Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ช่องทางการขยายอาชีพ มอปลาย บทที่ 2

ช่องทางการขยายอาชีพ มอปลาย บทที่ 2

Published by arthitsutjarit, 2020-05-22 03:57:33

Description: ช่องทางการขยายอาชีพ มอปลาย บทที่ 2

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าชอ งทางการขยายอาชพี (อช31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หลักสูตรการศึกษานอกระบบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หา มจําหนาย หนงั สอื เรยี นเลม น้ีจัดพมิ พด วยงบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การสึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธ์ิเปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

54 บทท่ี 2 ชองทางการขยายอาชีพ สาระสาํ คญั การมองเห็นชองทางในการขยายอาชีพ ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั มีความรู ความเขาใจ และเจตคติทีด่ ีในงานอาชีพ สามารถมองเห็นความจําเปน ของชองทางการ ประกอบอาชีพ ความเปนไปไดในการขยายอาชีพ และสามารถกําหนดวิธีการ ขัน้ ตอนการขยายอาชีพ พรอมใหเหตผุ ลไดถกู ตอ งเหมาะสม ขอบขา ยเน้อื หา ความจําเปนในการมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพ ความเปนไปไดในการขยายอาชีพ เร่ืองที่ 1 การกําหนดวธิ ีการและข้ันตอนการขยายอาชีพพรอมใหเ หตผุ ล เรืองท่ี 2 เร่อื งที่ 3 สือ่ การเรียนรู - หนังสือเรยี น ใบงาน

55 เร่ืองท่ี 1 : ความจาํ เปนในการมองเห็นชอ งทางการประกอบอาชีพ การมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพ โอกาสและความสามารถทีจ่ ะนํามาประกอบอาชีพไดกอนผูอ ื่น เปนหัวใจสําคัญของการประกอบ อาชีพ หากผูประกอบอาชีพตามที่ตลาดตองการและเปนอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณในขณะนั้น ยอมทําให มีโอกาสประสบความสําเร็จ สามารถพัฒนาตนเองใหมองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพได คือ 1. ความชํานาญจากงานทีท่ ําในปจจุบัน จะเปนแหลงความรู ความคิด ทีจ่ ะชวยใหมองเห็นโอกาส ในการประกอบอาชีพไดมาก เชน บางคนมีความชํานาญทางดานการทําอาหาร ตัดเย็บเสือ้ ผา ซอม เครื่องใชไฟฟา ตอ ทอ นํา้ ประปา ชางไม ชางปูกระเบือ้ ง ชางทาสี ฯลฯ ซึง่ สามารถนําความชํานาญดังกลาวมา พัฒนาและประกอบอาชีพขึน้ มาได บางคนเคยทํางานที่โรงงานตัดเย็บเสือ้ ผา เมื่อกลับมาภูมิลําเนาเดิมของ ตนเอง ก็นําความรูความสามารถและความชํานาญมาใชเปนชองทางการประกอบอาชีพของตนเองได 2. ความชอบความสนใจสวนตัว เปนอีกทางหนึ่งทีช่ วยใหมองเห็นชองทางโอกาส ในการประกอบ อาชีพ บางคนชอบประดิษฐดอกไม บางคนชอบวาดรูป ทําใหบุคคลเหลานี้ พัฒนางานที่ชอบ ซึง่ เปนงาน อดเิ รกไดกลายเปน อาชพี หลัก ทํารายไดเปนอยางดี 3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ พูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับบุคคล เปนแหลงความรู และกอใหเกิดความคิดริเริม่ เปนอยางดี ในบางครัง้ เรามีความคิดแลว และไดพูดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยให การวิเคราะหความคิดชัดเจนขึ้น ชวยใหมองไปขางหนาไดอยางรอบคอบกอนที่จะลงมือทํางานจริง 4. การศึกษาคนควาจากหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ การดูวีดีทัศน ฟงวิทยุ ดูรายการโทรทัศน จะชวยใหเกิดความรูและความคิดใหม ๆ 5. ขอมูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมทัง้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูท ี่จะมองหาอาชีพ พัฒนาอาชีพ ควรใหความสนใจ ขอมูลตาง ๆ ในการติดตามเหตกุ ารณใ หท นั แลวนํามาพิจารณา ประกอบการตัดสินใจประกอบอาชีพ

56 เรอื่ งที่ 2 : ความเปน ไปไดข องการขยายอาชพี การประเมนิ ความเปน ไปไดใ นการนาํ กรอบแนวคดิ ไปใชใ นการขยายอาชพี ไดจ รงิ จากแผนภูมิดังกลาวแสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมินความเปนไปได มีองคประกอบ รว มกนั 6 องคประกอบ ในแตละองคประกอบมีตัวแปรดังนี้ 1. รูปแบบการขยายอาชีพ มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี 1.1 ผลผลิต 1.2 กระบวนการผลิต 1.3 ปจ จัยนําเขา การผลติ 2. ความยากงายของการดําเนินการจัดการ มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี 2.1 การบริหารจัดการ แรงงาน เงนิ ทุน 2.2 แผนธรุ กิจ 3. การรับไดของลูกคา มตี วั แปรรว มดงั น้ี 3.1 ผลผลติ อยูในความนยิ ม 3.2 เปน สงิ่ จําเปนตอชีวติ 3.3 ราคา 4. การรับไดของสังคมชุมชน มตี วั แปรรว ม ดงั น้ี 4.1 สภาพแวดลอ ม

57 4.2 วฒั นธรรมประเพณี 5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการที่ใชในการขยายอาชีพ 5.1 เทคนิควิทยาการเพื่อการลดตนทุน 5.2 เทคนิควิทยาการเพื่อการลดของเสีย วิธกี ารวิเคราะห การวิเคราะหเพื่อการตัดสินใจมีความจําเปนที่เจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสินใจดวยตนเองสําหรับ กรณีทีธ่ ุรกิจมีหุนสวนหรือผูเ กีย่ วของ ควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธีความสัมพันธรวมกัน โดยมีวิธีการ วิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบดวยตนเอง ดวยรายละเอียดและความเปนไปได ความเปนพวก เดยี วกนั โดยทบทวนหลาย ๆ ครง้ั จนมน่ั ใจแลวจงึ ตัดสินใจ

58 เร่อื งท่ี 3 : การกําหนดวิธีการขัน้ ตอนการขยายอาชพี และเหตุผลของการขยายอาชีพ เปนขั้นตอนการปฏิบัติการในอาชีพที่จะตองใชองคความรูที่ยกระดับคุณคา เพือ่ มาใชปฏิบัติการจึง เปนกระบวนการของการทํางานทีเ่ ริม่ จากการนําองคความรูท ีจ่ ัดทําในรูปของคูม ือคุณภาพหรือเอกสารคูม ือ ดําเนินงานมาศึกษาวิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการจัดปจจัยนําเขาดําเนินการ ทํางานตามขั้นตอนและการควบคุม ผลผลิตใหมีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนดดําเนินการตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางานและปฏิบัติแกไข ขอ บกพรอ งเปน วงจรอยา งตอ เนอ่ื ง และมีการปรับปรุงพัฒนาเอกสารคูม ือดําเนินงานไปเปนระยะ ๆ ก็จะทําให การปฏิบัติการในกิจกรรมอาชีพประสบความสําเร็จสูความเขมแข็ง ม่ันคง ย่งั ยนื ตามกรอบความคิดนี้ 1. การปฏิบตั กิ ารใชความรู โดยใชวงจรเดม็ มิ่ง เปนกรอบการทํางาน - P-Plan ดวยการทําเอกสารคูม ือดําเนินงาน (ซึง่ ไดมาจากกิจกรรมยกระดับความรู) มาศึกษา วิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการทีป่ ระกอบดวยกิจกรรมขัน้ ตอน และผูรับผิดชอบกําหนดระยะเวลาการทํางาน กําหนดปจจัยนําเขาดําเนินงานใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ - D-Do การปฏิบัติการทํางานตามระบบงานทีจ่ ัดไวอยางเครงครัด ควบคุมการผลิตใหเสียหาย นอ ยท่ีสดุ ไดผลผลติ ออกมามีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนด - C-Check การตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางานโดยผูป ฏิบัติการหาเหตุผลของการเกิด ขอบกพรองและจดบันทึก

59 - A-Action การนําขอบกพรองที่ตรวจพบของคณะผูป ฏิบัติการมารวมกันเรียนรูห าแนวทางแกไข ขอบกพรอง จนสรุปไดผลแลวนําขอมูลไปปรับปรุงเอกสารคูม ือดําเนินงานเปนระยะ ๆ ก็จะทําใหองคความรู สูงสงขน้ึ โดยลําดบั แลวสงผลตอประสทิ ธิภาพของธรุ กจิ ประสบผลสําเร็จนําไปสูความเขมแข็งยั่งยืน 2. ทนุ ทางปญ ญา ผลจากการนําองคความรูไปใช มีการตรวจสอบหาขอบกพรอง และปฏิบัติการ แกไขขอบกพรองเปน ระยะ ๆ อยางตอเนอ่ื งทผี่ ลทาํ ใหอ งคความรูสงู ข้นึ เปน ลําดับ จนกลายเปนทุนทางปญญา ของตนเอง หรือของชมุ ชนทจี่ ะเกดิ ผลตอ ธุรกจิ ดงั น้ี - องคความรูสามารถใชสรางผลผลิตที่คนอื่นไมสามารถเทียบเคียงได และไมสามารถทําตามได จึงไดเปรียบทางการแขงขัน - การเปลี่ยนแปลงยกระดับคุณภาพผลผลิตอยางตอเนื่อง ทําใหลูกคาเชือ่ มัน่ ภักดีตอการทํา ธรุ กิจรวมกัน - เปนการสรางทุนทางมนุษยผูรวมงานไดเรียนรูบ ริหารระบบธุรกิจดวยตนเอง สามารถเกิด ภมู ิปญ ญาในตัวบคุ คล ทําใหชุมชนพรอมรุกคืบขอบขายอาชีพออกสูความเปนสากล 3. ธุรกิจสคู วามเขมแขง็ ย่ังยืน การจัดการความรูท ําใหองคความรูส ูงสงขึน้ โดยลําดับ การขยายของ อาชีพจึงเปนการทํางานทีม่ ีภูมิคุม กัน โอกาสของความเสีย่ งในดานตาง ๆ ต่าํ ลง ดังนัน้ ความนาจะเปนในการ ขยายอาชีพจึงประสบความสําเร็จคอนขางสูง เพราะมีการจัดการความรู ยกระดับความรูน ําไปใชและปรับปรุง แกไขเปนระยะ ๆ อยา งตอ เนอ่ื ง จงึ สง ผลทาํ ใหธุรกิจเขมแข็ง ยงั่ ยืนได เพราะรจู กั และเขา ใจตนเองตลอดเวลา การจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ (P) การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ เปนการดําเนินการที่มีองคประกอบรวม ดงั น้ี 1. เหตุการณหรือขัน้ ตอนการทํางาน ซึง่ จะบอกวาเหตุการณใดควรทําพรอมกัน หรือควรทําทีหลัง เปนการลําดับขั้นตอนในแตละกิจกรรมใหเปนแผนการทํางาน 2. ระยะเวลาที่กําหนดวาในแตละเหตุการณ จะใชเวลาไดไมเกินเทาไร เพือ่ ออกแบบการใชปจจัย ดาํ เนนิ งานใหส มั พนั ธก ัน 3. ปจ จยั นาํ เขาและแรงงานเปนการระบุปจจัยนําเขา และแรงงานในแตละเหตุการณวาควรใชเทาไร การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ มักจะนิยมใชผังการไหลของงานมาใชออกแบบการทํางานให มองเห็นความสัมพันธรวมระหวางเหตุการณ ระยะเวลา ปจจัยนําเขาและแรงงานจะชวยใหผูป ฏิบัติงานและ

60 ผูจ ัดการไดขับเคลือ่ นการทํางานสูค วามสําเร็จได ดังนัน้ ในการออกแบบแผนปฏิบัติงาน จําเปนตองใชองค ความรูที่สรุปไดในรูปของเอกสารขั้นตอนการทํางานมาคิดวิเคราะหและสรางสรรคใหเกิดแผนปฏิบัติการ ตวั อยาง วธิ ีดําเนินการจัดทําแผนปฏบิ ัติการพฒั นาคณุ ภาพดนิ ไรท นเหนอ่ื ย 1. ศึกษาวิเคราะหองคความรูเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพดิน มีกิจกรรมทีจ่ ะตองทํา 5 กจิ กรรม ประกอบดว ย 1. การตรวจสอบวเิ คราะหค ุณภาพดิน ผลการวิเคราะหพบวา มเี หตทุ ่จี ะตองทํา และเก่ยี วขอ งดังนี้ - เก็บตวั อยางเดมิ - สงตัวอยางดินใหกองเกษตรเคมี กรมวิชาการเกษตรวิเคราะห - รอผลการวเิ คราะห - ศกึ ษาผลวิเคราะหวางแผนตดั สนิ ใจกําหนดพืชท่ตี อ งผลติ 2. การไถพรวนหนา ดนิ ผลการวิเคราะหพ บวา มีเหตกุ ารณทจ่ี ะตอ งทาํ และเกีย่ วของ ดงั น้ี - ไถบุกเบิกดว ยผาน 3 ระยะ - ไถแปรดว ยผาน 7 ระยะ - ไถพรวนใหด นิ ละเอยี ดดว ยโรตาร่ี 3. การเพ่มิ อินทรียวตั ถใุ หก ับดิน ผลการวิเคราะหพบวา มเี หตุการณท ี่จะตอ งทํา และเกย่ี วของ ดงั น้ี - การหวา นปยุ หมกั - หวานเมลด็ ปยุ พชื สด - บํารุงรักษาปุยพืชสดและวัชพืชใหงอกงาม - ไถพรวนสับปุยพืชสดใหขาดคลุกลงดิน 4. การหมักสังเคราะหดิน ผลการวิเคราะหพบวามีเหตกุ ารณท ี่จะตอ งทาํ และ เกีย่ วของดังนี้ - ใหจุลนิ ทรยี เ รง การยอ ยสลาย - ตรวจสอบการยอยสลาย 5. การสรางประสิทธิภาพดิน ผลการวิเคราะหพบวามเี หตกุ ารณท ่จี ะตองทาํ และ เก่ยี วของดังนี้ - ใสจ ลุ ินทรยี ไมโครโลซา เพอ่ื ยอ ยหนิ ฟอสเฟต สรา งฟอสฟอรสั ใหก บั ดิน

61 - จัดรองคลุมหนาดินดวยฟางขางเพื่อปองกันความรอน รักษาความชื้นและ การเคลื่อนยายธาตุอาหารในดิน 2. วิเคราะหปริมาณงาน ลักษณะงาน กาํ หนดการใชเครอื่ งจักรกล ปจจัยการทํางานและแรงงาน 3. วิเคราะหงานกําหนดระยะเวลาของความสําเร็จของแตละเหตุการณ และสรุประยะเวลาทัง้ หมด ของกระบวนการ ตวั อยา ง แผนปฏิบตั ิการพฒั นาคณุ ภาพดนิ “ไรทนเหนอ่ื ย” 1. ผงั การไหลของงานพฒั นาดนิ 2. กจิ กรรมพัฒนาดนิ ประกอบดว ย 1. การวเิ คราะหค ุณภาพดนิ 2. การไถพรวนหนา ดนิ 3. การเพ่มิ อินทรยี วัตถุ 4. การหมักสังเคราะหดิน 5. การสรางประสิทธิภาพดิน 3. รายละเอยี ดปฏบิ ัติการ 3.1 การวิเคราะหค ณุ ภาพดิน ประกอบดวยระยะเวลาและการใชทรัพยากรดําเนินงาน ดงั น้ี (1) การเก็บตัวอยางดินกระจายจุดเก็บดินทัง้ แปลง (150 ไร) ใหครอบคลุมประมาณ 20 หลุม เก็บดินชัน้ บนและชัน้ ลางอยางละ 200 กรัมตอหลุม รวบรวมดินแตละชั้นมา บดใหเขากัน แลวแบงออกมาอยางละ 1,000 กรัม บรรจุหีบหอใหมิดชิดไมรัว่ ไหล ใช เวลา 5 วนั

62 (2) จดั การนาํ ตวั อยา งดนิ สง กองเกษตรเคมดี ว ยตนเอง รอผลการวิเคราะหจากกองเกษตร เคมี ใชเ วลา 30 วนั (3) ศึกษาผลการวิเคราะหวางแผนการผลิต ใชเ วลา 50 วนั 3.2 การไถพรวนหนา ดนิ ประกอบดวยเระยะเวลา และการใชทรัพยากรดําเนินงาน ดงั น้ี (1) ไถบุกเบิกดวยการจางรถติดนานมา 3 จานไถบุกเบิกครั้งแรก ใชเ วลาไมเกิน 5 วนั (2) ไถแปรเพอ่ื ยอ ยดนิ ใหแ ตกดว ยรถไถตดิ ผาน 7 จาน ไถตดั แนวไถบกุ เบกิ ใชเ วลา 5 วนั (3) ตพี รวนยอ ยดนิ ดว ยโรตาล่ี เพือ่ ยอ ยดินใหมีขนาดกอ นเลก็ สอดคลองกับสภาพการงอก ของเมล็ดพืช ใชเ วลาไมเ กิน 5 วนั 3.3 การเพม่ิ อนิ ทรียวัตถุใหกับดนิ ประกอบดว ยระยะเวลาและการใชทรัพยากรดําเนินงานดังนี้ (1) หวา นปยุ หมกั 150 ตนั บนพนื้ ท่ี 150 ไร ใชเ วลาไมเ กิน 5 วนั ใชคนงาน 3 คน และ ใชรถแทรกเตอรพวงรถบรรทุกปุยหมักกระจาย 150 จดุ แลวใชคนงานกระจายปุยให ทว่ั แปลง (2) หวา นเมล็ดปุย พืชสดคลุกเคลาจุลนิ ทรยี ไรโซเดยี ม ไรล ะ 20 กก. บนพ้ืนที่ 150 ไร ใช เวลาไมเ กนิ 5 วนั ใชคนงาน 2 คน (3) บํารงุ รักษาปยุ พชื สดและวชั พชื ใหง อกงามดว ยการใชน าํ้ ผสมจลุ ินทรยี อยา งเจือจาง ทกุ วนั เวน วนั ใชคนงาน 1 คน (4) ไถพรวนสับปุยพชื สดคลกุ เคลา ลงดนิ ดว ยโรตาล่ี 3.4 การหมักสังเคราะหดิน ประกอบดว ย (1) ใหจ ลุ ินทรีย เรงการยอยสลาย (พด1-พด 2) ไปพรอมกับนํา้ ทกุ วันเวน วัน ใชคนงาน 1 คน ตรวจสอบการยอยสลายในชวงตอนเชา 07.00 น. พรอ มวดั อณุ หภูมแิ ละ จดบันทกึ ทกุ วนั โดยความนา จะเปน ในวนั ท่ี 15 ของการหมัก อุณหภูมิตอ งลดลง เทา กบั อณุ หภูมิปกติใชผูจดั การแปลงดาํ เนนิ การ 3.5 การสรางประสิทธิภาพดิน ประกอบดว ย (1) ใชจุลนิ ทรยี ไมโครโลซา เพื่อการยอยสลายของฟอสฟอรัสคลุกลงดิน โดยตีพรวนดวย โรตาล่ี จัดรองปลกู ผกั ตามแผนคลุมหนา ดนิ ดวยฟางขา ว

63 (2) ใชแรงงาน 20 คน ดนิ มีคณุ ภาพพรอ มการเพาะปลกู การทํางานตามแบบแผนปฏิบัติการ (D) การทํางานตามแผนปฏิบัติการของผูรับผิดชอบ ยังใชว งจรเดม็ มง่ิ เชน เดยี วกนั โดย เริม่ จาก P : ศึกษาเอกสารแผนปฏิบัติการใหเขาใจอยางรอบคอบ D : ทําตามเอกสารขั้นตอนใหเปนไปตามขอกําหนดทุกประการ C : ขณะปฏิบัติการตองมีการตรวจสอบทุกขั้นตอนใหเปนไปตามขอกําหนด A : ถา มีการทาํ ผิดขอกาํ หนด ตองปฏิบัติการแกไขใหเปนไปตามขอกําหนด การตรวจสอบหาขอ บกพรอง (C) เปนขัน้ ตอนทีส่ ําคัญของการปฏิบัติการใชความรู สรางความเขมแข็ง ยัง่ ยืน โดยมี รูปแบบการตรวจ ติดตามขอบกพรองดังนี้ 1. การจดั ทาํ รายการตรวจสอบ ดวยการใหผูจัดการ และคนงานรวมกันวิเคราะหเอกสารแผนปฏิบัติการ และทบทวน รวมกับ ประสบการณทีใ่ ชแผนทํางาน วาควรมีเหตุการณใดบางทีค่ วรจะใหความสําคัญเพื่อการตรวจสอบแลวจัดทํา เอกสารรายการตรวจ ดงั ตวั อยา งนี้

64 ตัวอยา ง เอกสารรายการตรวจและบันทึกขอบกพรอง กจิ กรรม พัฒนาคุณภาพดนิ ไรท นเหน่ือย สําหรบั ปฏบิ ัตกิ ารต้งั แตว ันท่ี 5 ธนั วาคม 2551 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2552 รายละเอียดเหตุการณ 3.13.2 = หวา นเมลด็ ปยุ พชื สดแลว คลกุ เคลา จลุ นิ ทรียไ รโซเปย มไรล ะ 20 กก. 3.23.3 = ใหน้ําผสมจุลนิ ทรียอ ยางเจือจางกบั ปุยพชื สดทุกวนั เวนวนั 44.1 = ใหจ ลุ นิ ทรยี เรง การยอ ยสลาย (พด1 + พด2) ไปพรอ มกบั นาํ้ ทกุ วนั เวน วนั เปน เวลา 15 วนั 55.1 = ใชจ ุลนิ ทรียไมโครโลซา เพ่อื ยอยสลายหนิ ฟอสเฟรส คลกุ ลงดินที่ยอยสลายแลว 5.15.2 = จดั รอ งปลกู ผักคลมุ หนา ดนิ ดวยฟางขา ว 2. ปฏิบตั กิ ารตรวจสอบ การปฏิบัติการตรวจสอบทํา 2 ขัน้ ตอน คือ 2.1 ตรวจสอบหาขอบกพรองของเอกสารแผนปฏิบัติการ เปนการดําเนินงานรวมกันระหวาง ผูจ ัดการกับคนงาน วาการทีค่ นงานไดปฏิบัติการศึกษาเอกสารแผนและปฏิบัติตามกิจกรรมใน ทุกเหตุการณไดค รบคิดวา กิจกรรมเหตุการณใ ด มขี อ บกพรอ งท่คี วรจะไดแ กไข 2.2 ตรวจสอบภาคสนาม เปนการทํางานรวมกันระหวางผูจัดการกับคนงาน เพื่อตรวจหา ขอบกพรองในการดําเนินงาน รวมกันคดิ วเิ คราะหระบสุ ภาพทเี่ ปนปญ หา และแนวทางแกป ญ หา

65 กจิ กรรม : ตวั อยา ง เอกสารบันทกึ ขอบกพรอ งการดําเนินงานพัฒนาคณุ ภาพดนิ ไรท นเหนื่อย ปฏบิ ตั กิ าร ระหวา งวนั ท่ี 5 ธนั วาคม 2551 ถงึ วนั ท่ี 30 มกราคม 2552

66 3. การประเมนิ สรปุ และเขยี นรายงานผล เปนขัน้ ตอนการนําผลการตรวจติดตามตลอดรอบผลการผลิตเกษตรอินทรียไปประเมินความรุนแรง ของขอบกพรองวาเกิดผลมาจากอะไรเปนสวนใหญ แลวดําเนินการปฏิบัติการแกไขขอบกพรองทัง้ องคความรู และปจจัยนําเขาดําเนินงาน ดงั ตัวอยา ง

67 การปฏิบัติการแกไ ขและพัฒนา (A) เปนกิจกรรมตอเนื่องจากกิจกรรมการตรวจสอบหาขอบกพรอง และกําหนดแนวทางแกไข ขอบกพรองโดยมีกําหนดระยะเวลา เมือ่ ถึงกําหนดเวลาจะตองมีการติดตามผลวาไดมีการปฏิบัติการแกไข ขอบกพรองตามแนวทางที่กําหนดไว หรอื ไมเกิดผลอยา งไรโดยมขี นั้ ตอน การดาํ เนนิ งานดงั น้ี 1. ตรวจติดตามนําเอกสารสรุปประเมินผลการศึกษา 2. เชิญคณะผูร ับผิดชอบการแกไขขอบกพรองมาประชุมแลกเปลีย่ นเรียนรูเสนอสภาพปญหา ขอ บกพรอ ง ปจ จยั ที่สงผลตอความบกพรอ งและการแกไ ข 3. ผูร ับผิดชอบตรวจติดตามและผูร ับผิดชอบแกไขขอบกพรองเขาศึกษาสภาพจริงของการ ดาํ เนนิ งาน แลวสรปุ ปจจัยทเ่ี ปนเหตุและปจจัยสนับสนุนการแกไ ข 4. นําขอ มูลทไ่ี ดนําสูก ารปรับปรุงแกไขพัฒนาเอกสารองคความรู ใหม ปี ระสิทธิภาพ สงู ยง่ิ ขน้ึ บทสรุป การขยายขอบขายอาชีพเพือ่ สรางความเขมแข็ง ยัง่ ยืน ใหกับธุรกิจ จําเปนจะตองดําเนินงานอยางเปน ระบบ ไมใชทําไปตามทีเ่ คยทํา ดังนัน้ การจัดการความรูเปนเรือ่ งสําคัญของทุกคนทีป่ ระกอบอาชีพ จะขยาย ชองทางการประกอบอาชีพออกไป จาํ เปน จะตองมีคณุ สมบัติ ดงั น้ี 1. เปนบุคคลทีท่ ํางานบนฐานขอมูล ซึง่ จะตองใชความรูดานตาง ๆ เขามาบูรณาการรวมกันทั้ง ระบบของอาชีพ 2. ตอ งใชก ระบวนการวจิ ัยเปนเคร่อื งมือ นั่นคือเราจะตองตระหนักเห็นปญหาจะตองจัดการความรู หรือใชแกปญหา จัดการทดลองสวนนอย สรุปองคความรูใ หมั่นใจ แลวจึงขยายกิจกรรมเขาสูการขยาย ขอบขายอาชีพออกไป 3. ตองเปนบุคคลที่มีความภูมิใจในการถายทอดประสบการณการเรียนรูแ ลกเปลีย่ นเรียนรู สราง องคความรูใหสูงสงเปนทุนทางปญญาของตนเอง ชุมชนได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook