Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป-5-บท-สังคม2-ปี63

สรุป-5-บท-สังคม2-ปี63

Published by ชลิตดา ใจพรหม, 2020-09-11 01:55:07

Description: สรุป-5-บท-สังคม2-ปี63

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน ปี งบประมาณ 2563 (ไตรมาส3-4) โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกนั อคั คภี ยั ในชุมชน ในวนั ท่ี 19 มิถนุ ายน 2563 ณ กศน.ตาบลวดั หลวงหมู่ที่7 ตาบลวดั หลวงอาเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี กศน.ตำบลวดั หลวง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนคิ ม สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบุรี

คำนำ กศน.ตำบลวัดหลวงสงั กัด ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นิคม ไดจ้ ดั ทำ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การป้องกันอัคคีภยั ในชมุ ชนโดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความความรู้ ความเข้าใจสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันและเผยแพรใ่ ห้กับชมุ ชนได้ซึ่งมีการสรุปผลการจดั กจิ กรรมโครงการ ดังกลา่ วเพื่อตอ้ งการทราบว่าการดำเนินโครงการบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ที่กำหนดไวห้ รือไม่ บรรลใุ นระดับใดและไดจ้ ัดทำ เอกสารสรปุ ผลการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชนเสนอตอ่ ผบู้ รหิ าร ผเู้ ก่ยี วขอ้ งเพ่ือนำข้อมลู ไปใชใ้ นการ ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินโครงการใหด้ ียิง่ ข้นึ คณะผจู้ ดั ทำ ขอขอบคณุ ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม ทใ่ี หค้ ำแนะนำ คำปรกึ ษา ในการจัดทำสรุปผลการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชนในครัง้ น้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตอ่ ไป นางสาวชลิตดา ใจพรหม ครู กศน.ตำบลวัดหลวง มิถุนายน 2563

สารบญั หนา้ ก หวั เรอ่ื ง ข คำนำ ค สารบญั สารบญั ตาราง 1 บทที่ 1 บทนำ 1 1 - หลักการและเหตุผล 1 - วตั ถุประสงค์ 2 - เปา้ หมายการดำเนนิ งาน - ผลลพั ธ์ 3 - ตัวชวี้ ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง 9 - กรอบการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 12 - เอกสาร/งานที่เกยี่ วข้อง 17 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินงาน บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล บทท่ี 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก - แผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน - ขออนุมัติปรบั แผนฯ - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกนั อัคคภี ยั ในชุมชน - หนังสอื ขออนเุ คราะห์วทิ ยากร/หนงั สือเชิญวิทยากร - รายงานผลการจัดกิจกรรม - แบบประเมินผู้รบั บริการ คณะผู้จดั ทำ

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 12 1. ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 12 13 2. ผู้เข้ารว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ 13 3. ผู้เขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 13 4. ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา 14 5. แสดงค่าร้อยละเฉลยี่ ความสำเรจ็ ของตวั ชีว้ ัด ผลผลิต ประชาชนทว่ั ไป 14 6. ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 15 7. คา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ ารจดั การ 16 8. คา่ เฉลยี่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 9. คา่ เฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านประโยชน์ที่ไดร้ ับ

1 บทท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ล “เพลิงไหม้” เป็นเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่มักนำมาซึ่งความสูญเสียทั้งชีวติ และทรพั ยส์ ิน เพอื่ ป้องกนั มใิ หเ้ กิดเหตุ เพลิงไหม้ และสร้างความพร้อมในการป้องกนั และรบั มือกบั อคั คภี ัยในพ้ืนที่ชุมชน ที่มีทั้งอาคารร้านคา้ รวมท้ังบา้ นเรอื นท่ี อย่อู าศยั ของประชาชนทแี่ ละทรพั ย์สินตลอดจนสง่ิ แวดล้อม จะต้องได้รับหลักประกนั ความปลอดภยั ดา้ นอคั คภี ัย ภายใต้ การจัดการที่มปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุมพ้ืนที่ทัว่ ทกุ ชุมชน โดยประชาชนและชมุ ชนท่ีอยู่ในพื้นที่ จะต้องมคี วามรู้ ความ เข้าใจ และตระหนักถึงความสำคญั ของการมสี ว่ นร่วม ในการบริหารจดั การสาธารณภยั ในเบือ้ งตน้ และฝกึ ซ้อมเพื่อเตรยี มรับมือกับภยั พบิ ตั ทิ ่ีอาจเกิดข้นึ ในพน้ื ท่ีการปฏบิ ตั ิการใน ภาวะฉุกเฉินขณะเกดิ ภยั รวมถงึ การอพยพประชาชนไปสู่พ้ืนท่ปี ลอดภยั อนั เป็นการเตรยี มความพร้อมและเพิม่ ศักยภาพ ของชุมชนในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทงั้ นี้ เพื่อลดภยันตรายทอ่ี าจเกิดขนึ้ ท้งั ชวี ิตและทรัพย์สินของประชาชนและของรัฐ เพ่ือเปน็ การเตรียมความพรอ้ มและเสรมิ สรา้ งทักษะความรู้แกป่ ระชาชน กศน.ตำบลวดั หลวงไดเ้ ล็งเห็นความสำคญั จากเหตุผลขา้ งต้นดงั กลา่ ว จงึ ได้ดำเนนิ การจัดทำโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การป้องกนั อคั คภี ัยในชมุ ชน เพอื่ ให้ความรูแ้ กผ่ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมเกิดความชำนาญ และทราบถงึ วธิ ีการ ดับเพลงิ ชนดิ ต่าง ๆ ได้อย่างถกู ต้อง และปลอดภัย เปน็ การสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนทีจ่ ะเผชิญเหตุในระยะแรก และสามารถใชอ้ ปุ กรณใ์ นการดับเพลิงไดอ้ ยา่ งถูกวธิ แี ละปลอดภัย ซ่ึงเปน็ ผลให้สามารถลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สนิ ของประชาชน และสว่ นราชการในเขตพื้นท่ไี ด้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ ูเ้ ข้ารับการอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถรบั มือกบั อคั คีภัยในครัวเรือนและชุมชน ของตนเองได้ 2. เพอื่ ให้ผ้เู ข้าอบรมนำความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวันและเผยแพรใ่ หก้ ับชมุ ชนได้ เป้าหมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ประชาชนตำบลวดั หลวงจำนวน 15 คน เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ - ผู้เข้าอบรมไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจและสามารถในการรบั มือกับอคั คีภัยในครวั เรอื นและชุมชนของ ตนเองนำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และเผยแพร่ให้กบั ชุมชนได้

2 ผลลพั ธ์ - เข้าอบรมได้รบั ความรู้ ความเข้าใจและสามารถรบั มือกบั อัคคีภัยในครัวเรือนและชมุ ชนของตนเองและ นำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวันและเผยแพร่ให้กบั ชมุ ชนได้ ดชั นชี ้วี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (Outputs) รอ้ ยและ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันอคั คีภยั ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยและ 80 ของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม นำความรทู้ ี่ได้รบั มาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั

3 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในการจดั ทำสรปุ ผลโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การป้องกันอัคคีภัยในชมุ ชนคร้งั นี้ คณะผ้จู ดั ทำโครงการได้ ทำการคน้ ควา้ เน้ือหาเอกสารการศึกษาและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้อง ดงั น้ี 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชน 2. เอกสาร/งานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 1. กรอบการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน นโยบายเรง่ ดว่ นเพอ่ื รว่ มขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน โดยใชห้ ลกั สูตรและการจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบบูรณา การในรปู แบบของการฝึกอบรม การประชมุ สัมมนา การจัดเวทแี ลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมจิตอาสา การสรา้ งชมุ ชน นกั ปฏิบัติ และรูปแบบอืน่ ๆ ที่เหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย และบรบิ ทของชมุ ชนแตล่ ะพ้นื ท่ี เคารพความคดิ เหน็ ของผู้อื่นโดย ยอมรับความแตกตา่ งและหลายหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมทั้งสงั คมพหุวัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการให้บคุ คล รวมกล่มุ เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรรู้ ว่ มกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสรา้ งจติ สำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพใน สทิ ธิ และรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ความเป็นพลเมืองดี การสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม การบำเพญ็ ประโยชน์ในชุมชนการบริหาร จัดการน้ำ การรบั มือกับสาธารณภัย การอนรุ กั ษ์พลังงานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั ในการ พัฒนาสังคมและชมุ ชนอย่างยั่งยนื 2. เอกสาร/งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง การสนั ดาปหรอื การเผาไหม้ (COMBUSTION) คอื กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเช้อื เพลงิ ที่ดีรบั ความร้อนและ ทำปฏกิ ิรยิ ารวมตวั กบั ออกซเิ จนจนเกิดความร้อนสะสมขนึ้ อย่างมากมาย ทำให้อะตอมของเชอื้ เพลิงแยกตัวออกเปน็ อนภุ าคเลก็ ๆจนถึงขัน้ เกดิ การลุกไหมข้ ึน้ เป็นเปลวไฟ อคั คภี ยั หมายถงึ อนั ตรายท่เี กิดจากไฟ ท่ีขาดการควบคุมจนเกดิ การลกุ ลามต่อเนื่องเป็นเพลงิ สรา้ งความ เสยี หายให้แกชวี ติ ทรัพย์สนิ รา่ งกายและสงิ่ แวดลอ้ ม สาเหตขุ องอคั คภี ยั จนทำใหเ้ กิดการลุกลามเกิดเพลิงไหม้ขนาดใหญน่ ้นั อาจเกดิ ได้ 2 ลกั ษณะใหญ่คือ สาเหตขุ องอคั คภี ยั อนั เกิดจากการตง้ั ใจ และสาเหตขุ องอัคคีภัยอันเกิดจากการประมาทขาดความระมัดระวังหรือ มิได้ตง้ั ใจ

4 1. สาเหตุของอคั คภี ัยอันเกิดจากความตั้งใจ เช่น การลอบวางเพลิงหรอื การก่อวนิ าศกรรม ซ่ึงเกดิ จากการจงู ใจ อนั มีมูลสาเหตุจงู ใจทีท่ ำใหเ้ กิดการลอบวางเพลงิ อาจเนื่องมาจากเปน็ พวกโรคจิต 2. สาเหตขุ องอัคคภี ัยอนั เกิดจากความประมาท ขาดความระมดั ระวัง ในกรณนี ้ีพอจะแบ่งเปน็ ประเดน็ หลกั ๆ ได้ 2 ประเด็นคือ 1. ขาดความระมัดระวังทำใหเ้ ช้อื เพลิงแพรก่ ระจาย ในกรณีดงั กลา่ วนี้เกิดจากการทำให้ส่ิงทีเ่ ปน็ เชอื้ เพลิง ซึง่ เป็น สารลกุ ไหม้ไฟหรือตดิ ไฟได้แพรก่ ระจายเม่ือไปสัมผัสกบั ความร้อนก็จะเป็นสาเหตุของการเกดิ อัคคภี ยั ได้ ตัวอยา่ งเช่น ใน บรเิ วณทม่ี ไี อของตัวทำละลาย หรือน้ำมนั เช้ือเพลงิ แพรก่ ระจาย เมือ่ ไปสัมผัสกับแหล่งความร้อน เช่น บริเวณท่ีมีจดุ สูบ บหุ รีก่ ็จะทำใหเ้ กิดอคั คภี ัยได้ 2. ขาดความระมัดระวังการใช้ไฟและความร้อน ในกรณีดังกล่าวนีก้ ็เชน่ กันทำให้แหลง่ ความรอ้ นซึง่ อาจอยใู่ น รูปแบบและลกั ษณะต่างๆ กนั เช่น ความร้อนจากอปุ กรณ์ไฟฟ้า การเช่ือมตัด เตาเผา เป็นตน้ ทำให้แหล่งกำเนดิ ความร้อน นั้นไปสัมผสั กับเชื้อเพลิงในสภาพทเ่ี หมาะสม กจ็ ะเป็นสาเหตขุ องอคั คภี ยั ได้ ตัวอยา่ งเช่น การท่สี ะเก็ดไฟจากการเชื่อมติด ด้วยไฟฟา้ หรือก๊าซไปตกลงในบรเิ วณท่ีมีกองเศษไมห้ รือผ้าทำให้เกิดการคุกรนุ่ ลุกไหม้เกิดอคั คีภยั องคป์ ระกอบของไฟ (FIRE TRIANGLE) การเผาไหม้เปน็ ปฏกิ ริ ิยาคายความร้อน ซึ่งไฟจะเกดิ ข้นึ ได้ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 อยา่ ง คือ 1. เชือ้ เพลิง (FUEL) เช้อื เพลงิ มีอยู่ 3 สถานะ คือ - เช้อื เพลิงแขง็ (SOLID FUEL) - เชอื้ เพลิงเหลว (LIQUID FUEL) - กา๊ ซ (GASES) 2. ออกซิเจน (OXYGEN) โดยทัว่ ไปจะมีออกซิเจนอยใู่ นอากาศประมาณ 21% 3. ความร้อน (HEAT) การทีจ่ ะทำใหเ้ กดิ การเผาไหม้หรือไฟติดได้ตอ้ งมอี งคป์ ระกอบทงั้ 3 ไดแ้ ก่ เชื้อเพลิง ออกซิเจน และความร้อน ขาดตวั ใดตัวหนงึ่ ไม่ไดซ้ ึง่ ถ้าขาดองค์ประกอบตัวใดตัวหน่ึงไฟจะไม่สามารถติดหรือ เกิดการเผาไหม้ได้ การปอ้ งกนั ไฟ (FIRE PREVENTION) หลกั สำคญั คอื การแยกองค์ประกอบของไฟออกจากกัน เชน่ การเก็บวัสดุ ตดิ ไฟไว้เท่าทจ่ี ำเป็นและใน สถานที่ท่ีหา่ งจากแหลง่ กำเนดิ ของการติดไฟ การเก็บสารไวไฟไวใ้ นภาชนะที่เหมาะสม การป้องกันระบบไฟฟา้ ลัดวงจร การควบคุมการสบู บุหรใ่ี ห้เป็นท่ี การวางระเบียบในการเช่ือมการตัด การเกบ็ สารเคมอี ยา่ งถกู ตอ้ ง การจดั ใหม้ ีการรักษาความสะอาดในสถานทีท่ ำงานท่ดี ี ฯลฯ

5 แหลง่ ทเี่ กดิ เพลงิ ไหม้ (IGNITION SOURCES) 1. 23% เกดิ จากไฟฟา้ 10. 3% เกิดจากการปล่อยปละละเลย 2. 18% เกิดจากการสบู บหุ รี่ 11. 3% เกิดจากการลอบวางเพลิง 3. 10% เกิดจากการเสียดสี 12. 2% เกิดจากการสปาร์คของเคร่ืองจกั รกล 4. 8% เกิดจากความร้อนจดั 13. 2% เกดิ จากการหลอมโลหะ 5. 7% เกดิ จากผวิ โลหะร้อน 14. 1% เกิดจากปฏิกิรยิ าเคมี 6. 7% เกิดจากเปลวไฟ 15. 1% เกดิ จากฟ้าผา่ 7. 5% เกดิ จากประกายไฟ 16. 1% เกิดจากไฟฟา้ สถิต 8. 4% เกดิ จากการลกุ ติดไฟขึ้นเอง 17. 1% เกิดจากสาเหตอุ ่ืน 9. 4% เกดิ จากการตัดหรือเชื่อม 1. ไฟท่เี กดิ จากกระแสไฟฟ้า (Electric Fires) เกดิ จากไฟฟ้าอารค์ (arcing) ลดั วงจรเกินโหลด (Overloaded) และ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ท่ีใชส้ ายไฟคุณภาพต่ำกว่ามาตรฐานและการติดต้ังไม่ดพี อ 2. ไฟทเ่ี กดิ จากการสบู บหุ ร่ี (Smoking) อัคคภี ัยที่เกดิ จากการสูบบหุ รนี่ บั เปน็ อันดับสอง ของสาเหตทุ ้ังหมด จักต้อง มีกฎระเบยี บควบคุมการสูบบุหร่ี และการจุดไฟ ไว้อย่างเข้มงวดกวดขัน 3. ไฟที่เกิดจากการเสียดสี (Friction) การเสยี ดสีท่เี กิดจาก Bearing ชำรุด หรือปรบั ไม่ได้ระดบั หรอื การขดั ตัวของ อปุ กรณ์ ที่หมุนตลอดเวลา อาจก่อให้เกิดอัคคีภยั ไดม้ าก 4. วัสดทุ รี่ อ้ นจัด หรอื ผวิ โลหะร้อน (Overheated Materials and Hot Surfaces) ไฟที่เกิดจากเชอ้ื เพลงิ ท่สี ัมผัส กบั วัสดุท่ีร้อนจัด ไมว่ า่ จะด้วยการน า การพา หรือแผร่ ังสีจากแหล่งความร้อน เช่น หมอ้ น้ำ ท่อหรือปล่องเตา ท่อ ไอน้ำ หลอดไฟ ฯลฯ ซง่ึ จะต้องปอ้ งกนั ด้วย ระยะหา่ งการหุ้มฉนวน การปฏบิ ัติการที่ถูกวิธี และมอี ปุ กรณ์ เครื่อง ตรวจวดั และสญั ญาณ ฯลฯ 5. อคั คีภัยทเ่ี กดิ จากการจุดหัวเผา (Bunner Flames and Combustible Sparks) มกั จะเกิดกับอุปกรณ์ทชี่ ำรุด ทรุดโทรม หรือขาดการดูแลเอาใจใส่ เช่น หัวตัดแก๊ส หัวจุดในหม้อน้ำหรือเตา และอุปกรณ์ใหค้ วามร้อน โดยมี เช้ือเพลงิ และเศษสิง่ ของท่ีตดิ ไฟได้อยใู่ นบรเิ วณใกลเ้ คยี ง 6. ไฟทีต่ ดิ ข้ึนได้เอง (Spontaneous Ignition) เมอื่ มเี ช้อื เพลิงและออกซิเจน (ในอากาศ) รวมตัวกันอยู่แล้ว หากมี ปฏกิ ิริยาเคมีท่ีใหค้ วามร้อนเกิดขึ้น และสะสมจากอุณหภูมิถึงจดุ ติดไฟ ไฟก็จะเกดิ ข้ึนเองได้ ซึ่งเป็นสงิ่ ท่คี วรระวงั มาก คือการเก็บรักษาใหถ้ ูกวิธี และปลอดภัย และไม่มเี ชอื้ เพลงิ ในบรเิ วณใกล้เคยี งทจ่ี ะให้ไฟลุกลามได้ 7. การตดั หรอื การเชื่อมโลลหะ (Cutting and Welding) เคร่อื งตดั หรือเช่ือมโลหะ ต้องดแู ลอุปกรณ์ และถังแก๊ส หรอื ท่อแก๊ส มิใหร้ ่ัวหรือซึมได้รวมทั้งสิ่งแวดล้อมบรเิ วณทำงาน ปราศจากไอน้ำมนั หรอื เชื้อเพลิงท่จี ะติดไฟได้ 8. การปลอ่ ยปะละเลย (Exposure) วัสดุไวไฟ หากเปดิ ทิ้งไว้โดยไม่ปิดฝาให้มิดชิด หรือวางไวใ้ นท่ีตากแดดจนเกิด ความรอ้ นสูง จะเกดิ ไอระเหยออกสบู่ นบรรยากาศได้ตลอดเวลา และมโี อกาสเกดิ อัคคีภยั ไดท้ ุกเวลา

6 9. การถกู ลอบวางเพลงิ (Incendiarism) การปิดกั้นบริเวณและรกั ษาการ มีความจำเป็นมากกบั วสั ดุอปุ กรณส์ ำคัญ 10. ประกายไฟทเ่ี กดิ จากเคร่ืองจักรกล (Mechanical Sparks) การเจียร การขดั ฯลฯ จะต้องระมัดระวงั สะเก็ดไฟ ทจี่ ะก่อให้เกิดอัคคีไฟได้ 11. การหลอมโลหะ (Molten Substance) อาจเกดิ อคั คีภัยไดจ้ ากการแตกสลายของเตาหลอมหรอื การร่วั ไหลใน ระหว่างการเคล่ือนย้าย 12. ปฏิกิรยิ าเคมี (Chemical Reaction) ปฏิกริ ยิ าเคมีท่กี ่อให้เกิดความร้อนสงู บางครัง้ อาจเกิดอยา่ งรุนแรงหรือ ระเบิดได้ตอ้ งปฏบิ ตั ิให้ถกู วธิ ดี ้วยความระมดั ระวัง 13. ประกายไฟจากไฟฟา้ สถติ (Static Sparks) ประกายไฟฟ้าทเ่ี กดิ จากไฟฟา้ สถิต อาจจุดตดิ ไฟให้กับไอ ฝนุ่ ละออง หรอื เศษผงของวัสดุไวไฟได้งา่ ย เช่น เคร่ืองปนั่ เคร่ืองกวน สายพาน การเติมนำ้ มันลงถังซึง่ อาจป้องกนั ได้ ดายต่อสายดนิ ฯลฯ(Grounding, Bonding, Ionization and Ilumidification) ประเภทของไฟ (FIRE CLASSIFICATION) ไฟแบ่งออกเปน็ ประเภทตา่ งๆ ตามลักษณะของเชื้อเพลิง มาตรฐาน NFPA (NATION FIREPROTECTION ASSOCIATION) ไดด้ ังน้ี คือ 1.ไฟประเภท เอ มีสัญลักษณ์เปน็ รปู ตวั A สีขาวหรอื ดำอยใู่ นสามเหลี่ยมสเี ขียว ไฟประเภท A คอื ไฟทเ่ี กดิ จาก เชอ้ื เพลงิ ที่มลี กั ษณะเปน็ ของแขง็ เชือ้ เพลงิ ธรรมดา เชน่ ฟืน ฟาง ยางไม้ ผ้า กระดาษ พลาสติก หนงั สต๊กิ หนังสตั ว์ ปอ นุน่ ด้าย รวมท้ังตัวเราเอง 2.ไฟประเภท บีมีสญั ลักษณเ์ ป็นรูปตวั B สีขาวหรอื ด า อยู่ในรูปสเ่ี หลี่ยม สีแดง ไฟประเภท B คือ ไฟทีเ่ กิดจากเชื้อเพลงิ ทม่ี ีลักษณะเป็นของเหลวและกา๊ ซ เช่น น้ำมนั ทุกชนดิ แอลกอฮอล์ ทเิ นอร์ ยางมะตอยจารบี และกา๊ ซติดไฟทกุ ชนดิ เป็นตน้ วิธีดบั ไฟประเภท B ท่ีดีท่ีสดุ คือ กำจัดออกซเิ จน ทำ ให้อับอากาศ โดยคลมุ ดบั ใช้ผงเคมีแห้ง ใช้ฟองโฟมคลุม 3.ไฟประเภท ซีมสี ัญลักษณ์เป็นรูป C สีขาวหรอื ด า อยใู่ นวงกลมสีฟ้า ไฟประเภท C คือ ไฟท่ีเกดิ จากเชอื้ เพลิงท่ี มลี กั ษณะเป็นของแข็งทมี่ กี ระแสไฟฟา้ ไหลอยู่ เช่นอุปกรณ์ไฟฟา้ ทกุ ชนิด การอารค์ การสปารค์ วิธดี บั ไฟประเภท C ที่ดี ทีส่ ุด คือ ตัดกระแสไฟฟา้ แล้วจึงใช้ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์หรอื น้ำยาเหลวระเหยที่ไมม่ ี CFCไล่ออกซเิ จนออกไป 4.ไฟประเภท ดมี สี ัญลกั ษณเ์ ป็นรปู ตัว D สขี าวหรอื ด า อย่ใู นดาว 5 แฉก สีเหลอื ง ไฟประเภท D คือไฟท่ีเกดิ จากเช้อื เพลงิ ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ โลหะและสารเคมตี ิดไฟ เชน่ วัตถุระเบิดผงแมกนีเซียม, ปุย๋ ยูเรีย (แอมโมเนยี มไนเตรต) ฯลฯ วิธดี บั ไฟประเภท D ท่ดี ีทส่ี ุด คือ การทำให้อับอากาศ หรือใช้สารเคมีเฉพาะ (หา้ มใชน้ ้ำเป็นอนั ขาด) ซ่งึ ต้องศึกษาหา ข้อมูลแตล่ ะชนิดของสารเคมีหรอื โลหะนัน้ ๆ

7 หลักในการดบั เพลงิ หลักการงา่ ยๆกค็ ือการกำจัดองค์ประกอบของการเกดิ ไฟอย่างใดอย่างหนง่ึ ออกไป หรือกำจดั ท้งั หมดในคราวเดียวกัน เพราะไฟหากไม่ครบองคป์ ระกอบท้ัง 3 องคป์ ระกอบแล้วจะไม่มกี ารเกิดข้ึนของไฟอย่างแนน่ อน ดงั น้นั วธิ กี ารดบั เพลงิ แบง่ ออกได้เป็น 3 วิธีคอื 1.การกำจัดเชอ้ื เพลงิ 2.การทำใหเ้ ยน็ ตัวลง หรือการลดอณุ หภูมิ 3.การคลุมดบั หรือการกำจัดอากาศ ( ออกซเิ จน ) 1. การกำจดั เชอ้ื เพลงิ ทำได้ 3 ประการคอื 1. การเคลอื่ นย้ายเช้ือเพลงิ ออก หรือการตดั ทางหนุนเนอื่ งของเช้ือเพลิง เชน่ การปิดกอ๊ กนำ้ มนั ท่ีรว่ั ไหล / ปิด วาล์วของถังกา๊ ซ 2. การเคลอ่ื นย้ายเชื้อเพลงิ ท่ีติดไฟออกจากกองเพลงิ เช่น ขนยา้ ยถงั นำ้ มัน ถังก๊าซ สารเคมอี อกจากทเ่ี กดิ เพลงิ ไหม้ 3. การทำใหป้ รมิ าณของสิง่ ท่ีไหม้ไฟน้อยลง ได้แก่การแบง่ หรือแยกปริมาณของสิ่งทต่ี ิดไฟให้เปน็ กองเลก็ ๆเพื่อให้ ดบั ไดโ้ ดยงา่ ย หรือการตหี ญ้าทไี่ หม้ไฟใหส้ ว่ นท่ีไหม้แตกแยกออกแลว้ ดบั ได้ 2. การทำใหเ้ ยน็ ตวั ลง คอื การทำให้เชอื้ เพลิงมีอุณหภูมติ ่ำจนไมส่ ามารถลุกไหม้ต่อไปได้ ซ่ึงตามธรรมดา เราใช้นำ้ หรอื สารเคมเี หลวเป็นตวั ลดอณุ หภูมิของส่งิ ท่ีไหม้ไฟ

8 3. การคลมุ ดบั หรอื การกำจดั อากาศ คอื การลดปรมิ าณของออกซิเจนใหน้ ้อยลง สง่ิ ทไี่ หม้ไฟต้องการอากาศ (ออกซเิ จน)เป็นตวั ช่วยในการเผาไหม้ ออกซิเจนมอี ยู่ในบรรยากาศประมาณ 21 % ถา้ ลดลงเหลอื 15 % ไฟกจ็ ะดับ การคลมุ ดับหรือกำจัดอากาศทำได้ ดงั นี้ - การใชผ้ ้าห่อคลุมทำให้อบั อากาศ - การใชผ้ ้าหม่ หนาๆ หรือทราย หรือดินรว่ นเทกลบ - การใชโ้ ฟม หรอื นำ้ ยาเปน็ ฟองฉีดคลมุ ลงไป

9 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ งาน การดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การป้องกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน ได้ดำเนนิ การตามข้นั ตอนตา่ งๆ ดังน้ี 1. ขนั้ เตรียมการ  การศึกษาเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน ผู้รบั ผดิ ชอบ โครงการได้ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารท่เี กี่ยวข้องเพ่ือเป็นขอ้ มลู และแนวทางในการดำเนินการโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การ ปอ้ งกนั อคั คภี ยั ในชมุ ชน ดงั นี้ 1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนงั สือ เกี่ยวกบั การป้องกนั อัคคีภัยในชมุ ชนเพ่ือเปน็ แนวทางเกยี่ วกับการจดั โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ การป้องกนั อัคคีภัยในชมุ ชน 2. ศกึ ษาขัน้ ตอนการดำเนนิ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การปอ้ งกนั อัคคีภยั ในชุมชน เพื่อเปน็ แนวทางในการ จัดเตรยี มงาน วสั ดุอปุ กรณ์ และบคุ ลากรให้เหมาะสม  การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรฐั บาล) กลมุ่ ภารกจิ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ กล่มุ เป้าหมายเพื่อทราบความต้องการท่ีแทจ้ ริงของประชาชนในตำบล และมีขอ้ มูลในการจัดกิจกรรมท่ีตรงกับความ ต้องการของชมุ ชน  การประสานงานผู้นำชมุ ชน / ประชาชน /วทิ ยากร 1. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หวั หน้า/ผนู้ ำชมุ ชนและประชาชนในตำบลเพื่อร่วมกันปรกึ ษาหารือ ในกลมุ่ เกี่ยวกบั การดำเนนิ การจัดโครงการใหต้ รงกับความต้องการของชมุ ชน 2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพ่อื จดั หาวทิ ยากร  การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนนิ การประชาสัมพันธ์การจัดโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การป้องกนั อัคคีภยั ใน ชุมชน เพอ่ื ให้ประชาชนทราบขอ้ มูลการจัดกิจกรรมดงั กล่าวผา่ นผนู้ ำชุมชน  ประชมุ เตรยี มการ / วางแผน 1) ประชุมปรกึ ษาหารือผ้ทู ี่เก่ียวขอ้ ง 2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ า่ ยตา่ งๆ เตรียมดำเนินการ 3) มอบหมายหนา้ ท่ี แต่งตง้ั คณะทำงาน

10  การรับสมัครผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้รับสมัครผ้เู ขา้ ร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร การป้องกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน โดยให้ ประชาชนทว่ั ไปท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีตำบลวดั หลวงเข้าร่วม เปา้ หมายจำนวน 15 คน  การกำหนดสถานทแี่ ละระยะเวลาดำเนนิ การ ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานท่ีในการจัดอบรมคือ กศน.ตำบลวัดหลวงหม่ทู 7่ี ตำบลวัดหลวง อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี ในวนั ท่ี 19 มิถุนายน พ.ศ. 2563 จำนวน 1 วนั เวลา 08.30-14.30 น. 2. ขน้ั ดำเนนิ งาน  กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนตำบลวดั หลวงจำนวน 17 คน  สถานทด่ี ำเนนิ งาน ครู กศน.ตำบล จดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การป้องกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน โดยจดั กิจกรรม อบรมให้ความรู้ ในวนั ท่ี 19 มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 เวลา 08.30-14.30 น. กศน.ตำบลวัดหลวงหมทู่ 7่ี ตำบลวัดหลวง อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี  การขออนมุ ตั ิแผนการจดั กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการขออนมุ ัติแผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน โครงการ อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ การปอ้ งกนั อคั คีภยั ในชมุ ชน ตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบุรี เพื่อให้ตน้ สังกัดอนมุ ัตแิ ผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน  การจดั ทำเครอ่ื งมอื การวดั ความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ  ขนั้ ดำเนนิ การ / ปฏบิ ัติ 1. เสนอโครงการเพือ่ ขอความเห็นชอบ/อนุมัตจิ ากตน้ สังกดั 2. วางแผนการจดั กิจกรรมในโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การป้องกนั อัคคีภัยในชมุ ชน โดยกำหนด ตารางกิจกรรมทก่ี ำหนดการ 3. มอบหมายงานให้แก่ผูร้ บั ผิดชอบฝ่ายต่างๆ 4. แตง่ ตง้ั คณะกรมการดำเนนิ งาน 5. ประชาสมั พนั ธ์โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การป้องกนั อคั คภี ัยในชุมชน

11 กำหนดการ 6. จัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การปอ้ งกนั อคั คีภยั ในชุมชน ตามตารางกิจกรรมที่ 7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การปอ้ งกนั อัคคภี ัยในชมุ ชน 3. การประเมนิ ผล  วเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. บนั ทกึ ผลการสังเกตจากผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม 2. วเิ คราะหผ์ ลจากการประเมินในแบบประเมินความพงึ พอใจ 3. รายงานผลการปฏบิ ัติงานรวบรวมสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของโครงการนำเสนอตอ่ ผ้บู ริหารนำปัญหา ข้อบกพร่องไปแก้ไขคร้ังตอ่ ไป  คา่ สถติ ทิ ีใ่ ช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลส่วนตัวและตัวช้ีวัดความสำเร็จของ โครงการตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายข้อ โดยแปลความหมายคา่ สถิติรอ้ ยละออกมาได้ดงั นี้ ค่าสถติ ิร้อยละ 90 ขึน้ ไป ดีมาก คา่ สถิติร้อยละ 75 – 89.99 ดี คา่ สถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ คา่ สถติ ิรอ้ ยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง ค่าสถติ ิรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรับปรงุ เร่งด่วน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ นำมาเปรียบเทียบ ได้ระดบั คุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน ดงั นี้ เกณฑก์ ารประเมิน (X) ค่าน้ำหนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคุณภาพ คือ ดีมาก คา่ นำ้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ คอื ดี ค่านำ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคุณภาพ คอื พอใช้ คา่ น้ำหนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ้ งปรบั ปรุง คา่ นำ้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คุณภาพ คือ ตอ้ งปรับปรุงเร่งดว่ น

12 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอนที่ 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การป้องกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน สรุปรายงานผลการจดั กิจกรรมไดด้ ังนี้ ในการจดั กิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การปอ้ งกันอัคคีภยั ในชุมชน เป็นการอบรม ใหค้ วามรู้ โดยมี จ่าเอกศราวธุ จนั ทรา เปน็ วทิ ยากรในการบรรยายให้ความรู้ เรอ่ื ง เร่ือง สาเหตขุ องการเกดิ อัคคภี ัย, การปอ้ งกันอัคคภี ยั ในชมุ ชน,อปุ กรณ์ในการบรรเทาอัคคภี ัย,ขัน้ ตอนในการปฏิบตั ิตนเมื่อเกดิ อคั คภี ยั ,การใช้อุปกรณ์ในการ บรรเทาอคั คีภัยและสาธิตและฝกึ ปฏบิ ตั ิ หลังจากเสร็จส้ินกจิ กรรมดงั กลา่ วแลว้ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจใน เรื่องการป้องกนั อัคคภี ัยในชมุ ชน และนำความรทู้ ่ีได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ตอนที่ 2 รายงานผลความพงึ พอใจของโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกนั อคั คภี ยั ในชมุ ชน การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การป้องกันอัคคีภัยในชมุ ชน ซ่ึงสรุปรายงานผลจากแบบสอบถาม ความคดิ เหน็ ข้อมูลท่ีไดส้ ามารถวิเคราะห์และแสดงค่าสถิติ ดังน้ี ตารางที่ 1 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ รายละเอยี ด เพศ หญิง ชาย 8 47.06 จำนวน (คน) 9 รอ้ ยละ 52.94 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่เี ข้ารว่ มกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การป้องกนั อัคคีภัยในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 9 คน คิดเปน็ ร้อยละ 52.94 รองลงมา เป็นเพศหญิง จำนวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.06 ตารางที่ 2 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป)ี อายุ ต่ำกว่า15 15 - 39 40 - 59 60 ขน้ึ ไป 5 จำนวน (คน) - 48 29.41 รอ้ ยละ - 23.53 47.06

13 จากตารางท่ี 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน โครงการ การป้องกันอัคคภี ยั ในชุมชน พบว่าผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญ่ อายุ 40-59 ปี จำนวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 47.06 รองลงมา มอี ายุ 60 ขึ้นไป จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 29.41 และ อายุ 15 – 39 ปี จำนวน 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 23.53 ตามลำดับ ตารางท่ี 3 ผ้เู ข้าร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชีพ รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจ้าง อาชพี ค้าขาย อ่นื ๆ รับราชการ/รฐั วิสาหกิจ 4 4 23.53 จำนวน (คน) 2 7 - 23.53 ร้อยละ 11.76 41.18 - จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามที่เข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การปอ้ งกนั อัคคภี ัยในชุมชน พบวา่ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม ส่วนใหญ่ มอี าชีพรับจ้าง จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 41.18 รองลงมา อาชีพคา้ ขาย และ อื่น ๆ จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 23.53 และอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.76 ตารางที่ 4 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา รายละเอยี ด ระดบั การศกึ ษา การศกึ ษา ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย/ปวช. ปวส. ป.ตรีขนึ้ ไป 6 จำนวน (คน) 3 1 5 - 35.29 รอ้ ยละ 17.65 5.88 29.41 - จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามที่เข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การป้องกนั อัคคภี ัยในชุมชน พบวา่ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม สว่ นใหญ่ มีการศึกษามรี ะดบั ป.ตรีขน้ึ ไป จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 35.29 รองลงมาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 29.41 ระดับประถมศกึ ษา จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.65 และมีระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.88 ตารางท่ี 5 แสดงคา่ ร้อยละเฉล่ยี ความสำเรจ็ ของตัวชว้ี ดั ผลผลติ ประชาชนท่ัวไป เข้ารว่ มโครงการจำนวน 17 คน ผลสำเรจ็ ของโครงการ เป้าหมาย(คน) ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ(คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15 17 100

14 จากตารางท่ี 5 พบวา่ ผลสำเรจ็ ของตัวช้ีวัดผลผลติ กจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การปอ้ งกันอัคคีภยั ในชมุ ชน มผี ้เู ข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ซึ่งบรรลเุ ป้าหมายด้านตัวชวี้ ัด ผลผลติ ตารางท่ี 6 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมที่มคี วามพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การป้องกนั อคั คภี ัยในชมุ ชน ในภาพรวม รายการ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับ ความพงึ พอใจ ดา้ นบริหารจัดการ () () ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 4.53 0.50 ดีมาก ดา้ นประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 4.50 0.50 ดมี าก รวมทุกด้าน 4.62 0.49 ดีมาก 4.55 0.50 ดมี าก จากตารางที่ 6 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามท่มี ีความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การป้องกนั อัคคภี ัยในชมุ ชน ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดมี าก (=4.55) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ดา้ นประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ อยู่ในระดับดมี าก มีคา่ เฉล่ยี (= 4.62) รองลงมาคือ ด้านบรหิ ารจดั การ มอี ยใู่ นระดบั ดมี าก มคี ่าเฉล่ยี (= 4.53) และ ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ อยูใ่ นระดบั ดีมาก มคี า่ เฉลย่ี (= 4.50) ตามลำดับ โดยมสี ่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.49 - 0.50 แสดงว่า ผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจสอดคล้องกนั ตารางที่ 7 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมทม่ี คี วามพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง ปฏิบตั กิ าร การปอ้ งกนั อัคคภี ยั ในชมุ ชน ด้านบรหิ ารจัดการ รายการ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบี่ยงเบน ระดบั ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานที่ () มาตรฐาน () 2. สิง่ อำนวยความสะดวก 4.53 0.50 ดีมาก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.59 0.49 ดีมาก 4. เอกสารการอบรม 4.41 0.49 5. วิทยากรผู้ให้การอบรม 4.53 0.50 ดี 4.59 0.49 ดีมาก รวม 4.53 0.50 ดมี าก ดมี าก

15 จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกัน อคั คภี ัยในชุมชน ด้านบริหารจดั การ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.53) เมอื่ พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า สิ่งอำนวยความสะดวกและวิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.59) รองลงมา คืออาคารสถานท่ี และ เอกสาร ประกอบการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.53) และกำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มีค่าเฉลี่ย (= 4.41) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.49 - 0.50 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปใน ทิศทางเดียวกนั ตารางที่ 8 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมท่ีมีความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรม เชงิ ปฏิบัติการ การป้องกันอัคคีภัยในชมุ ชน ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ รายการ ค่าเฉลีย่ สว่ นเบ่ยี งเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร 4.47 การปอ้ งกันอัคคีภยั ในชมุ ชน 0.50 ดี 7. การให้ความรเู้ ร่ืองการป้องกนั อัคคีภยั ในชุมชน 8. การตอบข้อซักถามของวิทยากร 4.53 0.50 ดมี าก 9. การแลกเปล่ยี นเรยี นร้ขู องผเู้ ข้ารับการอบรม 4.47 0.50 ดี 10. การสรปุ องค์ความรู้ร่วมกัน 4.53 0.50 11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.50 0.50 ดมี าก 4.47 0.50 ดมี าก รวม 4.50 0.50 ดี ดมี าก จากตารางที่ 8 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การป้องกันอัคคภี ยั ใน ชุมชน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอย่ใู นระดบั ดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การให้ความรู้เรอ่ื งการปอ้ งกนั อคั คภี ยั ในชมุ ชน และการแลกเปล่ยี นเรยี นรูข้ องผ้เู ข้ารับการอบรม มีคา่ เฉล่ีย (= 4.53) รองลงมาคอื การสรุปองคค์ วามรูร้ ่วมกัน มีค่าเฉล่ีย(= 4.50 ) และ การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการป้องกนั อัคคีภัยในชมุ ชน ,การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร และ การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มี ค่าเฉลย่ี (= 4.47 ) ตามลำดับ โดยมสี ่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน () อยู่ระหวา่ ง 0.50 แสดงว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความ คดิ เหน็ สอดคล้องกันการสรปุ องค์ความรรู้ ว่ มกัน

16 ตารางที่ 9 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการอบรม เชงิ ปฏิบัตกิ าร การป้องกนั อัคคีภัยในชมุ ชน ดา้ นประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน () พงึ พอใจ 12. ได้เรยี นรแู้ ละฝึกปฏบิ ตั ิ 4.65 13. นำความรูท้ ไ่ี ดร้ ับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน 0.48 ดมี าก 4.59 รวม 4.62 0.49 ดีมาก 0.49 ดีมาก จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกัน อัคคีภัยในชุมชน พบว่าด้านประโยชน์ท่ีได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.62) เม่ือพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่าได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ มีค่าเฉล่ีย (= 4.65) รองลงมา ความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มี ค่าเฉลี่ย (= 4.59) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.48 - 0.49 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ คิดเห็นไปในทศิ ทางเดียวกนั สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.00 มคี า่ นำ้ หนกั คะแนน 4.55 ถอื วา่ ผรู้ บั บริการ มคี วามพึงพอใจทางดา้ นตา่ งๆ อยใู่ นระดบั ดมี าก โดยเรยี งลำดบั ดงั น้ี  อนั ดบั แรก ด้านประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ คิดเป็นร้อยละ 92.40 มีค่าน้ำหนกั คะแนน 4.62 อยู่ในระดบั คุณภาพดีมาก  อนั ดบั สอง ด้านบริหารจดั การ คิดเปน็ ร้อยละ 90.60 มคี า่ นำ้ หนักคะแนน 4.53 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพดีมาก  อนั ดบั สาม ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.00 มคี ่าน้ำหนักคะแนน 4.50 อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพดีมาก

บทท่ี 5 17 อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร การปอ้ งกันอัคคภี ยั ในชมุ ชน ได้ผลสรปุ ดังนี้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้ผู้เข้ารบั การอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถรับมือกับอัคคีภัยในครวั เรือนและชุมชน ของตนเอง 2. เพ่อื ให้ผู้เข้าอบรมนำความร้ไู ปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั และเผยแพร่ให้กับชุมชนได้ เป้าหมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ - ประชาชนตำบลวัดหลวงจำนวน 15 คน เป้าหมายเชงิ คุณภาพ - ผเู้ ข้าอบรมไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจและสามารถในการรับมอื กับอคั คีภัยในครวั เรือนและชมุ ชนของตนเองนำ ความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั และเผยแพร่ใหก้ บั ชมุ ชนได้ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในคร้งั น้ี คือ แบบประเมินความพึงพอใจ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ท่ีรบั ผิดชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถามความพงึ พอใจ ใหก้ บั ผูร้ ่วมกจิ กรรม โดยใหผ้ ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมตา่ งๆ ตามโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การ ปอ้ งกันอคั คภี ยั ในชมุ ชน สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลวดั หลวงได้ดำเนินการจัดกจิ กรรมตาม โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การปอ้ งกนั อัคคีภัยในชุมชน โดย ดำเนินการเสร็จสน้ิ ลงแลว้ และสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานไดด้ งั นี้ 1. ผู้รว่ มกจิ กรรมจำนวน 17 คน มคี วามรู้ ความเข้าใจในเร่ืองการป้องกนั อัคคภี ยั และนำความร้ทู ่ีได้รับมาปรบั ใช้ ในชีวิตประจำวนั 2. ผู้รว่ มกิจกรรมรอ้ ยละ 92.40 นำความรทู้ ่ีไดร้ ับมาปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั

18 3. จากการดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการดงั กล่าว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจต่อโครงการ อยู่ในระดับ “ดมี าก ” และบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชว้ี ัดผลลพั ธ์ที่ตงั้ ไว้ โดยมีค่าเฉลี่ยรอ้ ยละ ภาพรวมของกจิ กรรม 91.00 และคา่ การบรรลุเป้าหมายคา่ เฉลีย่ 4.55 ขอ้ เสนอแนะ - อยากให้มีการจัดกจิ กรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชวี ิตต่อไป

บรรณานกุ รม ท่ีมา http://mail.oae.go.th/filesdownload/km_fire.pdf http://www.kamphaengsaen.go.th/work_infomation/2557/fire_protect.pdf

ภาคผนวก

แผนการจัดกจิ กรรม

โครงการ











หนงั สอื เชญิ วทิ ยากร

รายงานผลการจดั กจิ กรรม โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การปอ้ งกนั อัคคีภยั ในชุมชน จำนวน 1วัน ในวนั ที่ 19 มีนาคม 2563 ณ กศน.ตำบลวดั หลวงหมูท่ ่ี 7 ตำบลวดั หลวง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี วทิ ยากรคือ จ่าเอกศราวธุ จันทรา ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมจำนวน 17 คน

แบบรายงานโครงการ









แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกันอคั คภี ยั ในชมุ ชน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี คำชแี้ จง 1. แบบสอบถามฉบับน้มี วี ัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใชใ้ นการสอบถามความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ การปอ้ งกันอคั คภี ยั ในชมุ ชน 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดงั นี้ ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเก่ียวกบั ผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ข้อ ใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งใหต้ รงกบั สภาพจริง ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การป้องกันอัคคภี ยั ในชมุ ชน จำนวน 13 ขอ้ ซึง่ มีระดบั ความพงึ พอใจ 5 ระดับ ดังนี้ 5 มากที่สดุ หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทส่ี ดุ 4 มาก หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก 3 ปานกลางหมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง 2 น้อย หมายถึง มคี วามพึงพอใจน้อย 1 น้อยท่สี ุด หมายถงึ มคี วามพึงพอใจน้อยที่สดุ ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกนั อคั คีภยั ในชุมชน ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม หญิง 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปีขน้ึ ไป อายุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี การศกึ ษา ตำ่ กว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ประกอบอาชพี อนุปรญิ ญา ปริญญาตรี สงู กว่าปรญิ ญาตรี รบั จ้าง ค้าขาย เกษตรกร ลูกจา้ ง/ขา้ ราชการหน่วยงานภาครัฐหรอื เอกชน อ่นื ๆ ………………………………….

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจเกยี่ วกบั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การปอ้ งกนั อคั คภี ยั ในชมุ ชน ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ 1 5 432 ดา้ นบรหิ ารจดั การ 1. อาคารและสถานที่ 2. สงิ่ อำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วทิ ยากรผูใ้ หก้ ารอบรม ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร การป้องกนั อคั คีภัยในชุมชน 7. การให้ความรู้เรื่องปฏบิ ตั ิการเรียนรมู้ งุ่ สคู่ วามพอเพยี ง 8. การตอบขอ้ ซักถามของวิทยากร 9. การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ของผเู้ ข้ารบั การอบรม 10. การสรุปองคค์ วามรู้รว่ มกนั 11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝกึ อบรม ด้านประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 12 ไดเ้ รียนรู้และฝึกตนเอง เกี่ยวกับปฏบิ ัติการเรยี นรู้มุ่งสคู่ วาม พอเพียง 13 นำความรทู้ ี่ไดร้ บั มาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั ตอนท่ี 3 ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ข้อคดิ เห็น .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคณุ ทีใ่ ห้ความรว่ มมอื กศน. อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี

คณะผ้จู ดั ทำ ทป่ี รึกษา หมน่ื สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม การงานดี ครู 1. นางณชั ธกญั ศรเี ทพ บรรณารักษ์ปฏบิ ตั ิการ 2. นางสาวมทุ ิกา คลงั สนิ ธ์ ครู อาสาสมคั ร กศน. 3. นางปล้ืมจติ ร 4. นางสาวเฟอ่ื งฟา้ ครู กศน.ตำบลวัดหลวง คณะทำงาน ครู กศน.ตำบลวัดหลวง - นางสาวชลติ ดา ใจพรหม บรรณาธกิ าร -นางสาวชลิตดา ใจพรหม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook