงการเคล่อื นไหวของข้อต่อลักษณะต่างๆ

ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ส่วนทเ่ี คลอื่ นที่ ลกั ษณะและทศิ ทางการเคลอื่ นที่ 1. นิว้ มอื 2. ปลายแขน แบบบานพบั โดยเคลอื่ นไหวในทิศทางเดียว ซ่ึงคล้าย กบั การเคลอื่ นที่บาน พบั ประตูหรือหน้าต่าง - ข้อมือ แบบลน่ื ไถล โดยเคลอื่ นไหวได้สองทศิ ทาง มกี าร เคลอื่ นท่ีแบบลนื่ ไถลเสียดสีซ่ึงกนั และกนั แบบบานพบั โดยเคลอื่ นไหวในทศิ ทางเดียว ซึ่งคล้าย - ข้อศอก กบั การเคลอื่ นท่ีบาน พบั ประตูหรือหน้าต่าง 3. แขน (หัวไหล่) แบบก้อนกลมในเบ้า โดยเคลอื่ นไหวได้อย่างอสิ ระหลาย ทศิ ทาง 4. ศีรษะ (ส่วนลาํ คอ) คล้ายเดอื ย ซ่ึงจะทําให้ก้มเงยหรือบิดซ้ายขวาได้ เอยี ง คอซ้าย ขวา และหัน หน้าซ้ายขวาได้

ข้อต่อเคล่ือนไหวได้ แบ่งตามลักษณะการเคล่ือนท่ี 1. ข้อต่อแบบบานพับ (Hinge Joint) 2. ข้อต่อแบบล่ืนไถล (Gliding Joint) 3. ข้อต่อแบบก้อนกลมในเบ้า (Ball and Socket Joint)

1. ข้อต่อแบบบานพับ (Hinge Joint) • เคล่อื นได้ระนาบเดยี วกนั • เกดิ การงอเหยยี ดในทศิ ทางตรงกันข้ามกนั เพยี งสองทาง • ข้อต่อนิว้ มือ ข้อพบั แขนและขา

2. ข้อต่อแบบล่ืนไถล (Gliding Joint) ประกอบด้วยกระดกู ท่มี ีผวิ หน้าเรียบ เคล่อื นท่ไี ด้สองทศิ ทาง เคล่อื นท่แี บบล่นื ไถลเสียดสีซ่งึ กนั และกนั ข้อต่อกระดกู ข้อมือ ข้อต่อระหว่างต้นคอกบั กะโหลกศีรษะ

3. ข้อต่อแบบก้อนกลมในเบ้า (Ball and Socket Joint) เป็ นหวั กลมสวมลงในเบ้ากระดกู อกี ชนิ้ หน่ึงท่เี คล่ือนท่ไี ม่ได้ การเคล่ือนท่ขี องกระดกู มีลักษณะคล้ายเดอื ยท่สี อดเข้าระหว่าง กระดกู ทงั้ สองข้าง เพ่อื ให้ข้างหน่ึงหมุนหรือเคล่ือนท่ไี ด้หลายทศิ ทาง ข้อต่อหวั ไหล่และหวั เข่า ข้อต่อสะโพก

ร่างกายสามารถเคล่ือนไหวได้ ต้องอาศัยการ ทาํ งานของระบบใดในร่างกายร่วมด้วย…… การทาํ งานของ ระบบกล้ามเนือ้ เกดิ จากการหดตวั เน่ืองจากคาํ ส่งั ของสมองส่ ังให้ ร่ างกายเคล่ือนไหว

ระบบกล้ามเนือ้ กล้ามเนือ้ เป็ นเนือ้ เย่อื ท่มี ีความยืดหยุ่น พบได้ทกุ ส่วนของร่างกาย หน้าท่เี ก่ียวกับการเคล่ือนไหวของร่างกาย กล้ามเนือ้ ในร่างกายมีขนาด แตกต่างกันขนึ้ อยู่กับหน้าท่ขี อง อวัยวะท่กี ล้ามเนือ้ ยดึ เกาะอยู่

กล้ามเนือ้ หวั ไหล่ กล้ามเนือ้ หน้า กล้ามเนือ้ กล้ามเนือ้ หน้าอก งอข้อมือ กล้ามเนือ้ ท้อง กล้ามเนือ้ ต้นขาด้านนอก กล้ามเนือ้ บริเวณแขนและขาขนาด ใหญ่ เพราะเคล่ือนไหวตลอดเวลา กล้ามเนือ้ ฝ่ าเท้าระหว่างนิว้

โครงสร้ างของกล้ ามเนือ้ มัดกล้ามเนือ้ เส้นใยกล้ามเนือ้ (muscle fiber) เส้นใยฝอย (myofibril) เส้นใยฝอยเลก็ (myofilament)

โครงสร้ างของกล้ ามเนือ้ มัดเส้นใย กล้ามเนือ้ เย่อื หุ้มมัดกล้ามเนือ้ เส้นใยกล้ามเนือ้ (Muscle Fiber) มเี ย่อื เมมเบรน (membrane) ห้มุ ทาํ ให้เกิดการหดตวั เม่ือ มัดเส้นใยกล้ามเนือ้ ห่อห้มุ ได้รับการกระตุ้น ด้วยเย่ือบางๆ (Fascicle) เส้นใยฝอย (Myofibrils) เส้นใยฝอยเล็ก เส้นใยฝอยเล็ก (Myofilament) ไมโอซิน (Myofilament) แอกตนิ

กลา้ มเน้ ือแบง่ ออกไดเ้ ป็ น 3 ประเภท ข้ ึนอยกู่ บั ตาํ แหน่งทพ่ี บ โครงสรา้ ง และหนา้ ที่ กล้ามเนือ้ ลาย กล้ามเนือ้ หวั ใจ (Striated muscle) (Cardiac muscle) กล้ามเนือ้ เรียบ (Smooth muscle)

กล้ามเนือ้ แบ่งเป็ น 3 ประเภท 1.กล้ามเนือ้ ลาย (Striated หรือ Striped muscle) 2.กล้ามเนือ้ เรียบ (Smooth muscle) 3.กล้ามเนือ้ หวั ใจ (Cardiac muscle)

1.กล้ามเนือ้ ลาย (Striated หรือ Striped muscle) เกาะยดึ กบั กระดกู เม่ือกล้ามเนือ้ มีการหดและ กล้ามเนือ้ แขนและขา ขยายตวั พร้อมกันจะทาํ ให้ส่วน อย่ภู ายใต้ของจติ ใจ ต่างๆ ของร่างกายเคล่อื นท่ไี ด้

กล้ามเนือ้ ลาย(Striated Muscles) รูปทรงกระบอก เซลล์มขี นาดใหญ่ หลายนิวเคลียส นิวเคลยี สเรียงชิดอย่กู ับเย่อื หุ้มเซลล์ มีลายตามขวาง แถบจางสลบั แถบเข้ม

เส้นใยโปรตนี สายบาง (แอกตนิ ) เส้นใยโปรตนี สายหนา(ไมโอซนิ ) ส่วนประกอบท่สี าํ คญั ท่ที าํ ให้กล้ามเนือ้ หดตวั ได้ ในเส้นใยฝอย แต่ละเส้น มโี ปรตนี แอกตนิ และ ไมโอซนิ ทาํ ให้มีแถบ (band) หรือ เส้น (line) ท่ชี ัดและทบึ สลบั กนั ไปตลอด

2.กล้ามเนือ้ เรียบ (Smooth muscle) คล้ายกระสวย อย่นู อกอาํ นาจจติ ใจ มหี น่ึงนิวเคลียสอยู่กลางเซลล์ เป็ นกล้ามเนือ้ ท่ผี นังของอวัยวะภายใน ผนังลาํ ไส้และกระเพาะอาหาร

3.กล้ามเนือ้ หวั ใจ (Cardiac muscle) พบท่กี ล้ามเนือ้ ท่หี วั ใจ และผนังของเส้นเลือดใหญ่ท่ตี ่อกับหวั ใจ ปลายแยกเป็ นสองแฉก (bifurcate) นิวเคลียสหน่ึงหรืออย่ตู รงกลางเซลล์ ขนาดสัน้ กว่าเซลล์กล้ามเนือ้ ลาย ทาํ งานเกดิ ขนึ้ ตดิ ต่อกนั ตลอดเวลา

เปรียบเทยี บลักษณะของกล้ามเนือ้ ประเภทต่างๆ

เปรียบเทยี บลักษณะของกล้ามเนือ้ ประเภทต่างๆ กล้ามเนือ้ ลาย กล้ามเนือ้ เรียบ กล้ามเนือ้ หวั ใจ รูปทรงกระบอก คล้ายกระสวย ปลายแยกเป็ นสองแฉก เซลล์ขนาดใหญ่ หลาย มหี น่ึงนิวเคลยี สอย่กู ลาง (bifurcate) นิวเคลียส เซลล์ นิวเคลยี สหน่ึงหรืออยู่ นิวเคลยี สเรียงชดิ เย่ือหุ้ม เป็ นกล้ามเนือ้ ท่ผี นังของ ตรงกลางเซลล์ เซลล์ อวัยวะภายใน มีลายตามขวาง แถบจาง สลบั แถบเข้ม อย่นู อกอาํ นาจจติ ใจ อยู่ภายใต้ของจติ ใจ

การทาํ งานของกล้ามเนือ้ • กล้ามเนือ้ จะเกดิ การหดและคลายตัว • กล้ามเนือ้ ทาํ งานเป็ นคู่ๆ พร้อมกนั แต่มีกลไกตรงกนั ข้าม • ไบเซพ (Biceps) • ไตรเซพ (Triceps)



ลกั ษณะการ ไบเซพหรือ ไตรเสพ หรือ เหยยี ด งอ (Flexors) (Extensors) คลายตวั แขน หดตวั หดตวั แขนเหยยี ด คลายตวั ออก แขนงอเข้า

สมบตั ขิ องกล้ามเนือ้ 1.การหดตวั ของกล้ามเนือ้ ทาํ ให้เกดิ การ ทาํ งานและการเคลอ่ื นไหวของร่างกาย 2.การคลายตวั ของกล้ามเนือ้ ทาํ ให้ กล้ามเนือ้ สามารถกลบั สู่สภาพเดมิ

1. หน้าทีส่ ําคญั ของระบบโครงกระดูกคอื อะไร??? 2. โครงกระดูกสามารถจําแนกได้เป็ นอะไรบ้าง และใช้ อะไรเป็ นเกณฑ์ ??? 3. กระดูกแกน คอื กระดูกบริเวณใด และทาํ หน้าทอี่ ะไร ???

4. กล้ามเนือ้ ท่กี ระเพาะอาหารและลาํ ไส้จดั เป็ น กล้ามเนือ้ ประเภทใด ??? 5. กระดูกรยางค์ คอื กระดูกบริเวณใด และทาํ หน้าท่ี อะไร ??? 6. ในร่างกายของคนเรามกี ล้ามเนือ้ ชนิดใดมากทีส่ ุด ???

7. กล้ามเนือ้ ชนิดใดท่อี ยู่ใต้อาํ นาจจติ ใจท่ี ???


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook