Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโครงสร้างหัวใจหมู อวัยวะในการเเลกเปลี่ยนเเก๊ส การวัดปริมาตรปอด

รายงานโครงสร้างหัวใจหมู อวัยวะในการเเลกเปลี่ยนเเก๊ส การวัดปริมาตรปอด

Published by PITSANU DUANGKARTOK, 2022-06-07 15:05:26

Description: รายงานโครงสร้างหัวใจหมู อวัยวะในการเเลกเปลี่ยนเเก๊ส การวัดปริมาตรปอด

Search

Read the Text Version

รายงาน เรือ่ ง การศึกษาโครงสรา้ งของหวั ใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด จดั ทาโดย นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 หอ้ ง 4 นางสาว ชนญั ธิดา สายปัญญาใย เลขที่ 1 นาย ชิษณุชา มณีจักร เลขที่ 7 นาย ชุติพัทธ์ สุขแก้ว เลขที่ 10 นาย วิชญะ เขียวทะวงค์ เลขที่ 32 นาย พิษณุ ดวงกระโทก เลขที่ 42 เสนอ มาสเตอร์ ทศพล โฆษิตพล รายงานฉบับนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของวิชาชีววิทยา ว30241 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลยั

1. การศึกษาโครงสรา้ งของหวั ใจหมู 2. ถุงมอื ยาง 3. ถาดผา่ ตดั 1.1 อุปกรณ์ในการดาเนนิ กิจกรรม 1. หวั ใจหมู 4. มีดผ่าตดั 5. เข็มเขีย่ 6. กรรไกร 7. คีมคีบ 8. แท่งแก้ว 9. มีด 1.2 วิธีการปฏิบัติการ 1. สังเกตขนาด รปู รา่ งภายนอก และผิวรอบนอกของหัวใจ

2. สงั เกตความหนาของผนังหลอดเลอื ดทเ่ี ชือ่ มต่อกับหวั ใจ ใช้แท่งแก้วหรือน้วิ มอื สอดลงไปตามหลอดเลอื ด 3. ใช้มีดผ่าตั้งแต่ส่วน Apex of heart เข้ามาจนถึงโคนของหลอดเลอื ด และสังเกตลกั ษณะล้นิ ของหวั ใจที่กนั้ ระหว่างหอ้ ง atrium และห้อง ventricle และโครงสร้างต่างๆภายในหวั ใจ เช่น ผนังกั้นในแต่ละห้อง เปน็ ต้น ในร่างกายมนุษย์ หัวใจจะวางตัวอยู่ในช่องอกและเยื้องไปทางซ้ายเล็กน้อย ในผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพสมบรู ณ์ หัวใจจะมี น้าหนักประมาณ 250-350 กรัม และมีขนาดประมาณสามในส่ีของกาปั้น บนพื้นผิวของหัวใจจะมีร่องหัวใจ (cardiac grooves) ซึ่งเปน็ บรเิ วณทีม่ ี การวางตัวของหลอดเลอื ดหวั ใจ ร่องหัวใจทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ 1. ร่องโคโรนาร่ี (Coronary grooves) หรือรอ่ งเอตริโอเวนตริคิวลาร์ (atrioventricular groove) 2. ร่องอินเตอร์เวนตริคิวลาร์ด้านหน้า (Anterior interventricular groove) 3. ร่องอินเตอร์เวนตริคิวลาร์ด้านหลัง (Posterior interventricular groove)

1.3 ผนงั ของหวั ใจประกอบดว้ ยเน้อื เยือ่ 3 ช้ัน Endocardium Epicardium Myocardium Apex of heart 1.4 ห้องหัวใจ Right atrium Left atrium Right ventricle Left ventricle 1.5 ล้นิ หัวใจ Tricuspid Valve Mitral Valve or Septum Bicuspid valve

Aortic Valve Pulmonary Valve 1.6 หลอดเลอื ดหัวใจ Coronary artery Pulmonary vein Aorta 1.7 โครงสร้างอืน่ ๆ Pulmonary artery Thymus gland Chordae tendinae Papillary muscle

1.8 สรปุ ผลการทดลอง หัวใจมีสีแดงอยภู่ ายในเยื่อหุ้มหวั ใจ แตล่ ะห้องมีขนาดแตกต่างกัน มีความหนาแน่นต่างกัน มีหลอดเลอื ดรอบหัวใจทา หน้าที่ส่งเลือดไปเล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจ หัวใจหมูมี 4 ห้องคือ Right atrium Right ventricle Left atrium Left ventricle โดย ห้อง atrium กับ venricle จะมี valve กั้นเพื่อป้องกนั ไม่ให้เลอื ดไหลย้อนกลับ โดยล้นิ แตล่ ะลนิ้ จะมีกล้ามเนือ้ ยึดลิ้นเพื่อบังคับ การปิด-เปิดของลนิ้ โดยหวั ใจห้องลา่ งซ้ายจะมีผนังหนาทีส่ ุดเพราะตอ้ งสูบฉดี เลอื ดไปเล้ียงสว่ นต่างๆของร่างกายและขนาด ของหลอดเลอื ด aorta จะมีผนังหนาเพือ่ รองรับแรงดันเลอื ดทส่ี ูบฉดี มาจากหัวใจห้องล่างซ้าย เปรยี บเทียบลักษณะของผนงั หัวใจทัง้ 3 ช้ัน ชือ่ ลกั ษณะ ผนงั ชัน้ นอก Epicardium มีลกั ษณะบาง เปน็ ชั้นของเยื่อหุ้มหวั ใจ (pericardium) มีไขมันมาห่อหุ้มเพือ่ ปอ้ งกัน การเสยี ดสี ผนงั ชั้นกลาง Myocardium มีความหนา เป็นชั้นของกล้ามเนอื้ หัวใจ ผนังชน้ั ใน Endocardium เป็นช้ันเยือ่ บุภายในผนงั ของหัวใจเชื่อมตอ่ กับล้นิ หวั ใจ เปรยี บเทียบลักษณะของลิน้ หัวใจ ชือ่ ลิ้นหัวใจ บรเิ วณที่พบ ลักษณะ 1. tricuspid valve กั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวากบั ลา่ งขวา มีเอน็ ยึดแผ่น 3 แผ่น 2. bicuspid valve กั้นระหว่างหัวใจห้องบนซ้ายกับลา่ งซ้าย มีเอน็ ยึดแผ่น 2 แผ่น 3. aortic valve ก้ันระหว่างหวั ใจห้องลา่ งซ้ายกบั เสน้ เลอื ด aorta เป็นแผ่นรปู เส้ยี วพระจันทร์ ไมม่ ีเอน็ ยึด 4. pulmonary valve ก้ันระหว่างหวั ใจห้องลา่ งขวากบั เสน้ เลอื ด pulmonary เป็นแผ่นรปู เส้ยี วพระจนั ทร์ artery ไมม่ ีเอน็ ยึด 2. โครงสรา้ งอวยั วะแลกเปลีย่ นแก๊ส (ปลา) 2.1 อุปกรณ์ในการดาเนนิ กิจกรรม 1. ปลานิล (ควกั ไสอ้ อก) 2. ถุงมือยาง 3. มีดผ่าตดั 4. คีมคีบ 5. มีด

2.2 วิธีการปฏิบตั ิการ 1. เตรียมปลานิลและทาการใช้มดี ผา่ ตดั ผ่าตรงส่วนเหงือกออกมา 2. ทาการแกะชอ่ งเหงือกออกมาและสงั เกตโครงสร้างภายในช่องเหงือก 2.3 ศึกษาโครงสร้างภายนอกและสว่ นประกอบภายในช่องเหงือกของปลานิล (Oreochromis niloticus) เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้าจืด (fresh water) มีเหงือก (Gill) เป็นอวัยวะทาหน้าที่แลกเปล่ียนแก๊สกับน้า โดยมีพื้นที่ สัมผัสกับน้ามากมาย และในเหงือกจะมีหลอดเลือดฝอยมาเล้ียงเหงือก อาจมีผิวบาง ๆ หรือมีเซลล์เพียงแถวเดียวกั้น ระหว่างเลอื ดกับนา้ หรือมีผนงั หลอดเลอื ดบาง ๆ เพื่อสะดวกในการรบั ออกซิเจนจากน้าและคายคาร์บอนไดออกไซด์ External Anatomy Caudal (Tail) Fin Soft Dorsal Fin Spiny Dorsal Fin Scales Eye Mouth Anal Fin Pectoral Fins

เหงือกปลาเปน็ อวยั วะที่ไมเ่ ปิดให้เห็นโดยตรง แตม่ ีแผ่นแก้ม ( Operculum ) ปิด โดยเฉพาะบริเวณของของแผ่นแก้ม ด้านที่ติดกับลาตัวนั้นเปิดปิดได้ เมื่อปลาอ้าปากน้าจะผ่านปากเข้าไปปลายนี้จะปิด เมื่อมันต้องการให้น้าไหลผ่านเหงือกไป ปลายแผ่นแก้มด้านนจี้ ะเปิด Gill rakers Operculum Gill filament Gill arch 2.4 กลไกการหายใจของปลา การแลกเปลย่ี นก๊าซที่เหงือกเกิดขึ้นจากน้าไหลผ่านเหงือกโดยผ่านเข้าทางปาก ผ่านช่องในคอหอย ผ่านเหงือก และ ผ่านออกนอกตัวปลา การหายใจในน้าเพื่อดงึ ออกซิเจนจากน้ามีข้อเสียเปรียบเมื่อเทียบกับการหายใจบนบก สัตว์ที่หายใจ ดว้ ยเหงือกจึงต้องมีวิธีการเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการหายใจโดย 1) การที่เนือ้ เยือ่ เหงือกมีการพับซ้อนหรือม้วนตวั เพื่อเพิ่มพืน้ ผิวในการแลกเปล่ียนก๊าซ 2) การจัดให้มกี ารจดั เรียงตัวของเสน้ เลอื ดฝอยให้สมั ผสั กบั น้ามากทีส่ ดุ 3) การทาให้น้าไหลผา่ นเหงือกตลอดเวลาและมากที่สุด เช่น การว่ายน้า 4) การไหลของนา้ ผ่านเหงือกต้องไหลสวนทางกบั การไหลของเลอื ด

2.5 สรปุ ผลการทดลอง ภายในช่องเหงือกของปลาจะประกอบไปดว้ ยอวัยวะสว่ นสาคญั อยดู่ ว้ ยกนั 3 อย่าง ได้แก่ Gill filament (เสน้ เหงือก) , Gill arch (กระดูกเหงือก) และ Gill rakes (ซี่กรอง) โดยอวัยวะทั้งสามอย่างจะมีอยู่ภายใน Operculum ซึ่งต่างก็ทาหน้าที่ ต่างกนั ดังนี้ 1. Gill filament - เสน้ เหงือกแตล่ ะเสน้ จะแตกแขนงเป็นเสน้ ฝอย ๆ (leaflets) สน้ั ๆ งอกออกสองข้าง เพือ่ เพิ่มพนื้ ที่ผิวในการ แลกเปล่ยี น O2 และ CO2 มากขึน้ 2. Gill arch - เป็นแกนยึดเกาะของเสน้ เหงือก เป็นกระดกู แข็งงอโค้ง หันสว่ นหน้าเว้ารับช่องปากและสว่ นโค้งดา้ นทา้ ยไปทาง ช่องเหงือก กระดูกเหงือกนีม้ ี 4 อัน 3. Gill rakes - ทาหน้าที่คล้ายที่กรองเป็นตะแกรง กั้นอาหาร เศษผง หรือส่ิงต่าง ๆ ที่ติดมากับน้า ไม่ให้ไปรบกวนบริเวณ เสน้ เหงือกและยังช่วยสกดั กั้นอาหารให้ผ่านลงตรงช่องคอ (Pharynx) ไมใ่ ห้หลุดไปทางชอ่ งเหงือก 3. โครงสรา้ งอวยั วะแลกเปลีย่ นแกส๊ (หมึก) 3.1 อปุ กรณ์ในการดาเนนิ กิจกรรม 1. หมึกกลว้ ย (ไมค่ วกั ไสอ้ อก) 2. ถุงมือยาง 3. ถาดผ่าตัด 4. มีดผ่าตัด 5. เข็มเขี่ย 6. กรรไกร 7. คีมคีบ 8. มีด

3.2 วิธีการปฏิบัติการ 1. เตรียมหมึกกลว้ ยและทาการใช้มดี ผา่ ตดั ผ่าตามยาวบริเวณตั้งแต่ใต้หัวลงมาจนถึงท้ายลาตวั 2. ทาการคลีผ่ วิ หนงั บรเิ วณลาตัวออกมาและสงั เกตโครงสร้างภายในร่างกาย 3.3 ศึกษาโครงสร้างภายนอกและสว่ นประกอบภายในของหมึกกลว้ ย (Decapodiformes) ไม่มีเปลือก มีเหงือก 1 คู่ (Dibranchia) อยู่ภายในช่องตัว มีระยางค์รอบปาก 4-5 คู่ เรียกว่า หนวด (Tantacle) และ แขน (Arm) บนหนวดแตล่ ะเสน้ มีปุ่มดดู (Sucker) ภAาnยaใtนoลmาตyัวขoอfงsหqมuึกMiจdaะมntีโlคeรงสร้างของแข็งเปน็ แผ่นใสคล้ายพลาสติก Mantle Tentacles Collar Radula Fin Arms Eye Sucker cups

Pollial cartilage Siphon Neck Rectum Kidney Gill Bronchial heart 3.4 กลไกการหายใจของหมึกกลว้ ย น้าที่ไหลผ่านลาตัวจะถูกดันออกทางช่องไซฟอน (Siphon) ซึ่งมีประโยชน์ในการแลกเปล่ียนแก๊สและการเคล่ือนที่ มีจังหวะ การยืดหดตัวของผนังลาตัว ที่จะกระตุ้นการดูดน้าเข้าและขับน้าออก น้าที่มีออกซิเจนจะให้ไหลผ่านเหงือกตลอดเวลา โดย การทางานร่วมกนั ของกล้ามเนอื้ ลาตัว ช่องตวั และล้นิ ปิดเปิด การหายใจจะเพิม่ ข้นึ เมือ่ ถูกกระตนุ้ หรือระหว่างการเคลอ่ื นที่ก็ จะมีการยืดหดตวั อย่างแรง โครงสรา้ งภายนอกและภายในของหมึก

3.5 สรปุ ผลการทดลอง อวัยวะในการแลกเปลย่ี นแก๊สของหมึก คือ เหงือก (gill) อยู่ภายในช่อง mantle มีลกั ษณะเปน็ เสน้ ขนานลาตวั ท้ังสองข้าง เหงือกประกอบด้วย - แกนเหงือก (gill axis) ลักษณะเป็นแท่งแบนด้านข้าง - ซี่เหงือกหรือแผ่นเหงือก (gill filament) แยก ออกมาจากแกนเหงือก ซึง่ อาจมีท้ังสองข้าง (bipectinate) หรือมีเพียงข้างเดยี ว (monopectinate) - afferent branchial vessel - efferent branchial vessel – ทิศทางการไหลของเลือดจะสวนทางกับน้า การแลกเปล่ียนแก๊สส่วนใหญ่ได้มาจากการ เคลอ่ื นทีข่ องน้าทีผ่ ่านเข้าลาตวั แล้วผ่านเหงือกจึงจดั ว่าเปน็ internal gill 4. โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแกส๊ (ป)ู 4.1 อุปกรณ์ในการดาเนนิ กิจกรรม 1.ปมู ้า 2. ถงุ มือยาง 3. ถาดผ่าตดั 4. เข็มเขีย่ 5. กรรไกร 6. คีมคีบ 4.2 วิธีการปฏิบตั ิการ 1.เตรียมปทู ี่จะใช้ในการปฏิบัตกิ ารและทาการแกะกระดองออก

2. ทำกำรแกะกระดองออกมำและเพื่อสงั เกตโครงสร้ำงภำยในร่ำงกำย 4.3 ศึกษาโครงสร้างภายนอกและส่วนประกอบภายในของปูม้า (Portunus armatus) มีก้ามยาวเรียว มีสัน มีกระดองหุ้มอยู่ตอนบน หนามข้างกระดอง ทางด้านข้างท้ังสองของกระดองจะเป็นรอยหยกั คล้ายฟันเล่ือย ขาเดินมี 3 คู่ กรรเชียงว่ายน้า 1 คู่ มีลักษณะเป็นใบพายใช้ในการว่ายน้า มีสีฟ้าอ่อนและมีจุดขาวตกกระ ทั่วไปบนกระดองและก้าม พื้นท้องเป็นสีขาว จับปิ้งเป็นรูปสามเหล่ียมเรียวสูง ส่วนหัวและอกจะอยู่ติดกัน ลาตัวความยาว ประมาณ 15-20 cm. Posterior Margins Carpus Dactyl Eye Propodus Lateral Spine Merus Spine Heart Pereopods Coxa Cheliped Basi-ischium Chela Gonad Swimming leg Gills Cardiac stomach Abdominal Segment Gill rakers

4.4 กลไกการหายใจของปมู ้า ปูแลกเปล่ียนแก๊สโดยใช้เหงือก น้าจะไหลผ่านช่องเหงือกของปูตรงบริเวณช่องเปิดที่ฐานของก้ามปู เหงือกปูจะดึงเอาแก๊ส ออกซิเจนจากน้า และขับน้าออกมาทางช่องน้าออกซึ่งเป็นรูเล็กๆอยู่บริเวณเพดานปาก ปูเกือบทุกชนิดหายใจโดยมี กระแสน้าไหลเวียนผ่านช่องเหงือก โครงสร้างภายนอกและภายในของปู 4.5 สรุปผลการทดลอง ปูแลกเปล่ียนแก๊สโดยใช้เหงือก น้าจะไหลผ่านช่องเหงือกของปูตรงบริเวณช่องเปิดที่ฐานของก้ามปู เหงือกปูจะดงึ เอาแก๊สออกซิเจนจากน้า และขับน้าออกมาทางช่องน้าออก เหงือกของปูอยู่ภายใต้แผ่น carapace มีลักษณะเป็นเส้นใย จานวนมาก เพื่อที่จะได้ใช้ในการเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปล่ียนแก๊ส เหงือกจะชุ่มไปด้วยน้าเพื่อเพิ่มอัตราการแลกเปล่ียน สาร เหมือนกบั โครงสร้างที่ใช้สาหรบั ดูดซับนา้ และมี gill rakers ทาหน้าที่การกรองเศษอาหารไมใ่ ห้เข้าไปตดิ ภายในเหงือก 5. โครงสรา้ งอวัยวะแลกเปลี่ยนแกส๊ (ก้งุ ) 5.1 อปุ กรณ์ในการดาเนนิ กิจกรรม 1.กุ้งก้ามกราม 2. ถุงมือยาง 3. ถาดผ่าตดั 4. มีดผ่าตัด 5. เขม็ เขี่ย 7. คีมคีบ

5.2 วิธีการปฏิบัติการ 1. เตรียมกุ้งและทาการแยกสว่ นหวั ให้ออกจากลาตัวเพือ่ ศึกษาดูโครงสร้างของเหงือก 2. สงั เกตบรเิ วณสว่ นหัวเพือ่ หาเหงือกทีใ่ ช้ในการแลกเปลย่ี นแก๊ส 5.3 ศึกษาโครงสร้างภายนอกและสว่ นประกอบภายในของกุ้งก้ามกราม ( Macrobrahim roesenbergii ) เป็นกุ้งน้าจดื สว่ นของหวั และอกอยู่รวมกันมีขนาดใหญ่ บนเปลอื กกงุ้ บรเิ วณหวั ส่วนหน้าใกลก้ บั เบ้านัยน์ตามีหนาม เล็กๆ มีเปลือกสีเขียวอมสีฟ้าหรือม่วง ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่มีเปลือกหุ้มอยู่ภายนอก ลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วน หัว ส่วนลาตัว ส่วนหาง ส่วนหัวประกอบด้วยขาเดิน 3 คู่ และขาที่มีลักษณะเป็นก้ามอีก 2 คู่ อยู่ทางส่วนหน้า ขาคู่ที่ 1 หายใจด้วยเหงือก ลาตัวยาว แบนหรือกลม แบ่งเป็นปลอ้ ง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหวั และอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 8 ส่วนใหญ่ กรีมลี กั ษณะแบนข้าง ก้ามและขาอยู่ที่ส่วนหวั และอก มี 10 ขา โครงสร้างภายนอกของกุง้

Abdominal segments Hepatopancrea Telson s Carapace Pleopods Stomach Pereopods Eye Rostum Gill Claws Uropods Pereiopods Antennae 5.4 กลไกการหายใจของกุ้งก้ามกราม โครงสรา้ งภายในของกุ้ง กุ้ง --> แลกเปล่ียนแก๊สโดยใช้เหงือก ซึ่งอยู่ในส่วนเซฟาโรทอแรกซ์ (Cephalothorax) โดยน้าไหลเวียนและผ่านเข้าสู่ช่อง เล็กๆใกลๆ้ รยางค์ขาเพือ่ ให้น้าไหลเข้าสู่ช่องเหงือกและเกิดการแลกเปล่ยี นแก๊ส

5.5 สรุปผลการทดลอง กุ้งใช้เหงือกในการแลกเล่ียนแก๊ส โดยอาศัยการไหลของน้าผ่านช่องภายในเหงือกและกุ้งใช้รยางค์พิเศษพัดโบกน้าให้ไหล ผ่านเหงือกเพื่อช่วยเพิ่มอัตราการไหลของน้าให้ผ่านช่องเหงือก โดยเหงือกของกุ้งจะอยู่ตรงบริเวณส่วนหัว อยู่ภายในแผ่น carapace มีลกั ษณะเป็นแขนงเล็กๆ ที่เรียงซ้อนกันอยู่มากมาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปล่ยี นก๊าซหายใจได้ดียิง่ ข้นึ 6. โครงสร้างอวยั วะแลกเปลี่ยนแกส๊ (หอย) 6.1 อปุ กรณ์ในการดาเนนิ กิจกรรม 1.หอยแครง 2. ถงุ มือยาง 3. ถาดผ่าตดั 4. เขม็ เขี่ย 5. คีมคีบ 6.2 วิธีการปฏิบัติการ 1. แกะเปลอื กหอยเพื่อศึกษาดโู ครงสร้างภายในตวั หอยแครง

2. ใช้เขม็ เขี่ยเพือ่ ดูตาแหน่งของเหงือกของหอยแครง 6.3 ศึกษาโครงสร้างภายนอกและสว่ นประกอบภายในของหอยแครง (Tegillarca granosa ) หอยแครงเป็นหอยสองฝาลักษณะค่อนข้างกลม เปลือกหนา ด้านนอกของเปลือกเปน็ สันโค้ง เปลือกมีสีน้าตาลอม ดา ลาตัวถูกหุ้มด้วยเปลือกหินปูนหนา ภายในเปลือกเป็นลาตัวของหอย ตัวหอยมีสีน้าตาลแดงเพราะมีสาร hemoglobin มี กล้ามเนอื้ ยึดเปลอื กแนน่ สว่ นหวั เห็นไมช่ ัด มีเหงือกขนาดใหญไ่ ว้สาหรับแลกเปล่ยี นแก๊ส และช่วยในการกรองอาหาร มีร่อง ลึกที่เปลือกและบานพับ เปลือกที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง และมีฟันละเอียดที่บานพับจานวนมาก ไม่มีท่อน้า รอยยึดติด กล้ามเนื้อยึดเปลือกด้านหลังจะใหญ่กว่ารอยแผลของกล้ามเนื้อยึดเปลือกด้านหน้า เท้าหอยแครงเจริญได้ดีและสามารถ เคลอ่ื นที่ตามผิวโคลนได้ Stomach Shell Kidney Mantle Gills Anterior adductor muscle Foot 6.4 กลไกการหายใจของหอยแครง หอยสองฝาใช้เหงือกซึ่งอยใู่ นช่องแมนเทิลในการแลกเปล่ยี นแก๊ส โดยทีห่ อยสองฝาจะมีเหงือก 1 หรือ 2 คู่ ทีเ่ หงือก จะมีเส้นเลือดฝอยจานวนมาก โดยออกซิเจนซึ่งละลายอยู่ในน้าจะผ่านไปที่เหงือก และแพร่ผ่านเข้าสู่ร่างกายได้ คาร์บอนไดออกไซด์ก็จะแพร่ออกมาจากเหงือกได้เชน่ กนั

โครงสร้างภายในของหอย 6.5 สรุปผลการทดลอง หอยแครง มีระบบหายใจ ประกอบด้วยเหงือก หัวใจ เส้นเลือด และแอ่งเลือด เหงือกมีจานวน ๑ - ๒ อัน ประกอบด้วย แกนเหงือก และซี่เหงือก หัวใจแบ่งเป็นหัวใจห้องต้นและหัวใจห้องปลาย เมื่อหัวใจบีบตัวทาให้เลือดไหลไปตามเส้นเลือด และแอ่งเลอื ด ที่กระจายอยทู่ ว่ั ตวั หอย เลอื ดของหอยแครงมีลกั ษณะพิเศษคือมีสารเฮโมโกลบิน (haemoglobin) ในเลอื ด ทา ให้เลอื ดมสี แี ดง 7. การวดั ปริมาตรปอด ชื่อ-สกลุ ผู้ทาการทดลอง : นายวิชญะ เขียวทะวงศ์ อายุ : 16 ปี น้าหนกั : 54 kg สว่ นสงู : 165 cm 7.1 การทดลองครงั้ ที่ 1 หายใจออกปกติ การวดั ปรมิ าตรอากาศทีห่ ายใจปกติ 1.5-0.8 = 0.7 L 1 L = 1000 cm3 0.7 L = 700 cm3 Before After

7.2 การทดลองครง้ั ที่ 2 หายใจให้ลมหายใจออกให้มากที่สดุ 1 L = 1000 cm3 1.2 L = 1200 cm3 การวดั ปรมิ าตรอากาศทีห่ ายใจออกแบบออกแรง = 2.2-1.0 = 1.2 L Before After 7.3 การทดลองครงั้ ที่ 3 หายใจเข้าให้มากที่สดุ 1 L = 1000 cm3 0.8 L = 800 cm3 การวัดปรมิ าตรอากาศที่หายใจเข้าแบบออกแรง = 2.4-1.6 = 0.8 L Before After 7.4 วิธีการในการคานวณหาปริมาตรของปอด ในการหายใจเข้าออกแตล่ ะครั้งมปี ริมาตรอากาศ ปรมิ าตรอากาศนเี้ รียกว่า ปรมิ าตรหายใจปกติ ( Tidal valume ; TV ) เมื่อ หายใจเข้าเปน็ ปกติแล้ว เรายังสามารถสูดลมหายใจเข้าให้ลึกที่สุดเรียกว่า ปริมาตรหายใจเข้าสารอง ( Inspiratory reserve volume ; IRV ) เวลาหายใจออกปกติจะไล่ลมออกไดเ้ ท่า ๆ กบั เมื่อสดู ลมหายใจเข้า แตเ่ รากย็ ังมีความสามารถไลล่ มหายใจ ออกให้มากที่สดุ ปริมาอากาศนี้เรียกว่า ปริมาตรหายใจออกสารอง ( Expiratory reserve volume ; ERV ) แต่ในปอดก็ยงั มี ลมหายใจตกค้าง เรียกว่า ปรมิ าตรตกค้าง ( Residual volume ; RV ) ดงั นั้นหากจะรวมการสูดลมหายใจเข้าลึก ๆ และไล่ลม หายใจออกลึก ๆ อาจจะเรียกว่า ความสามารถสูงสุดในการสูดลมหายใจ (Vital capacity ; VC ) มีค่าเท่ากับผลรวมของ TV ,IRV และ ERV ดงั น้ันอาจรวมอากาศทั้งหมดในปอด ( Total lung capacity ) = VC + RV

Tidal volume 700 cm3 Inspiratory reserve volume=IRV+TV 800+700 = 1500 cm3 Expiratory reserve volume = ERV-TV 1200-700 = 500 cm3 Residual volume กาหนดให้ 1000 cm3 Vital capacity = TV+IRV+ERV 700+1500+500 = 2700 cm3 รวมอากาศทง้ั หมดในปอด ( Total lung capacity ) = VC + RV 2700+1000 = 3700 cm3 Lung Volumes and Capacities 3700 Lung volume (cm3) 2200 1500 1000 0 7.5 สรุปผลการทดลอง ปรมิ าตรของอากาศในการหายใจออกเต็มทีข่ องแต่ละคนไมเ่ ท่ากนั ปัจจยั ที่มผี ลต่อปริมาตรของอากาศในการหายใจ ออก ได้แก่ อายุ เพศ ขนาดของร่างกาย และกิจกรรมที่ทาและทาให้รู้ถงึ ว่าในการหายใจเข้า-ออกในละครั้งจะมีอากาศที่ยัง คงเหลอื ในปอดอยู่ภายในปอดและตามทางเดนิ หายใจ ซึง่ จะสงั เกตได้จากค่าของ ERV-TV และค่าของ IRV-TV ซึง่ เมื่อนาค่า ทั้งสองมาลบกันแล้วจะทาให้ได้ค่าของ RV ออกมาซึ่งจะเป็นค่าที่บ่งบอกถึงปริมาตรอากาศที่ยังคงตกค้างในปอดหลังจาก หายใจออกเต็มทีแ่ ลว้