Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำบลคลองฉนวน เสร็จ

ตำบลคลองฉนวน เสร็จ

Published by duen09082540, 2021-11-26 15:00:23

Description: ตำบลคลองฉนวน เสร็จ

Search

Read the Text Version

ทรัพยากรธรรมชาติ บ้านต้นแค มีแม่น้ำตาปีไหลผ่านบริเวณหมู่บ้าน ซึ่งถือเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่ สำคัญของหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงช่วยกันอนุรักษ์โดยร่วมกันรณรงค์ไม่ให้ทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ลำคลอง และห้ามตัดต้นไม้บริเวณนั้นๆ การคมนาคม - ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กซอย หมู่ที่ 9 ระยะทาง 180 เมตร ประวัติความเป็นมาชุมชน หมู่บ้านต้นแค เดิมเรียกหมู่บ้านทุ่งคา ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นหมู่บ้านต้นแค ซึ่งแยกออกมา จากหมู่ 2 เดิม ประมาณ 22-23 ปี มีผู้นำจากเดิมจนถึงปัจจุบัน 7 คน ซึ่งปัจจุบันเป็นคนที่ 7 ของ ม.9 บ้านต้นแค ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โครงสร้างของชุมชน ด้านการปกครอง 1. สง่า ทิพย์ดี 2. สุจิน รักษ์ปาน 3. วันชัย ทิพย์ดี 4. ประคอง แก้วเนียม 5. ประจักษ์ หนูศรีแก้ว 6. อาดูร ทิพย์ดี 7. ประเวศน์ หนูพรหม (ปัจจุบัน)

- ด้านประชากร ชุมชนบ้านยอมงามมี ครัวเรือนทั้งหมด จำนวน 109 ครัวเรือน ประชากร 436 คน ชาย 199 คน หญิง 231 คน - ด้านการศึกษา ภายในชุมชนบ้านยอมงามไม่มีสถานศึกษา เด็กภายในชุมชนต้องออกไปเรียนหนังสือนอก พื้นที่ และมีเด็กบางส่วนไม่ได้รับการศึกษา เนื่องจากไม่มีค่าเล่าเรียนและสถานที่ศึกษาอยู่ไกล จากพื้นที่ - ด้านศาสนา ประชากรในชุมชนนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 100% โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ ในชุมบ้านยอมงามมีการประกอบอาชีพ 3 อาชีพ ดังนี้ เกษตรกร ,ค้าขาย ,รับราชการ แยก เป็น % ได้ดังนี้

ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม - ความเชื่อ 1. หมอบ้าน 2. ดูฤกษ์ยาม ,ดวง 3. ครูหมอโนราห์ - ประเพณี 1. ประเพณีสงกรานต์ (รดน้ำพระ รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่) 2. ประเพณีสารทเดือนสิบ 3. ประเพณีวันเข้า-ออกพรรษา 4. ประเพณีลอยกระทง 5. กิจกรรมทางศาสนา - พิธีกรรม 1.แห่ผ้าขึ้นธาตุ 2.พิธีไหว้เจ้าที่ 3.พิธีทำขวัญเด็ก สถานที่สำคัญ 1. แม่น้ำตาปี 2. คลองควนทัง การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนบ้านต้นแค มีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน วิถีชีวิต ที่อยู่อาศัย และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากเดิม เนื่องจากประชากรในชุมชนมีการพัฒนา คุณภาพชีวิตมากขึ้นกว่าเดิม แต่ในชุมชนบางครัวเรือนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสิ่ง เสพติดและไม่ค่อยให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากพอ

หมู่ที่ 10 บ้านเหนือ ตำบลคลองฉนวน ขนาดและที่ตั้ง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ที่9 ต.คลองฉนวน อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่ที่10 ต.ดุสิต อ.ถ้ำพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่5 ต.คลองฉนวน อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่3 ต.คลองฉนวน อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ มีลักษณะเป็นที่ราบ (หรือที่ราบ/แอ่ง/ที่ราบเชิงเขา) ลาดเอียงไปทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือ มีอาณามีเนื้อที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย จำนวน 500ไร่ ใช้เป็นที่ทำการเกษตร จำนวน2000ไร่ แมน่ ้ำสำคัญ 10 แห่ง -ลำน้ำคลองฉนวน 2 แห่ง -บอ่ น้ำตื้น -คลอง ภูมิอากาศ สภาพอากาศโดยทั่วไปของตำบล เป็นแบบมรสุม มี2ฤดู คือ -ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม-เมษายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 28-40 องศาเซลเซียส -ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ย 25-28 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย400มิลลิเมตร/ปี

ทรัพยากรธรรมชาติ -มีลำน้ำคลองฉนวนไหลผ่านทางทิศเหนือของหมู่บ้านดังกล่าว จึงเรียกหมู่บ้านนี่ว่า “บ้านเหนือ” การคมนาคม -ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข41 (ถนนสายเอเซีย) ประวัติชุมชน บ้านเหนือเดิมแยกมาจากหมู่ที่3 ต.คลองฉนวน โดยมีหมู่บ้านที่แยกออกมานี้ ตั้งอยู่ทางที่ เหนือของหมู่ที่3 และมีลำน้ำคลองฉนวนไหลผ่านทางทิศเหนือของหมู่บ้านดังกล่าว จึงเรียก หมู่บ้านนี่ว่า “บ้านเหนือ” โครงสร้างของชุมชน ด้านการปกครอง หมู่ที่10 บ้านเหนือ มีผู้ใหญ่บ้านทั้งหมดดังนี้ 1 นายวิโรจน์ ปิลวาส พ.ศ.2526-2528 2 นายสมศักดิ์ ช่วยบำรุง พ.ศ.2529-ปัจจุบัน ด้านประชากร ข้อมูลประชากรตามทะเบียนราษฎร์(สำนักงานทะเบียนราษฎร์อำเภอเวียงสระ) จำนวนครัวเรือน จำนวน 110 ครัวเรือน ประชากรชาย จำนวน 225 คน ประชากรหญิง จำนวน 243 คน ประชากรรวม จำนวน 468 คน

ด้านการศึกษา -ภายในชุมชนบ้านเหนือ ไม่มีสถานศึกษา เด็กภายในชุมชนต้องไปเรียนนอกพื้นที่ ด้านศาสนา -ประชากรในชุมชน นับถือศาสนาพุทธ โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ -ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ความเชื่อประเพณี/พิธีกรรม - ประเพณีทำบุญตักบาตรส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ - ประเพณีสารทเดือน10 - ประเพณีวันสงกรานต์ - ประเพณีชักพระ - ประเพณีวันเข้า-พรรษา/แห่เทียนพรรษา - ประเพณีวันออกพรรษา สถานทีสำคัญ -ลำน้ำคลองฉนวน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนบ้านเหนือ มีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้าน วิถีชิวิต ที่อยู่อาศัย และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจากเดิม เนื่องจากประชากรในชุมชนมีการพัฒนา คุณภาพชีวิตมากขึ้นกว่าเดิม แต่ในบางครัวเรือนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสิ่งเสพ ติดและไม่ค่อยให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากพอ

หมู่ที่ 11 บ้านไสขุนรงค์ ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขนาดและที่ตั้ง ทิศเหนือจดหมู่ที่ 10 ตำบลทุ่งหลวง ทิศใต้จดตำบลคลองฉนวน ทิศตะวันออกจดหมู่ที่ 2 ตำบลคลองฉนวน ทิศตะวันตกจดหมู่ที่ 14 ตำบลทุ่งหลวง ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบ (หรือที่ราย/แอ่ง/ที่ราบเชิงเขา) ลาดเอียงไปทางทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อ แม่น้ำสำคัญ - บ่อน้ำสาธารณะ จำนวน 2 แห่ง - บ่อบาดาลสาธารณะ จำนวน 1 แห่ง - ระบบน้ำประปาหมู่บ้าน จำนวน 1 แห่ง ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศ มี 2 ฤดู คือ 1 ฤดูร้อน ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน 2 ฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม ทรัพยากรธรรมชาติ ทอนน้ำร้อน

การคมนาคม - การคมนาคมภายในหมู่บ้านไสขุนรงค์มีถนนลาดยางเข้าถึงหมู่บ้าน - การไฟฟ้าเข้าถึงทั้งหมด 80 ครัวเรือน - หอกระจายข่าวหมู่บ้าน 2 แห่ง - มีสัญญาณโทรศัพท์มือถือเข้าถึงหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมาของชุมชน เมื่อประมาณ 180 ปีก่อนได้มีท่านขุนท่านหนึ่ง ชื่อว่า ท่านขุนรงค์ ได้มาปลูกสร้างถางดง เพื่อทำไร่ และต่อมาได้มีชาวบ้าน อพยพเข้ามาอยู่กันเป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และได้ตั้งชื่อ หมู่บ้านนี้ว่า บ้านไสขุนรงค์ตามชื่อที่ท่านขุนเข้ามาบุกเบิกป่าใสแห่งนี้เป็นคนแรก และได้เรียกชื่อ บ้านไสขุนรงค์มาจนถึงปัจจุบันนี้ บ้านไสขุนรงค์เดิมอยู่ในเขตการปกครองของตำบลทุ่งหลวง หมู่ 8 อำเภอบ้านนาสาร ต่อมาทางนาสารได้จัดตั้ง อำเภอเวียงสระ โดยตำบลทุ่งหลวงเข้ามา อยู่ในเขตการปกครองด้วยเมืองราษฎร์เข้าอยู่มากขึ้น จัดได้แบ่งแยกเป็นตำบลคลองฉนวนและ ไสขุนรงค์ได้มาจากการตั้งเป็นหมู่บ้าน เมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2525 โครงสร้างของชุมชน ด้านการปกครอง 1.นายไพโรจน์ บุญทอง ผู้ใหญ่บ้าน 2.นายวันชัย ดิษสาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3.นายธีรพร บุญเนียม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4.นายวัชระ ซังทอง ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน

ด้านประชากร หมู่ที่ 11 บ้านไสขุนรงค์มีจำนวนประชากรทั้ง 327 คน 80 ครัวเรือน ด้านศาสนา ประชากรในชุมชนนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 100 โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ ในชุมชนบ้านไสขุนรงค์มีประชากรประกอบอาชีพหลัก คือ เกษตรกรทั้งหมด 80 ครัวเรือน และประชากรมีการประกอบอาชีพเสริม คือ ค้าขาย จำนวน 5 ครัวเรือน ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม วัฒนธรรม/ประเพณี 1. ประเพณีทำบุญตักบาตรส่งท้ายปีเก่า 2. ประเพณีวันสงกรานต์ (รดน้ำผู้สูงอายุ) 3. ประเพณีวันเข้า-ออกพรรษา 4. ประเพณีออกพรรษา 5. ประเพณีบุญสารทเดือนสิบ

สถานที่สำคัญ -ทอนน้ำร้อน -ลำคลองฉนวน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในชุมชนบ้านไสขุนรงค์มีการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมเป็นอย่างมาก ทั้งวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้นทำให้ความเป็น อยู่ของประชากรดีขึ้นต่างจากเดิม

หมู่ที่ 12 บ้านยอมงาม ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขนาดและที่ตั้ง พื้นที่รวมโดยรวมของบ้านยอมงาม มีทั้งหมด 5,000 ไร่ แยกเป็นที่อยู่อาศัย 500 ไร่ สวน ปาล์ม 2,000 ไร่ สวนยางพารา 2,000 ไร่ สวนผลไม้ 300 ไร่ ทิศเหนือจด หมู่ที่ 14 ตำบลทุ่งหลวง ทิศใต้จด หมู่ที่ 6 บ้านปากหาน ตำบลคลองฉนวน ทิศตะวันออกจด หมู่ที่ 7 บ้านควนปราง ตำบลคลองฉนวน ทิศตะวันตกจด ตำบลสินปุน อำเภอพระแสง บ้านยอมงามเป็นหมู่บ้านหนึ่งใน 12 หมู่บ้านขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกขององค์การบริหารส่วน ตำบลคลองฉนวน และอยู่ห่างจากองค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนวน โดยทางรถยนต์เป็น ระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตร

ลักษณะภูมิประเทศ สภาพโดยรวมส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำลำคลอง พื้นที่บางส่วนเป็นที่ราบ แม่น้ำสำคัญ 1. แม่น้ำตาปี 2. คลองบอดเหนือ 3. คลองบอดใต้ 4. หานพือ ภูมิอากาศ สภาพอากาศโดยทั่วไปของตำบล เป็นแบบมรสุม มี 2 ฤดูคือ -ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม – เมษายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 28–40 องศาเซลเซียส -ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-ธันวาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ย 25–28 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 400 มิลลิเมตร/ปี ทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชนบ้านยอมงาม ได้มีการจัดตั้งพื้นแหล่งธรรมชาติสำคัญในชุมชน เพื่อป้องกันการ เสื่อมโทรมและการถูกทำลายของพื้นที่ โดยจัดตั้งให้หานพือและคลองบอดใต้ เป็นแหล่ง อนุรักษ์ภายในชุมชน และสร้างมาตรการทางสังคมไว้ดังนี้ 1. ห้ามจับปลาในฤดูที่ปลาวางไข่ 2. ห้ามตัดไม้ริมตลิ่ง 3. ห้ามจับปลาในบริเวณอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ (หานพือและคลองบอดใต้) 4. ห้ามทิ้งขยะในบริเวณที่สาธารณะ แม่น้ำลำคลอง

การคมนาคม - ทางหลวงชนบท สายบอดใต้ - บ้านควนสมบูรณ์ (กรมการเร่งรัดพัฒนาชนบท) - ทางหลวงชนบท สายควนสูง - บอดใต้ ระยะทาง 3,000 กิโลเมตร (องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดฯ) - ถนนลาดยางสายบ้านบอดใต้ หมู่ที่ 12 ระยะทาง 500เมตร - ถนนลาดยางสายซอยไทรงาม หมู่ที่ 12 ระยะทาง 180 เมตร ประวัติชุมชน หมู่ที่ 12 บ้านยอมงาม ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี แยกมาจาก หมู่ที่ 7 บ้านควนปรางในปี พ.ศ.2530 ตั้งอยู่ติดกับแม่น้ำตาปี มีชาวบ้านเข้ามาอาศัยอยู่ ครอบครัวแรกคือนายแสงชัยสิทธิ์ และได้มีการชักชวนให้ชาวบ้านคนอื่นเข้ามาตั้งถิ่นฐาน เนื่องจากบ้านยอมงาม เป็นพื้นที่ซึ่งอุดมสมบูรณ์ด้วยสัตว์น้ำ สัตว์ป่า และมีต้นพะยอม มากมายซึ่งชาวบ้านใช้ไม้พะยอมสำหรับปลูกสร้างที่อยู่อาศัยจึง เรียกหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านยอมงาม” คำขวัญหมู่บ้าน ตาปีไหลผ่าน ลำธารสดสวย มากด้วยพันธ์ปลา พระพุทธสมบูรณ์ล้ำค่า มโนราห์หนังตะลุง

โครงสร้างของชุมชน ด้านการปกครอง 1. นายประพิศ ซังทอง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2530 – 2549 2. นายสำอาง เติมเต็ม ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2549 – 2554 3. นายจำเริญ อักษรสมบัติ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน ด้านประชากร ชุมชนบ้านยอมงามมี ครัวเรือนทั้งหมด จำนวน 159 ครัวเรือน มีประชากรรวมจำนวน 674 คน แยกเป็น เป็นชาย 331 คน และหญิง 343 คน ด้านการศึกษา ภายในชุมชนบ้านยอมงามไม่มีสถานศึกษา เด็กภายในชุมชนต้องออกไปเรียนหนังสือ นอกพื้นที่ และมีเด็กบางส่วนไม่ได้รับการศึกษา เนื่องจากไม่มีค่าเล่าเรียนและสถานที่ศึกษาอยู่ ไกลจากพื้นที่ ด้านศาสนา ประชากรในชุมชนนับถือศาสนาพุทธร้อยละ 100%

โครงสร้างด้านเศรษฐกิจและอาชีพ ในชุมบ้านยอมงามมีการประกอบอาชีพ 3 อาชีพ ดังนี้ เกษตรกร ,ค้าขาย ,รับราชการ แยกเป็น % ได้ดังนี้ ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ความเชื่อ 1. หมอบ้าน 2. ดูฤกษ์ยาม ,ดวง 3. พระเคราะห์ 4. ครูหมอโนราห์

ประเพณี 1. ประเพณีกตัญญูผู้สูงอายุ 2. ประเพณีวันสงกรานต์ (รดน้ำพระ ,รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่) 3. ประเพณีสารทเดือน10 4. ประเพณีวันเข้า-ออกพรรษา/แห่เทียนพรรษา 5. เคยมีประเพณีลอยกระทงแต่ปัจจุบันได้ย้ายไปทาร่วมที่ อบต. 6. มโนราห์ จาก พิชัย อัศนียวงค์ 7. กิจกรรมทางศาสนา พิธีกรรม 1.แห่ผ้าขึ้นธาตุ 2.พิธีไหว้เจ้าที่ 3.พิธีทำขวัญเด็ก 4.การโกนผมไฟ สถานที่สำคัญ 1. สำนักสงค์ควนสมบูรณ์ 2. แม่น้ำตาปี 3. คลองบอดเหนือ 4. คลองบอดใต้ 5. แหล่งอนุรักษ์คลองบอดใต้ 6. หานพือ

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมชุมชนบ้านยอมงามมีการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมอย่างมาก นั่นก็คือ มีความความต้องการทางด้านวัตถุ การยอมรับประเพณีและวัฒน ธรรมใหม่ๆ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการพัฒนาของภาครัฐ เศรษฐกิจ และความเจริญด้าน เทคโนโลยีจากภายนอกเข้ามามากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงบางอย่างก็เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู่ศักยภาพของชุมชนที่ดีขึ้น แต่การเปลี่ยนแปลงบางกรณีนำไปสู่ปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหายาเสพติด เป็นต้น

การดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โครงการยกระดับศักยภาพชุมชนตำบลคลองฉนวน เพื่อพัฒนาสินค้า OTOP รวมทั้งเพิ่มราย ได้ให้ชุมชน โดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อกลางตลาดออนไลน์ 1. พื้นที่รับผิดชอบ ตำบล/แขวง คลองฉนวน อำเภอ/เขต เวียงสระ จังหวัด สุราษฎร์ธานี 2. ความต้องการของชุมชน/พื้นที่ที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนวนเป็น ตำบลหนึ่งใน 5 ตำบล ของเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของที่ว่าการ อำเภอเวียงสระ ประกอบด้วย 12 หมู่บ้าน อาชีพหลักส่วนใหญ่ของประชากรในตำบลคลอง ฉนวน ประกอบอาชีพเกษตรกร อาชีพค้าขาย อาชีพรับจ้าง จากที่คณะทำงานได้มีการลงพื้น ที่เก็บข้อมูลเบื้องต้น พบว่าชุมชนต้องการให้มีการยกระดับการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ซึ่งจะ ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจภายในชุมชน 3. ชื่อโครงการ/กิจกรรมในการดำเนินการ (เน้นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสัมมาชีพ และสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การ เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) ให้แก่ชุมชน)

โครงการยกระดับศักยภาพชุมชนตำบลคลองฉนวน เพื่อฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และ พัฒนาสินค้า OTOP รวมทั้งเพิ่มรายได้ให้ชุมชน โดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อกลางตลาดออนไลน์ 3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนินการ 1) เพื่อยกระดับสินค้าทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสินค้า OTOP และมีช่อง ทางการประชาสัมพันธ์สินค้า OTOP ผ่านสมาร์ทโฟน 2) เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและปลูกฝังการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน ตำบลคลองฉนวน 3) เพื่อพัฒนาสัมมาชีพชุมชน เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้กับประชาชนในตำบลคลองฉนวน 4) เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจในตำบลคลองฉนวน 3.2 ประเภทกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนินการในพื้นที่ (ระบุร้อยละของกิจกรรม) 1) การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) คิดเป็นร้อยละ 20 ของกิจกรรมทั้งหมด 2) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) คิดเป็นร้อยละ 40 ของกิจกรรมทั้งหมด 3) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) คิดเป็นร้อยละ 20 ของกิจกรรมทั้งหมด 4) การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ ชุมชน) ให้แก่ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 20 ของกิจกรรมทั้งหมด

3.3 รูปแบบกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนินการในพื้นที่ 1). การจ้างงานตามภารกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย จำนวน 20 อัตรา งบประมาณ 2,640,000 บาท 2). การวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพตำบล การกำกับ ติดตามและประเมินผล ระดับ National System Integrator งบประมาณ 25,800 บาท 3). การวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพตำบล การกำกับ ติดตามและประเมินผล ระดับ Regional System Integrator งบประมาณ 34,400 บาท 4). การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโครงการรายตำบล (ระดับ System Integrator) งบประมาณ 43,000 บาท 5). เพื่อยกระดับสินค้าทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสินค้า OTOP และมีช่อง ทางการประชาสัมพันธ์สินค้า OTOP ผ่านสมาร์ทโฟน งบประมาณ 180,080 บาท 6). เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและปลูกฝังการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน ตำบลคลองฉนวน งบประมาณ 151,360 บาท 7). เพื่อพัฒนาสัมมาชีพชุมชน เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้กับประชาชนในตำบลคลองฉนวน งบประมาณ 107,600 บาท 8). เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจในตำบลคลองฉนวน งบประมาณ 360,960 บาท

3.4 ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนินการ(อธิบายถึงผลผลิตและ ผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับสินค้า OTOP /การยกระดับการท่องเที่ยวการบริการ ชุมชน หรือการเพิ่มรายได้รูปแบบอื่นให้แก่ชุมชน ที่มีความชัดเจน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ 1) เชิงปริมาณ จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ (ผู้รับการถ่ายทอดความรู้) รวมทั้งสิ้น 440 คน ประกอบด้วย - ผู้รับการถ่ายทอดความรู้เพื่อยกระดับสินค้าทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์ชุมชน และ สินค้า OTOP และมีช่องทางการประชาสัมพันธ์สินค้า OTOP ผ่านสมาร์ทโฟน จำนวน 1 รุ่น รุ่น ละ 60 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน - ผู้รับการถ่ายทอดความรู้เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและปลูกฝัง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในตำบลคลองฉนวน จำนวน 1 รุ่น รุ่นละ 80 คน รวมทั้งสิ้น 80 คน - ผู้รับการถ่ายทอดความรู้เพื่อพัฒนาสัมมาชีพชุมชน เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้กับ ประชาชนในตำบลคลองฉนวน จำนวน 1 รุ่น รุ่นละ 60 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน - ผู้รับการถ่ายทอดความรู้เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจในตำบลคลองฉนวน จำนวน 6 รุ่น รุ่นละ 40 คน รวมทั้งสิ้น 240 คน 2) เชิงคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในกระบวนการจัดการโครงการ ร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาในการอบรม ร้อยละ 80 - ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถต่อยอดและถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้รับให้กับคนอื่นได้ - มีผลิตภัณฑ์ชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติเพิ่มขึ้นในชุมชน จำนวน อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์/แห่ง

4. งบประมาณการดำเนินการ







































14. การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า Otop/อาชีพอื่นๆ) กลุ่มสัมมาชีพน้ำพริกนรกปลาดุก บ้านยอมงาม หมู่ที่ 12 บ้านยอมงาม ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี น้ำพริกนรกปลาดุกเป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มสัมมาชีพบ้านยอมงาม หมู่ที่12 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประวัติความเป็นมา กรมการพัฒนาชุมชนเป็นเจ้าภาพในการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชน โดยยึดหลัก แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและการสร้างโอกาส โดย การฝึกอบรมสร้างสัมมาชีพชุมชน บ้านยอมงาม หมู่ที่ 12 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งมีบริบทชุมชนอาศัยอยู่ลุ่มน้ำตาปี อุดมสมบูรณ์ด้วยธรรมชาติ เหมาะ แก่การทาประมง เลี้ยงปลา เพาะปลูก ชาวบ้านมีแนวคิดจะเลี้ยงปลาดุกเพื่อแปรรูป สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอเวียงสระ จึงสนับสนุนงบประมาณในการเลี้ยงปลาดุก 20 ครัวเรือน เมื่อ ปลาดุกโตเต็มที่จึงรวมกลุ่มกันแปรรูปเป็นปลาแดดเดียว ปลาดุกร้า ปลาใส่อวน และจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ทาสืบทอดกันมาในท้องถิ่น ในการนำปลามารมควันให้แห้งแล้วนำมาตา น้ำพริกรับประทานกับผักลวก ผักสด ซึ่งมีรสชาติอร่อย จึงลองนำภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมา โดยการทำน้ำพริกใส่เนื้อปลาดุกปรากฏว่ามีรสชาติดี และอร่อย ทำให้สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอเวียงสระสนับสนุนให้เป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม เพื่อสมาชิกกลุ่มจะได้รวมกลุ่มกันทำอาชีพ เสริม จากการลองผิดลองถูกในวันนั้น ได้พัฒนามาเป็นน้ำพริกนรกปลา

ดุกรสชาติอร่อยเปิดรับประทานได้ทันที และเป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นเเรกของกลุ่ม และหลังจากนั้น ก็ได้ดัดแปลงนำทรัพยากรที่มีในในชุมชนนั้นก็คือตะไคร้ซึ่งมีอยู่มากในชุมชน สมาชิกกลุ่มจึง นำมาทำเป็นน้ำพริกตะไคร้ เพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ และจำหน่ายควบคู่กันไป ทั้งนี้น้ำพริก นรกปลาดุกมีรสชาติเผ็ดมัน ได้ความมันหวานจากเนื้อปลาดุก ส่วนน้ำพริกตะไคร้ ยังสามาร ลดกลิ่นหืนของน้ำมัน จึงได้นำทั้งสองผลิตภัณฑ์มาผัดรวมกันปรากฎว่าน้ำพริกมีรสชาติ อร่อยจึงได้กลายเป็นน้ำพริกตะไคร้ใส่เนื้อปลาดุกผลิตภัณฑ์ชิ้นที่สามของกลุ่มที่มีความมัน หวานของเนื้อปลาดุกกลิ่นหืนของน้ำมันน้อยลง ทำให้น้ำพริกน่ารับประทานยิ่งขึ้นและต้นทุน การผลิตต่ำลง

จัดตั้งกลุ่มขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ.2563 กิจกรรมที่ 1 น้ำพริกตะไคร้ใส่เนื้อปลาดุก บ้านยอมงาม ก่อนจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย20,280 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 2 วัน วันละ 240 บาท = 480 บาท 2) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 3) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท

วันจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 140,000 บาท ค่าตอบแทน 1) ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท = 3,600 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 120 บาท = 7,200 บาท 2) ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 30 บาท = 3,600 บาท 3) ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 ห้อง 1 คืน คืนละ 1,000 บาท = 2,000 บาท 4) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 5) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท 6) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน วันละ 240 บาท = 240 บาท. 7) ค่าเบี้ยเลี้ยงวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน =240 บาท 8) ค่าวัสดุ = 103,320 บาท หลังจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 19,800 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 2) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท

15. การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและปลูกฝังการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในตำบลคลองฉนวน ตลาดต้นโด ตลาดนัดคุณธรรม อำเภอยิ้ม ของอำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานีสถานที่ ท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวสามารถมาเลือกซื้อสินค้าเกษตรคุณภาพดี ราคาถูกและปลอดสาร พิษ ตลอดจนสินค้าชุมชนที่ผู้ผลิตนำมาจำหน่ายโดยตรงให้กับนักท่องเที่ยว รวมทั้งยังเป็น พื้นที่สำหรับการแสดงศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน เช่น มโนราห์ หนังตะลุง เพลงบอก ของ นักเรียนและกลุ่มแม่บ้านในชุมชนอีกด้วย โดยจะเปิดให้บริการทุกวันเสาร์

กิจกรรม เชิญชวนให้มาท่องเที่ยวตลาดนัดต้นโต ตำบลคลองฉนวน ก่อนจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย20,280 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 2 วัน วันละ 240 บาท = 480 บาท 2) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 3) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท วันจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 111,280 บาท ค่าตอบแทน 1) ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท = 3,600 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 120 บาท = 9,600 บาท 2) ค่าอาหารว่าง จำนวน 80 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 30 บาท = 4,800 บาท 3) ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 ห้อง 1 คืน คืนละ 1,000 บาท = 2,000 บาท 4) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 5) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท 6) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน วันละ 240 บาท = 240 บาท 7) ค่าเบี้ยเลี้ยงวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน =240 บาท 8) ค่าวัสดุ = 71,000 บาท

กิจกรรม เชิญชวนให้มาท่องเที่ยวตลาดนัดต้นโต ตำบลคลองฉนวน ก่อนจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย20,280 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 2 วัน วันละ 240 บาท = 480 บาท 2) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 3) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท วันจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 111,280 บาท ค่าตอบแทน 1) ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท = 3,600 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 120 บาท = 9,600 บาท 2) ค่าอาหารว่าง จำนวน 80 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 30 บาท = 4,800 บาท 3) ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 ห้อง 1 คืน คืนละ 1,000 บาท = 2,000 บาท 4) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 5) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท 6) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน วันละ 240 บาท = 240 บาท 7) ค่าเบี้ยเลี้ยงวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน =240 บาท 8) ค่าวัสดุ = 71,000 บาท หลังจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 19,800 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 2) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท

16. การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) กิจกรรมที่ 1 การสอนและอบรบเพื่อให้ประชาชนในตำบล สามารถใช้สื่อออนไลน์ในการ ประชาสัมพันธ์สินค้าต่าง ๆ ก่อนจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย20,280 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 2 วัน วันละ 240 บาท = 480 บาท 2) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 3) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท วันจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 67,520 บาท ค่าตอบแทน 1) ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท = 3,600 บาท ค่าใช้สอย 2) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 120 บาท = 7,200 บาท 3) ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 30 บาท = 3,600 บาท 4) ค่าเช่าที่พัก จำนวน 2 ห้อง 1 คืน คืนละ 1,000 บาท = 2,000 บาท 5) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 6) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท 7) ค่าเบี้ยเลี้ยงที่ปรึกษาตำบล จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน วันละ 240 บาท = 240 บาท 8) ค่าเบี้ยเลี้ยงวิทยากร จำนวน 1 คน คนละ 1 วัน =240 บาท 9) ค่าวัสดุ = 30,840 บาท หลังจัดกิจกรรม มีค่าใช้จ่าย 19,800 บาท ค่าใช้สอย 1) ค่าเช่ายานพาหนะ จำนวน 2คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,800 บาท = 10,800 บาท 2) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 2 คัน คันละ 3 วัน วันละ 1,500 บาท = 9,000 บาท

17. การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ ชุมชน) พัฒนาสัมมาชีพชุมชน เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้กับประชาชนในตำบลคลองฉนวน กิจกรรม อบรมการสร้างสัมมาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ วันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2564 อบรมการสร้างสัมมาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพเวลา 09.00-17.00 น. ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 1 ตำบลคลองฉนวน อำเภอเวียงสระ จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยมีท่านประธานในพิธี นายวีระศักดิ์ ลิกขไชย (กำนันตำบลคลองฉนวน) พร้อมด้วย นายศักดิ์ชัย กุมพันธ์ (ผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ตำบลคลองฉนวน)และ คุณโกสินทร์ เพชร มณี วิทยากรบรรยายการผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพ รวมไปถึงหน่วยงานส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องพี่ๆ อสม.และชาวบ้านทุกๆท่าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook