Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Control and Prevention Rabies

Control and Prevention Rabies

Published by anisaarunkeeree, 2021-06-24 09:07:15

Description: อนิสา อรัญคีรี ผู้แต่ง
เอกสารประกอบคำบรรยายให้ความรู้แก่อสม. ในโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า

Keywords: Control and Prevention Rabies

Search

Read the Text Version

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลบางทราย โครงการสนบั สนนุ ชุมชนเขม้ แขง็ ภายใตค้ วามร่วมมือทางวิชาการ ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ภายใต้ “โครงการสตั ว์ปลอดโรค คนปลอดภยั จากโรคพิษสนุ ขั บา้ ” สนองพระปณธิ านของศาสตราจารย์ ดร. สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราชกุมารี กรมพระศรสี วางควฒั นวรขัตติยราชนารี วันที่ ๑๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ การจัดการอบรมแกนนาสขุ ภาพในชมุ ชน ตาบลบางทราย อ. เมอื งชลบรุ ี ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบางทราย เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.

การควบคุม ป้องกนั โรคพิษสุนขั บา้ ในประเทศไทย อาจารย์ อนิสา อรญั คีรี วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบรุ ี

สถานการณ์โรคพิษสุนขั บา้ ในประเทศไทย ปีพ.ศ. จานวนหวั สตั ว์ที่ให้ผลบวก(เปน็ โรคพิษสนุ ัขบา้ ) 2556 102 2557 250 2558 330 2559 456

สถานการณโ์ รคพิษสนุ ัขบ้า ในประเทศไทย ปีพ.ศ. จานวนคนที่เปน็ โรคพิษสนุ ัขบ้า 2556 7 2557 6 2558 5 2559 12

สถานการณ์โรคพิษสุนัขบา้ มลู เหตุของการจดั ทาโครงการสตั ว์ปลอดโรค ในประเทศไทย คนปลอดภยั จากโรคพิษสุนขั บ้า โครงการ “สัตว์ปลอด ปีพ.ศ. จานวนคนที่เสียชีวิต โรค คนปลอดภยั จาก โรคพิษสุนัขบ้า”ตาม 2560 11 พระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร. 2561 18 สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรม พระศรีสวางควฒั น 2562 3 วรขตั ติยราชนารี 1 ม.ค. –30 พ.ย. 2563 3 ซึ่งผเู้ สียชีวิตทกุ ราย มีประวัติถกู สนุ ัขที่ตนเลีย้ งไวก้ ัดหรือข่วน โดยไม่ได้ไปพบแพทยเ์ พือ่ รบั การ ฉีดวคั ซีนปอ้ งกันโรคพิษสนุ ัขบ้า หรือไปรบั แตไ่ ม่ครบตามกาหนดเวลา

ผลการตรวจยืนยันในสตั ว์ 1 มกราคม 3 กันยายน 2561 จานวน 1,235 ตัวอยา่ ง พบว่าสัตวม์ ีเช้อื กระจาย อยูใ่ นเขตภาคกลาง ภาค ตะวนั ออก ตะวันออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง มากทีส่ ดุ แหล่งข้อมูล: สานกั ควบคมุ ป้องกันและบาบัดโรคสัตว์ กรมปศุสตั ว์

โรคพิษสุนขั บา้ เกิดจากเชื้อไวรัสพิษสุนขั บ้า (Rabies Virus) เปน็ โรคติดตอ่ จาก สัตว์เลือดอุ่นโดยเฉพาะ สตั ว์เลี้ยงลกู ดว้ ยน้านม



อาการ สาคญั ใน สตั ว์ ระยะแรกสตั วจ์ ะมีนิสัยผิดไปจากเดิม มอี าการตืน่ เต้น ตกใจง่าย กระวนกระวาย กระโดดงบั ลม หรือแมลง กินของแปลกๆ เช่น เศษไม้ หิน ดิน ทราย กัดทกุ สิ่งทุกอย่างที่ขวางหน้า กินอาหารได้นอ้ ยลง ซกุ ซ่อนอยใู่ นที่มดื และเงียบๆ ไมก่ ินอาหาร อาจเอาเทา้ ตะกรุยคอคล้ายกระดกู ติดคอ มา่ นตาเบิกขยาย และไวต่อแสงและเสยี ง ระยะสุดทา้ ยสัตวจ์ ะมีอาการอมั พาต ทาให้เสียงเห่าหอนผิดปกติ หลงั แข็ง หางตก ลิ้นหอ้ ย โดยคางจะห้อย น้าลายไหลซึม กลืน ไม่ได้ ขากรรไกรแขง็ อ้าปากค้าง ขาสั่น เดินไม่ม่นั คง อาการอัมพาตจะลกุ ลามไปท่ัวตัว แล้วจะล้มลง ชักและ ตายภายใน 10 วนั นบั ตัง้ แตว่ ันเริ่มแสดงอาการ

การปอ้ งกนั และควบคุมโรคพิษสนุ ขั บ้าในสัตว์ การตรวจวิเคราะห์ 10 จังหวัดแรกทีพ่ บโรคพิษสุนขั บา้ ในปี 2559 ได้แก่ สงขลา ชลบรุ ี สมทุ รปราการ อุบลราชธานี กรงุ เทพมหานคร บรุ ีรมั ย์ ยโสธร สรุ ินทร์ กาฬสินธ์ุ ปราจีนบุรี

การปอ้ งกนั และควบคุมโรคพิษสุนัขบา้ กาหนดยุทธศาสตรท์ ีส่ าคญั ยทุ ธศาสตรท์ ีส่ าคญั ทีด่ าเนินการมาแลว้ โดยหน่วยงานตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง (มหาวิทยาลัย (คณะสตั วแพทย)์ , ปศุสัตว,์ อปท) 1. การเฝา้ ระวงั ป้องกัน และควบคมุ โรคพิษสนุ ัขบา้ ในสตั ว์ การสารวจจานวนสัตว์เลีย้ ง สนุ ขั แมว และลงทะเบียน >> บันทึกจัดทาฐานขอ้ มลู >> เกิดนวัตกรรม ทาปา้ ยบอกจานวนสตั ว์เลี้ยงหนา้ บ้าน สะดวกต่อการสารวจ การจดั หาวัคซีนสาหรบั สตั ว์ให้เพียงพอ อบรม อสม. อาสาสมคั รฉีดวัคซีนใหส้ ัตว์เลี้ยง การควบคมุ และลดจานวนประชากรสนุ ัขบา้ และแมว

กฎหมาย พระราชบญั ญัติที่เกี่ยวขอ้ งกับการควบคุมปอ้ งกันการเกิดโรคพิษสุนัขบ้า พรบ.โรคพิษสนุ ัขบ้า พ.ศ. 2535 : มี 28 มาตรา ผ้ใู ดผา่ ฝืนระวางโทษปรับไมเ่ กิน 200 บาท -มาตรา 5 เจ้าของสุนขั ต้องนาสนุ ัขไปฉีดวคั ซีนครั้งแรกเมื่อสุนขั อายุ 2-4 เดือน และครงั้ ต่อไปตามกาหนดในใบนดั -มาตรา 6 เมือ่ สัตว์ไดร้ บั วัคซีนแล้วตอ้ งติดเครือ่ งหมายแสดงดว้ ย

กฎหมาย พระราชบญั ญัติที่เกีย่ วขอ้ งกบั การควบคมุ ปอ้ งกนั การเกิดโรคพิษสุนัขบ้า พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 : มี 16 หมวด 90 มาตรา หมวดที่เกี่ยวขอ้ ง หมวดที่ 6 การควบคุมการเลี้ยงและปลอ่ ยสตั ว์ มาตรา 29 ในภาวะที่มีอนั ตรายจากเชื้อโรคทีเ่ กิดจากสตั ว์ หนว่ ยราชการมีอานาจ ในการควบคมุ หรือปล่อยสตั ว์เลี้ยงได้

กฎหมาย พระราชบญั ญตั ิที่เกีย่ วขอ้ งกับการควบคุมป้องกันการเกิดโรคพิษสนุ ขั บา้ ข้อบญั ญัติกรุงเทพมหานคร เรือ่ ง การควบคุมการเลีย้ งหรือปล่อยสนุ ัข พ.ศ. 2548 : มี 5 หมวด 1 เฉพาะกาล 28 ขอ้ (ปจั จบุ นั เพื่อการควบคมุ และปอ้ งกนั การเกิดโรค พิษสุนขั บ้าของประเทศไทย เริ่มนามาใช้ ทัว่ ไป แตย่ งั ไมเ่ ข้มงวดนัก เชน่ การจดทะเบียนสุนัข การควบคมุ การเลี้ยงสนุ ัข)



การป้องกันและควบคมุ โรคพิษสนุ ขั บา้ กาหนดยทุ ธศาสตรท์ ี่สาคัญ 2. การจดั การระบบศนู ย์พกั พิงสตั ว์ >>> มหาวิทยาลยั กรมปศุสัตว์ องคก์ าร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ , องค์กรเอกชน ศูนยพ์ กั พิงสตั ว์ตน้ แบบ ปี 2560 จานวน 1 ศนู ย์ >> นครราชสีมา ปี 2561 จานวน 1 ศนู ย์ >> อุดรธานี ปี 2562 จานวน 2 ศูนย์ >> กรงุ เทพฯ อทุ ยั ธานี ปี 2563 จานวน 2 ศนู ย์ >> เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช

การป้องกันและควบคมุ โรคพิษสนุ ขั บา้ กาหนดยทุ ธศาสตร์ที่สาคญั 3. การเฝ้าระวงั ป้องกนั ควบคุมและดแู ลรกั ษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน - ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ดา้ นการเฝา้ ระวัง ป้องกันควบคุมและดูแลรกั ษาโรคพิษ สุนัขบา้ ในคนให้ทุกหน่วยงาน/กลุ่มคน/แกนนาทีเ่ กี่ยวข้อง 4. การขับเคลื่อนการดาเนินงานโรคพิษสนุ ขั บ้าในทอ้ งถิน่ และอืน่ ๆ อีก 4 ยทุ ธศาสตร์

โรคพิษสนุ ัขบา้ เช้อื เขา้ ส่สู มอง กลไปการเกิดโรค พิษสุนขั บ้าในคน

อาการ สาคัญใน คน อาการทีพ่ บไดบ้ ่อย คือ คันบริเวณบาดแผลทีถ่ กู กัดซึง่ แผลอาจหายสนทิ ไปนานแลว้ (ระยะฟกั ตัว 3 สัปดาห์ ถึง 6 เดือน) กลืนลาบากเพราะกล้ามเนอ้ื ที่ลาคอและกล่องเสียงหดเกร็งตวั อยากดืม่ น้าแตก่ ลืนไมไ่ ดท้ าให้มอี าการกลวั นา้ นา้ ลายฟมู ปาก บ้วนน้าลายบอ่ ยกระวนกระวาย ตืน่ เต้น ใจคอหงุดหงิด หายใจเร็ว ประสาทสมั ผสั จะไวต่อการกระต้นุ ทาใหต้ กใจง่ายและสะดุง้ ผวาเมอ่ื ถกู ลม หรือไดย้ ินเสียงดัง กล้ามเน้อื แขนขาเกรง็ กระตกุ ระยะหลงั จะเป็นอมั พาตหมดสติและเสียชวี ิตภายใน 2-7 วนั นับจากเร่มิ แสดงอาการ

การดแู ลตนเองไม่ใหถ้ ูกสตั วเ์ ลือดอุ่นกดั การป้องกันกอ่ นเกิดโรค

การปอ้ งกันหลงั สมั ผัสโรค (ถกู สตั ว์เลือดอุ่นเลีย้ งลกู ด้วยนมกดั ) การดูแลเรื่องการทาแผลใส่ยาหลงั ถกู กัด ทันที ขังสัตว์ ถ้ามีเจ้าของ การไปทาแผลทีโ่ รงพยาบาล การไปรบั วคั ซีนปอ้ งกันโรคพิษสุนัขบ้าที่ โรงพยาบาล





การปอ้ งกันหลังสัมผสั โรค (ถกู สตั ว์เลือดอนุ่ เลี้ยงลูกด้วยนมกดั ) การไปรับวัคซีนป้องกันโรคพิษสนุ ขั บ้าที่โรงพยาบาล วคั ซีนที่ใช้ในโรงพยาบาล



มารู้จักวัคซีนปอ้ งกันโรคพิษสุนขั บา้ ที่ใช้ในโรงพยาบาลกัน ชนิดของวัคซีนป้องกนั โรคพิษสนุ ขั บ้าที่แนะนาโดยองค์การอนามยั โลก คือ วคั ซีนชนิด purified cell culture and embryonated egg-based rabies vaccines (CCEEVs) (เพาะเชือ้ จากไข่แดง ผทู้ ีแ่ พ้ไข่ต้องระวัง) ซึง่ วคั ซีนชนิดดงั กลา่ วที่มีจาหนา่ ยในประเทศไทย มีทั้งหมด 3 ชนิด7ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. Purified chick embryo cell rabies vaccine (PCECV) - Rabipur® 2. Purified vero cell rabies vaccine (PVRV) – Verorab®, Abhayrab® 3. Chromatographically purified vero cell rabies vaccine (CPRV) - Speeda® ผูป้ ่วยทีไ่ ด้รบั วัคซีน ชนิดนี้ ต้องไปรบั ตามกาหนดในวันที่นดั ไว้ในใบนัดทกุ คร้ัง เพื่อประสิทธิภาพ ในการปอ้ งกนั โรค

มาร้จู ักวคั ซีนปอ้ งกันโรคพิษสนุ ขั บ้า ทีใ่ ช้ในโรงพยาบาลกนั

การฉีดยา มี 2 แบบ * เขา้ กล้ามเนือ้ * เขา้ ใตผ้ ิวหนัง 2 ข้าง ปัจจบุ ัน ใช้แบบนี้ เพราะประหยัดยา ฉีดเฉพาะที่ตน้ แขน ไมฉ่ ีดเขา้ สะโพก เพราะมีไขมัน มาก ยาดูดซึมไมด่ ี





มารูจ้ ักวคั ซีนป้องกนั โรคพิษสุนขั บา้ ที่ใชใ้ นโรงพยาบาลกนั Rabies immunoglobulin (RIG) มี 2 ประเภท เซรัม่ ม้า เซร่มั คน

ฉีดอิมมนู โนโกลบูลิน รอบแผล ฉีดครง้ั เดียวหลังถู สตั วก์ ัด

มีการทดสอบยา กอ่ นฉีด ทกุ คร้งั ฉีดแลว้ รอผลการ ทดสอบ 15 นาที

มารู้จักวคั ซีนป้องกนั โรคพิษสุนัขบ้า ทีใ่ ชใ้ นโรงพยาบาลกัน การให้ Rabies immunoglobulin (RIG) (วัคซีนที่กระตนุ้ ให้ร่างกายมีภูมิทันที) · ขอ้ บ่งชี้ในการฉีด RIGได้แก่ 1. บาดแผลระดับ category III 2.บาดแผลบริเวณ ศีรษะ คอ และมือ 3. ผปู้ ว่ ยโรคภมู ิคุ้มกันบกพร่องรุนแรง (severe immunodeficiency) กรณีผู้ปว่ ยโรค HIV ที่มีระดบั ภมู ิคุ้มกนั ตา่ หรือไม่ไดร้ ับยาตา้ นไวรัส แนะนาให้ RIGท้ังในบาดแผลแบบ category II และ III 4. ผู้ที่ถูกกดั ในพื้นที่ที่พบผปู้ ่วยติดเชือ้ โรคพิษสุนขั บา้ 5. ผทู้ ี่ถกู ค้างคาวกัด หรือสัมผัสโรคจากค้างคาว

ระดับบาดแผล วิธีการใหว้ ัคซีนป้องกนั โรคพิษสนุ ัขบ้า ขึน้ กับลกั ษณะของบาดแผล ซึง่ มีทงั้ หมด 3ประเภท ดงั นี้ Category I ไมม่ ีบาดแผล สมั ผสั สตั ว์ หรือถกู สัตว์เลียโดยทีผ่ ิวหนงั ไม่มีบาดแผล ไม่ต้องใหว้ ัคซีนปอ้ งกันโรคพิษสุนัขบา้ ในผสู้ ัมผัสเหลา่ นี้ Category II บาดแผลถลอก โดยไมม่ ีเลือดไหล ใหว้ ัคซีนป้องกนั โรค ไมต่ อ้ งให้ rabies immunoglobulin (RIG) Category III บาดแผลที่มี เลือดออกชัดเจน ให้วัคซีนป้องกนั โรค ร่วมกับการให้ RIG

คาแนะนา เมื่อได้รับฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนขั บา้ 1. ไปฉีดให้ตรงวันนดั ทกุ ครง้ั ถา้ ผิดนัดให้รีบไปฉีดทันที แต่ใหท้ ราบว่า ประสิทธิภาพของการกระตนุ้ ร่างกายใหส้ รา้ งภูมิจะไมไ่ ดเ้ ทา่ เดิม 2. ควรไปฉีดทีส่ ถานพยาบาล(โรงพยาบาล) เดียวกันทกุ คร้ังทีน่ ัด เพราะแตล่ ะแหง่ มีวัคซีนใช้ตา่ งชนิดกัน และต่างวิธีการฉีดด้วย 3. การฉีดวคั ซีนเข้าใต้ผิวหนัง หลังฉีดผิวหนงั ส่วนนั้นจะนูนแดง เล็กนอ้ ย ต้องใช้เวลารอยแดงจึงจะหายไป ไม่ต้องกงั วล 4. ควรไปฉีดในเวลาราชการ เพือ่ เป็นการประหยัดยา เนื่องจากยา ขวดหนึ่งใชไ้ ด้หลายคน และตอ้ งทิง้ เมือ่ เปิดครบ 8 ชว่ั โมง

ตอบขอ้ ซกั ถาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook