สรุปผลการจดั กจิ กรรม โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ปงี บประมาณ 2564 (ไตรมาส1-2) วนั ท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 2564 ณ ศนู ยเ์ รยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดำรปิ ระจำตำบลธาตทุ อง อำเภอบอ่ ทอง จงั หวดั ชลบรุ ี กศน.ตำบลวดั หลวง กศน.ตำบลหนองเหยี ง กศน.ตำบลวัดโบสถ์ และ กศน.ตำบลท่าข้าม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นคิ ม สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ชลบรุ ี
คำนำ กศน.ตำบลวัดหลวง กศน.ตำบลหนองเหยี ง กศน.ตำบลวัดโบสถ์ และ กศน.ตำบลท่าขา้ ม สงั กัด ศูนย์การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดทำได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน ยคุ EEC โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ให้ผู้เขา้ อบรมมีความรู้และเขา้ ใจเก่ยี วกับการทำเกษตรแบผสมผสาน และสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ซ่ึงมีการประเมินโครงการดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่าการดำเนินโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทำเอกสารรายงานการประเมินโครงการรายงานต่อ ผู้บรหิ าร ผู้เกีย่ วขอ้ งเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาการดำเนนิ โครงการใหด้ ยี ่ิงข้นึ ต่อไป ขอขอบคุณผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ที่ใหค้ ำแนะนำ คำปรึกษาในการจัดทำเอกสารรายงานการประเมินโครงการในคร้ังนี้ หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารรายงานการประเมินโครงการฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและ ผเู้ กยี่ วข้องในการนำไปใช้เป็นแนวทางในการดำเนนิ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ต่อไป กศน.ตำบลวัดหลวง กศน.ตำบลวัดโบสถ์ กศน.ตำบลหนองเหยี ง และกศน.ตำบลทา่ ขา้ ม มีนาคม 2564
สารบญั หนา้ ก หวั เรอื่ ง ข คำนำ ค สารบญั สารบัญตาราง 1 บทที่ 1 บทนำ 1 1 - หลกั การและเหตผุ ล 2 - วตั ถปุ ระสงค์ 2 - เปา้ หมายการดำเนินงาน - ผลลัพธ์ 3 - ตัวชว้ี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง 12 - กรอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้พัฒนาสังคมชุมชน 15 - เอกสาร/งานทเ่ี กี่ยวข้อง 20 บทที่ 3 วิธดี ำเนินงาน บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู บทท่ี 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ขน้ึ หนงั สอื ขออนุเคราะหว์ ทิ ยากร รายงานผลการจดั กิจกรรม แบบประเมินผรู้ บั บริการ คณะผูจ้ ัดทำ
สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 30 30 1. ผู้เขา้ ร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 31 2. ผู้เขา้ ร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 31 3. ผู้เข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ 31 4. ผเู้ ข้ารว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศกึ ษา 32 5. แสดงค่าร้อยละเฉล่ียความสำเรจ็ ของตวั ชว้ี ัด ผลผลิต ประชาชนท่ัวไป 32 6. คา่ เฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 33 7. คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นบรหิ ารจัดการ 33 8. คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 9. ค่าเฉล่ียและสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ
1 บทที่ 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช “พระภทั รมหาราช” ของปวงชนชาวไทยเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัติรย์ที่ครองราชย์สมบัติถึง 70 ปี 126 วันยาวนานท่ีสุดใน ประวัติศาสตรโ์ ลก ตลอดระยะเวลา 70 ปีน้ัน พระองค์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจสร้างคุณประโยชน์ให้กบั ประเทศไทย อย่างอเนกอนันต์ ทรงเป็นแบบอย่างให้กับประชาชนชาวไทยท้ังการ “ครองตน ครองคน ครองงาน” พระราชทานแนว ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงซึ่งเป็นปรัชญาในการดำรงชีวิตท่ีทุกคนสามารถนำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ตามหลัก “พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” ภายใต้เงื่อนไข “ความรู้ คู่คุณธรรม” ไม่ว่าผู้นั้นจะประกอบอาชีพใด มีฐานะร่ำรวยหรือยากจน ก็ สามารถใชช้ ีวติ ไดอ้ ย่างพอเพยี งตามอัตภาพและภูมิสังคมของตน ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดำเนินชีวิต และวถิ ปี ฏบิ ัติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 9 มพี ระราชดำรสั ชี้แนะแกพ่ สกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี และไดท้ รงเน้นย้ำแนวทางพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสร้างภูมคิ ุ้มกนั ในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวติ ป้องกันให้รอดพ้นจาก วิกฤต และให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ใช้ในการ แก้ปัญหาการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ ส่ิงแวดล้อม และวิกฤตพลังงาน โดยเน้นการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงาน ทดแทนหรือการใช้เคร่ืองทุ่นแรง เพื่อให้ชุมชนนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ตามหลัก “พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” ภายใตเ้ ง่ือนไข “ความรคู้ ่คู ุณธรรม” ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช จากเหตผุ ลดังกลา่ ว กศน.ตำบลหนองเหยี ง กศน.ตำบลวดั โบสถ์ กศน.ตำบลวดั หลวง และกศน.ตำบล ท่าข้าม สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิง ปฏบิ ัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ข้ึน 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1. เพอ่ื ให้ผู้เข้าอบรมมีความรแู้ ละเข้าใจเก่ยี วกับการทำเกษตรแบผสมผสาน 2.2. เพอื่ ให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปพัฒนาชมุ ชนให้มคี วามเขม้ แขง็ ได้ เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ประชาชน 4 ตำบล ๆ ละ 13 คน ได้แก่ ตำบลวดั หลวง ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลหนองเหียง และตำบลท่าข้าม รวมทงั้ สิน้ 52 คน
2 เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ 1. ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มคี วามรู้และเข้าใจเก่ยี วกบั การทำเกษตรแบผสมผสาน 2. ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม นำความรทู้ ีไ่ ด้รับมาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวัน ผลลพั ธ์ - ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การทำเกษตรแบผสมผสานและนำความรทู้ ่ไี ด้รบั มาปรบั ใช้ใน ชีวิตประจำวัน ดัชนชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 4.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (Outputs) รอ้ ยและ 80 ของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มีมคี วามร้แู ละเข้าใจเกี่ยวกับการทำเกษตรแบผสมผสาน 4.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) รอ้ ยและ 80 ของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม นำความรู้ท่ีไดร้ บั มาปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั
3 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการจัดทำสรปุ ผลโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC คร้ังนี้ คณะผู้จดั ทำโครงการ ได้ทำการคน้ คว้าเน้ือหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง ดังน้ี 1. กรอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้พฒั นาสงั คมชุมชน 2. เอกสาร/งานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ ง 1. กรอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรพู้ ฒั นาสงั คมชมุ ชน นโยบายเรง่ ดว่ นเพอื่ รว่ มขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง 1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 3. จดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยใชหลักสตู รและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบบรู ณาการในรปู แบบของการฝกอบรมการประชุม สมั มนา การจัดเวทแี ลกเปลยี่ นเรียนรูการจัดกจิ กรรม จติ อาสา การสรางชุมชนนักปฏิบตั ิ และรปู แบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกบั กลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชน แตละพน้ื ที่ เคารพความคดิ ของผูอื่น ยอมรบั ความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ รวมทัง้ สังคม พหวุ ัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปลยี่ นเรียนรรู วมกนั สรางกระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสำนกึ ความเปนประชาธิปไตยการเคารพในสทิ ธิและเสรภี าพ และรบั ผดิ ชอบตอหนาท่ีความเปนพลเมอื ง ทีด่ ีภายใตการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม การเปนจิตอาสา การบำเพญ็ ประโยชนในชุมชนการ บริหารจดั การน้ำ การรับมอื กับสาธารณภยั การอนรุ กั ษพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การชวยเหลือซงึ่ กันและกนั ในการพัฒนาสังคมและชมุ ชนอยางยั่งยนื 2. เอกสาร/งานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขน้ึ หลายๆ ทา่ นคงเคยได้ยนิ คำว่า “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาบอ่ ยครัง้ ซง่ึ หลายๆคนกอ็ าจจะเข้าใจกนั ผิดเพี้ยนไปบา้ ง ว่า เชน่ จงขยันไปทำไม ทำงานแค่พอประมาณ หรอื บางคนก็บอกวา่ เรากนิ น้อย ใชน้ ้อย ก็อยู่อยา่ งพอเพียงก็ดแี ลว้ อย่าไป โลภมาก บา้ ง ซึ่งใครท่ีคดิ แบบน้ีอยู่ แสดงว่าทา่ นยังไมเ่ ข้าใจคำวา่ “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” จรงิ ๆเลยซึ่งในหลวงรัชกาลท่ี 9 ของ เราน้นั ทรงมีพระราชดำริเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียงนมี้ าตงั้ แต่วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2517 ( นบั ถึงปัจจุบนั กเ็ ปน็ เวลา มากกว่า 40 ปี ) โดยทรงมีพระราชดำริวา่ ดว้ ยเศรษฐกิจพอเพียงตอนหน่ึงว่า “...การพัฒนาประเทศจำเป็นตอ้ งทำตามลำดบั ขน้ั ต้องสร้างพนื้ ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนสว่ นใหญเ่ บอ้ื งตน้ กอ่ น โดยใช้วธิ กี ารและอุปกรณท์ ี่ประหยดั แตถ่ ูกต้องตามหลักวชิ าการ เมอื่ ไดพ้ นื้ ฐานความม่ันคงพร้อมพอสมควร และปฏบิ ัตไิ ด้แล้ว จึงค่อยสรา้ งค่อยเสรมิ ความ เจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขนั้ ท่ีสูงขึ้นโดยลำดับต่อไป...”
4 จุดเรม่ิ ตน้ แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลจากการใชแ้ นวทางการพฒั นาประเทศไปสูค่ วามทนั สมยั ได้กอ่ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงแกส่ ังคมไทยอยา่ งมากใน ทกุ ดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมอื ง วัฒนธรรม สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม อีกทงั้ กระบวนการของความเปล่ียนแปลงมี ความสลับซบั ซอ้ นจนยากที่จะอธบิ ายใน เชงิ สาเหตุและผลลพั ธไ์ ด้ เพราะการเปลีย่ นแปลงทั้งหมดต่างเปน็ ปจั จัยเชือ่ มโยงซง่ึ กนั และกนั สำหรบั ผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพ่ิมขน้ึ ของอตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทาง วตั ถุ และสาธารณปู โภคตา่ งๆ ระบบส่ือสารท่ที นั สมัย หรือการขยายปรมิ าณและกระจายการศกึ ษาอย่างทัว่ ถงึ มากขนึ้ แต่ผล ด้านบวกเหล่าน้ีสว่ นใหญก่ ระจายไปถึงคนในชนบท หรือผ้ดู ้อยโอกาสในสังคมน้อยแตว่ า่ กระบวนการเปลยี่ นแปลงของสังคม ได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เชน่ การขยายตวั ของรัฐเขา้ ไปในชนบท ไดส้ ่งผลใหช้ นบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทัง้ การ ต้องพง่ึ พงิ ตลาดและพ่อคา้ คนกลางในการสั่งสนิ คา้ ทนุ ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพนั ธ์แบบเครอื ญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพอ่ื การจัดการทรัพยากรที่เคยมอี ยู่แตเ่ ดิมแตก สลายลง ภูมิความร้ทู เี่ คยใช้แกป้ ัญหา และสงั่ สมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลอื นและเรมิ่ สูญหายไปสง่ิ สำคัญ กค็ ือ ความพอเพยี งในการดำรงชวี ติ ซึง่ เป็นเงื่อนไข พ้ืนฐานท่ีทำให้คนไทยสามารถพ่งึ ตนเอง และดำเนนิ ชีวิตไปไดอ้ ย่างมศี ักด์ศิ รีภายใต้อำนาจและความมอี ิสระในการ กำหนด ชะตาชวี ติ ของตนเอง ความสามารถในการควบคมุ และจัดการเพอ่ื ใหต้ นเองได้รบั การสนองตอบต่อความตอ้ ง การ ตา่ งๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ไดด้ ้วยตนเอง ซ่ึงทัง้ หมดน้ถี อื ว่าเป็นศกั ยภาพพ้ืนฐานที่คนไทยและ สังคมไทยเคยมอี ยู่แต่ เดมิ ตอ้ งถกู กระทบกระเทือน ซง่ึ วิกฤตเศรษฐกจิ จากปญั หาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของ ชนบท รวมทัง้ ปัญหาอื่นๆ ทเ่ี กิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์และยนื ยนั ปรากฎการณ์นี้ได้เป็นอยา่ งดี (ทม่ี า : ขอ้ มลู เผยแพรจ่ ากมลู นธิ ชิ ยั พฒั นา ) ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เปน็ ระบบการเกษตรท่มี ีการเพาะปลูกพืชหรือการเลยี้ ง สัตว์ตา่ งๆ ชนิดอยูใ่ นพืน้ ที่เดียวกนั ภายใตก้ ารเกื้อกูล ประโยชน์ตอ่ กันและกนั อย่างมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ โดยอาศัยหลกั การอยู่ รวมกันระหวา่ งพืช สัตว์ และสง่ิ แวดลอ้ มการอยู่รวมกันอาจจะอยใู่ นรูปความสมั พันธ์ระหวา่ งพืชกบั พชื พชื กับสัตว์ หรอื สตั ว์ กบั สัตวก์ ็ได้ ระบบเกษตรผสมผสานจะประสบผลสำเรจ็ ได้ จะต้องมกี ารวางรูปแบบ และดำเนินการ โดยให้ความสำคญั ตอ่ กจิ กรรม แตล่ ะชนดิ อยา่ งเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ เศรษฐกจิ สังคม มกี ารใช้แรงงาน เงินทุน ท่ดี ิน ปจั จัย การผลิตและทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนรู้จกั นำวัสดุเหลือใช้จากการผลติ ชนิดหน่ึงมาหมุนเวยี นใช้ ประโยชน์กบั การผลติ อกี ชนิดหนึง่ กบั การผลติ อกี ชนดิ หน่งึ หรอื หลายชนิดภายในไรน่ าแบบครบวงจร ตัวอยา่ งกจิ กรรม ดงั กลา่ ว เชน่ การเลยี้ งไก่ หรือสุกรบนบอ่ ปลา การเลี้ยงปลาในนาข้าว การเลี้ยงผ้งึ ในสวนผลไม้ เป็นต้น ตามแนวคิดดังกล่าวมหี ลักการพื้นฐานที่สำคญั 2 ประการ คือ 1) ตอ้ งมกี จิ กรรมการเกษตรตงั้ แต่ 2 กจิ กรรมข้นึ ไป 2) ตอ้ งเกิดการเกอื้ กลู ประโยชนร์ ะหว่างกิจกรรมตา่ งๆ ระบบไรน่ าสวนผสม (Mixed/Diversefied/Polyculture Farming System) เป็นระบบการเกษตรที่มกี จิ กรรมการ
5 ผลติ หลาย ๆ กิจกรรมเพ่ือตอบสนองตอ่ การบรโิ ภคหรือลดความเส่ยี งจากราคา ผลิตผลท่มี ีความไมแ่ น่นอนเท่านนั้ โดยมไิ ด้มกี ารจัดการให้กิจกรรมการผลิตเหลา่ นน้ั มกี ารผสมผสานเก้อื กลู กันเพือ่ ลดต้นทุนการผลิต และคำนึงถึง สภาพแวดล้อมเหมือนเกษตรผสมผสานการทำไร่นาสวนผสมอาจมีการเกอื้ กูลกนั จาก กิจกรรมการผลติ บ้าง แต่กลไกการ เกิดขน้ึ นน้ั เปน็ แบบ “เป็นไปเอง” มใิ ช่เกดิ จาก “ความรู้ ความเข้าใจ” อย่างไร ก็ตามไรน่ าสวนผสม สามารถพฒั นาความรู้ ความสามารถของเกษตรกรผูด้ ำเนินการใหเ้ ปน็ การดำเนินการในลักษณะ ของระบบเกษตรผสมผสานได้ เหตผุ ลท่ีมาของรปู แบบการเกษตรผสมผสานจากการทำเกษตรกระแสหลักโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการทำเกษตรเชิงเด่ียวหรือการ ผลติ สินคา้ เกษตรชนิดเดยี ว เกดิ ปญั หาหลายๆด้านคือ 1) รายไดข้ องครัวเรือนไมม่ เี สถยี รภาพ 2) เศษวัสดุจากพืชและมลู สัตว์ไมไ่ ด้นำไปใช้ประโยชน์ 3) การผลติ สินค้าเดี่ยวบางชนดิ ใช้เงินลงทุนมาก 4) ครวั เรือนตอ้ งพ่ึงพิงอาหารจากภายนอก ดงั นนั้ จงึ เกดิ แนวคดิ ในการที่หาระบบการผลิตในไรน่ า ท่สี ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากพืน้ ที่ทำกินขนาดเลก็ เพอ่ื ลดความ เสย่ี งจากการผลิต ลดการพง่ึ พิงเงินทนุ ปจั จัยการผลิตและอาหารจากภายนอก เศษพชื และมูลสัตว์ ซงึ่ เป็นผลพลอยได้จาก กจิ กรรมการผลติ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในไร่นาและทำใหผ้ ลผลติ และรายไดเ้ พ่มิ ข้ึนระบบการผลิตดงั กลา่ วคือ เกษตร ผสมผสาน วตั ถปุ ระสงคข์ องการเกษตรผสมผสาน -เพ่อื ใหเ้ กดิ ความมั่นคงด้านรายได้ -เพอื่ ลดการพง่ึ พาด้านเงินทุน ปัจจัยการผลิต และอาหารจากภายนอก -เพอ่ื ให้เกดิ การประหยดั ทางขอบขา่ ย -เพ่ิมรายได้จากพนื้ ท่ีเกษตรขนาดยอ่ ยท่ีจำกัด นอกจากนยี้ งั มี การเพ่ิมพนู ความอุดมสมบรู ณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ลดการทำลายสง่ิ แวดลอ้ ม ทำให้เกษตรกรมี ความเปน็ อสิ ระในการดำรงชวี ิตวธิ ีการแบ่งสัดส่วนกจิ กรรมเกษตรระบบผสมผสาน เกษตรผสมผสานเป็นแนวทางหรอื หลกั ในการบริหารจัดการท่ีดินและน้ำ เพอ่ื การเกษตรในท่ดี นิ ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ดว้ ยหลักเศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรนิ ี้เพื่อเปน็ การชว่ ยเหลอื เกษตรกร การจดั การพ้ืนท่ีแบ่งไดเ้ ปน็ 4 สว่ น คือ 30:30:30:10 ดงั น้ี
6 -ขุดสระเกบ็ กกั นำ้ พน้ื ทปี่ ระมาณ 30% ให้ขุดสระเกบ็ กกั น้ำ เพอื่ ใหม้ นี ้ำใช้ สมำ่ เสมอตลอดปี โดยเก็บกักนำ้ ฝนในฤดฝู น และ ใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแลง้ หรอื ระยะฝนท้งิ ช่วง ตลอดจนการเล้ียงสัตว์ และพืชน้ำตา่ งๆ เช่น ผกั บงุ้ ผักกระเฉด โสน ฯลฯ -ปลกู ขา้ วพนื้ ทป่ี ระมาณ 30 % ใหป้ ลูกขา้ วในฤดูฝน เพือ่ ใชเ้ ป็นอาหารประจำวนั สำหรบั ครวั เรอื นใหเ้ พยี งพอตลอดปี โดยไม่ ต้องซอื้ หาในราคาแพง เปน็ การลดค่าใช้จา่ ย และสามารพ่ึงตนเองได้ -ปลูกผลไม้ ไมย้ นื ต้น พชื ไร่ พืชผักพน้ื ที่ประมาณ 30 % ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผกั พชื สมุนไพร ฯลฯ อยา่ ง ผสมผสานกัน และหลากหลายในพ้ืนท่เี ดียวกัน เพื่อใชเ้ ป็นอาหารประจำวัน หากเหลอื จากการบริโภคก็นำไปขายได้ -ท่ีอยอู่ าศยั และอนื่ ๆ พน้ื ทป่ี ระมาณ 10 % ใช้เป็นที่อยอู่ าศยั เล้ียงสตั ว์ ถนนหนทาง คนั ดนิ โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ รวมทัง้ คอกเลี้ยงสตั ว์ เรือนเพาะชำ ฉางเกบ็ ผลิตผลการเกษตร ฯลฯ นเ่ี ป็นทฤษฎีปฏิบตั ิจรงิ พนื้ ทเี่ ป็นนาทั้งหมดหรือไร่สวน ดว้ ย จดุ เดน่ ของการเกษตรผสมผสาน 1) การลดความเสี่ยงและความไม่แนน่ อนของรายได้ 2) รายไดส้ มำ่ เสมอ 3) การประหยดั ทางขอบข่าย ค่าใชจ้ า่ ยในไรน่ าลดลง มรี ายไดส้ ุทธเิ พม่ิ มากข้ึน 4) ลดการพงึ่ พงิ จากภายนอก 5) ลดการวา่ งงานตามฤดกู าล มงี านทำทง้ั ปี ทำให้ลดการอพยพแรงงาน
67 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการทำเกษตรผสมผสาน ระบบเกษตรผสมผสานเป็นรูปแบบหน่งึ ของระบบเกษตรกรรมท่ีมกี ิจกรรมตงั้ แต่ 2 กจิ กรรมขนึ้ ไปในพืน้ ที่เดยี วกัน และกจิ กรรมเหล่าน้ีจะมีการเกือ้ กูลประโยชนซ์ ึ่งกนั และกันไมท่ างใดก็ทางหนง่ึ ดงั นนั้ จงึ เป็นระบบทีน่ ำไปสู่ การเกษตรแบบ ยง่ั ยืน (Sustainable Agriculture) จงึ กอ่ ให้เกิดผลดีและประโยชน์ในด้านตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ลดความเสยี่ งจากความแปรปรวนของสภาพลม ฟา้ อากาศ จากปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ี่มคี วามแปรปรวนในแต่ ละปี ซ่งึ มีแนวโน้มจะรนุ แรงมากขน้ึ เชน่ เกิดภาวะฝนแล้ง ฝนทงิ้ ชว่ ง นำ้ ทว่ มฉับพลัน เป็นต้น จึงเป็นปญั หาที่กอ่ ใหเ้ กดิ ความ เสยี หายต่อเกษตรกรที่มีกจิ กรรมการเกษตรเพยี ง อยา่ งเดียว เชน่ ข้าว หรอื พืชไร่ ดังนน้ั หน่วยงานวจิ ัยและพฒั นาของกรม วชิ าการเกษตร รวมทง้ั เกษตรกรบางส่วนจึงได้พยายามศึกษาและพัฒนาการแปรเปลย่ี นพ้นื ที่นาหรือไรน่ าบางสว่ นมา ดำเนินการระบบเกษตรผสมผสานท่มี ีหลาย ๆ ปลูกพชื สวน (ไมผ้ ล พชื ผกั ) การเลยี้ งสตั ว์ หรอื การเล้ียงปลาทดแทนรายได้ จากการปลูกข้าวหรอื พชื ไร่ท่ีอาจเสียหาย จากสภาวะฝนแลง้ หรอื น้ำท่วม 2. ลดความเสี่ยงจากความผันแปรของราคาผลผลิต ในการดำเนนิ ระบบการเกษตรทม่ี เี พยี งกิจกรรมเดียว ทม่ี ีการผลิต เปน็ จำนวนมาก ผลผลิตทไ่ี ดเ้ มอื่ ออกสู่ตลาดพร้อมกัน ไม่วา่ จะเป็นขา้ ว พชื ไร่ ไมผ้ ล หรอื พืชผัก เมื่อมปี ริมาณ เกนิ ความ ตอ้ งการของตลาดย่อมทำใหร้ าคาของผลผลิตตำ่ ลง การแปรเปล่ียนพน้ื ท่ีนาหรอื ไรบ่ างสว่ นมาดำเนินการ ระบบเกษตร ผสมผสานจะสามารถช่วยลดความเส่ยี งจากความผันแปรของราคาผลผลิตในตลาดลงได้ เน่ืองจากเกษตร กรสามารถจะเลือก ชนิดพืชปลูกและเลือกกจิ กรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดได้เป็นอยา่ งดี 3. ลดความเสย่ี งจากการระบาดของศัตรูพชื ในการดำเนินกิจกรรมการปลกู ขา้ ว หรอื พชื ไร่เพียงอยา่ งเดยี ว เกษตรกรจะมี ความเสย่ี งอย่างมากเมอื่ เกิดการระบาดของศัตรูพืชขน้ึ เช่น กรณีการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และโรคใบหงกิ อย่าง รุนแรงในปี 2532-2533 ทำให้พน้ื ทปี่ ลกู ข้าวทว่ั ประเทศ โดยเฉพาะในเขตภาคกลางไดร้ บั ความ เสยี หายอย่างมาก เกษตรกร ต้องประสบความสญู เสยี ครง้ั ยงิ่ ใหญ่ โดยไมม่ รี ายไดจ้ ากกิจกรรมอ่นื มาเจือจนุ ครอบครวั ได้ 4. ชว่ ยเพิม่ รายไดแ้ ละกระจายรายไดต้ ลอดปี การดำเนนิ ระบบเกษตรผสมผสานซ่ึงมีกจิ กรรมหลายกิจกรรม ในพ้ืนท่ี เดยี วกนั จะก่อประโยชนใ์ นดา้ นทำให้เกษตรกรมรี ายไดเ้ พ่ิมขนึ้ และมีรายได้อยา่ งตอ่ เนื่อง ซึ่งอาจจะเป็นรายได้ รายวัน ราย สัปดาห์ รายเดอื น และรายได้ประจำฤดูกาล ตวั อยา่ งเช่น มีรายไดป้ ระจำวนั จากการ ขายพชื ผัก รายได้ประจำสัปดาห์จาการ เพาะเห็ดฟางในช่วงฤดูแล้ง (ม.ค.-เม.ย.) รายได้ประจำเดอื นจากไม้ผลอายสุ ั้น ได้แก่ กลว้ ย ฝรัง่ ละมดุ และรายได้ประจำ ฤดกู าลจากขา้ ว ขา้ วโพดหวาน ถั่วลิสง ถ่ัวเขยี ว ท่ีปลกู หลงั นา 5. ชว่ ยกอ่ ให้เกิดความหลากหลายทางชวี พันธ์ุ (Species Diversity) การดำเนินระบบเกษตรผสมผสาน ซ่ึงจะมีกจิ กรรม หลากหลายในพน้ื ทเ่ี ดยี วกนั พบวา่ ทำให้เกิดความหลากหลายทาง ชวี พันธ์ุ (Species Diversity) เกิดข้ึนในพ้ืนที่ 6. ช่วยกระจายการใช้แรงงาน ทำให้มีงานทำตลอดปี เป็นการลดปญั หาการเคลื่อนยา้ ยแรงงานออกนอกภาคการ เกษตร และในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศขณะนี้ ทำใหเ้ กิดปัญหาคนวา่ งงานจำนวนมาก ระบบเกษตรผสม ผสานจะรองรับ แรงงานเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เนอ่ื งมาจากระบบเกษตรผสมผสาน มกี ิจกรรมหลายกิจกรรมแต่ละกจิ กรรมมกี าร ใชแ้ รงงานแตกตา่ ง กนั ไป เม่อื รวมกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ไว้ดว้ ยกันในระบบเกษตรผสมผสานจงึ มีการใช้แรงงานมากขึ้น มกี ารกระจายแรงงานไป ตามกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดปี เมือ่ เปรยี บเทยี บกับระบบเกษตรทมี่ กี จิ กรรมเดียว ดงั เช่น ข้าวหรอื พืช ไร่ และสามารถลดปัญหา การเคล่อื นยา้ ยแรงงาน ออกจากพน้ื ท่ีไดถ้ งึ รอ้ ยละ 87
8 7. ช่วยก่อใหเ้ กดิ การหมุนเวียน (Recycling) ของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในระดับไร่นา เป็นการชว่ ยอนรุ กั ษ์ทรัพยากรในระดับไร่นา ไม่ให้เส่อื มสลายหรอื ถูกใช้ใหห้ มดไปอยา่ งรวดเร็ว ท้งั นเ้ี น่ืองจากระบบ เกษตรผสมผสานจะมกี ารเก้ือกลู ประโยชน์ต่อกนั เช่น ปลูกไมผ้ ลรอบบอ่ ปลา และเล้ียงไก่เน้ือบนบ่อปลา แล้วพบวา่ มลู และอาหารของไก่ ท่ีตกลงไปในบอ่ ปลา จะชว่ ยเพิ่มธาตุ อาหารใหแ้ ก่พืชอาหารของปลา ทำให้ปลามอี าหารอุดมสมบูรณ์ แตเ่ มื่อมมี ากเกินไป จะแย่งอากาศในน้ำกับปลา (นำ้ จะมสี ี เขยี วเข้ม) ทำให้ปลาขาดอากาศ จงึ จำเปน็ ต้องมีการระบายน้ำออกจากบอ่ ปลาโดย ปล่อยลงนาขา้ ว จากผลการดำเนินงานนี้ จะพบวา่ เกษตรกรสามารถลดปรมิ าณการใช้ปุ๋ยในนาข้าวได้ จากผลการสุม่ ตวั อย่างผลผลติ พบว่า แปลงของเกษตรกรทมี่ กี าร ใสป่ ๋ยุ อัตรา 50 กก./ไร่ จะไดผ้ ลผลิต 764 กก./ไร่ แต่แปลงที่ใสน่ ้ำจากบ่อเล้ียงปลา รว่ มกบั การใชป้ ุ๋ย 21.4 กก./ไร่ จะได้ ผลผลิต 759 กก./ไร่ ซึ่งแตกต่างกนั ไม่มากนัก ช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทนุ การผลติ ข้าวลงได้ 8. ชว่ ยให้เกษตรกรมอี าหารเพียงพอต่อการบริโภคภายในครัวเรอื น ในการดำเนินระบบเกษตรผสมผสานที่มหี ลาย กจิ กรรมช่วยทำใหเ้ กษตรกรสามารถมอี าหารไว้บรโิ ภคในครอบครัวครบ ทกุ หมู่ โดยอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตจะได้จาก ข้าว ขา้ วโพด อาหารประเภทโปรตีน จะได้จากไก่ ปลา พืชตระกลู ถั่ว อาหารประเภทวติ ามิน เสน้ ใยจากพชื ผักผลไม้และเห็ด ฟาง ชว่ ยทำใหเ้ กษตรกรสามารถลดค่าใช้จา่ ยค่าอาหารและมีการ ปรบั ปรุงคุณภาพโภชนาการและสุขภาพของเกษตรกรใน ท้องถิ่นใหด้ ีขนึ้ 9. ชว่ ยทำให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดขี ้ึน การดำเนินกิจกรรมในระบบเกษตรผสมผสานช่วยทำให้มีการ กระจายการ ใช้แรงงานทำให้มีงานทำตลอดทัง้ ปี และมีการกระจายรายไดจ้ ากกิจกรรมต่าง ๆ เป็นการลดปญั หาการ เคลื่อนยา้ ยแรงงาน ออกจากภาคการเกษตรไปสภู่ าคอื่น ๆ เช่น ภาคอุตสาหกรรม ภาคการขายบริการต่าง ๆ เมอื่ ไมม่ ีการอพยพแรงงานออกจาก ทอ้ งถน่ิ ทำให้ครอบครวั ได้อยู่กันพรอ้ มหน้าทั้งพ่อ แม่ ลกู ช่วยทำใหส้ ภาพจติ ใจดขี ้นึ สภาพทางสังคมในท้องถ่ินดีข้ึน ช่วยทำ ใหค้ ณุ ภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น
9 พระราชดำรสั ทเี่ กย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง “...เศรษฐศาสตรเ์ ป็นวิชาของเศรษฐกจิ การท่ีต้องใช้รถไถต้องไปซ้ือ เราต้องใชต้ อ้ งหาเงนิ มาสำหรับซ้ือนำ้ มันสำหรบั รถไถ เวลารถไถเก่าเราตอ้ งย่ิงซ่อมแซม แต่เวลาใช้นัน้ เราก็ตอ้ งป้อนน้ำมนั ให้เป็นอาหาร เสร็จแลว้ มันคายควนั ควนั เราสูดเขา้ ไปแลว้ ก็ปวดหวั สว่ นควายเวลาเราใช้เราก็ตอ้ งป้อนอาหาร ตอ้ งใหห้ ญา้ ให้อาหารมนั กนิ แต่วา่ มนั คายออกมา ทีม่ นั คาย ออกมากเ็ ปน็ ปยุ๋ แล้วกใ็ ชไ้ ด้สำหรบั ให้ที่ดินของเราไม่เสีย...” พระราชดำรสั เน่อื งในพระราชพิธพี ืชมงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั ณ ศาลาดุสิดาลยั วันที่ 9 พฤษภาคม 2529 “...ตามปกตคิ นเราชอบดสู ถานการณ์ในทางดี ทเี่ ขาเรียกว่าเล็งผลเลิศ ก็เหน็ ว่าประเทศไทย เรานีก่ ้าวหนา้ ดี การเงนิ การอุตสาหกรรมการคา้ ดี มีกำไร อีกทางหนงึ่ กต็ ้องบอกวา่ เรากำลงั เสอ่ื มลงไปส่วนใหญ่ ทฤษฎีวา่ ถ้ามเี งนิ เท่าน้นั ๆ มีการกู้ เทา่ นั้นๆ หมายความว่าเศรษฐกิจกา้ วหน้า แล้วก็ประเทศก็เจริญมีหวังวา่ จะเป็นมหาอำนาจ ขอโทษเลยต้องเตือนเขาวา่ จริง ตัวเลขดี แตว่ า่ ถ้าเราไม่ระมดั ระวังในความตอ้ งการพน้ื ฐาน ของประชาชนนั้นไมม่ ที าง...” พระราชดำรัส เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธนั วาคม 2536 “...เดย๋ี วนี้ประเทศไทยก็ยงั อยดู่ พี อสมควร ใชค้ ำว่า พอสมควร เพราะเดยี๋ วมคี นเหน็ ว่ามีคนจน คนเดือดร้อน จำนวน มากพอสมควร แตใ่ ช้คำว่า พอสมควรนี้ หมายความวา่ ตามอัตภาพ...” พระราชดำรสั เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันท่ี 4 ธันวาคม 2539 “...ที่เปน็ ห่วงนั้น เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ท่เี ป็นปกี าญจนาภเิ ษกกไ็ ด้เห็นสิง่ ที่ทำให้เห็นได้ว่า ประชาชนยงั มีความ เดอื ดร้อนมาก และมีสง่ิ ที่ควรจะแกไ้ ขและดำเนนิ การต่อไปทกุ ดา้ น มภี ยั จากธรรมชาติกระหนำ่ ภยั ธรรมชาติน้ีเราคงสามารถ ทีจ่ ะบรรเทาไดห้ รอื แกไ้ ขได้ เพยี งแตว่ า่ ตอ้ งใช้เวลาพอใช้ มีภยั ที่มาจากจิตใจของคน ซ่ึงก็แก้ไขได้เหมือนกนั แตว่ ่ายากกว่าภัย ธรรมชาติ ธรรมชาตนิ น้ั เป็นสง่ิ นอกกายเรา แตน่ ิสัยใจคอของคนเปน็ สง่ิ ทอ่ี ยู่ข้างใน อันนก้ี ็เป็นข้อหน่ึงทอ่ี ยากใหจ้ ัดการใหม้ ี ความเรยี บรอ้ ย แต่กไ็ ม่หมดหวัง...” พระราชดำรัส เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ที่ 4 ธันวาคม 2539 “...การจะเป็นเสอื นน้ั ไมส่ ำคญั สำคัญอย่ทู ่ีเรามเี ศรษฐกิจแบบพอมพี อกิน แบบพอมีพอกินน้นั หมายความวา่ อมุ้ ชู ตวั เองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนไ้ี มไ่ ด้หมายความวา่ ทุกครอบครัวจะต้องผลติ อาหารของตัวเอง จะตอ้ งทอผ้า ใส่เอง อย่างนนั้ มันเกนิ ไป แตว่ า่ ในหมู่บา้ นหรือในอำเภอ จะตอ้ งมีความพอเพยี งพอสมควร บางส่ิงบางอยา่ งผลิตไดม้ ากกว่า ความตอ้ งการกข็ ายได้ แตข่ ายในทีไ่ มห่ ่างไกลเทา่ ไร ไมต่ ้องเสยี ค่าขนสง่ มากนัก...” พระราชดำรัส เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2539
10 วธิ กี ารทำปยุ๋ ชวี ภาพ หรอื ปยุ๋ พชื สด ปยุ๋ ชวี ภาพ การใช้ประโยชนท์ รพั ยากรดนิ มสี ูงขึน้ โดยการขยายพื้นท่ีเพาะปลูก ทำให้ความสมดลุ ของธรรมชาติถูกทำลายไป ความรเู้ ทา่ ไม่ถึงการณข์ องมนุษยม์ ีสว่ นเรง่ การเสอ่ื มโทรมของดนิ ใหเ้ รว็ ขน้ึ โดยเฉพาะการใชป้ ุย๋ อนนิ ทรีย์ (Inorganic Fertilizer) ทีม่ นุษย์สงั เคราะหข์ นึ้ เชน่ ป๋ยุ เคมี การใช้ท่ีดินทำ การเพาะปลูกติดตอ่ กนั และการใช้ปยุ๋ เคมเี พียงอย่างเดยี วโดย ไม่มีการเพม่ิ อนิ ทรียวัตถใุ หแ้ กด่ ิน จะทำให้ ดินสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ไปอย่างรวดเร็ว ดินจะแขง็ ไม่รว่ นซยุ การดูดซับนำ้ และแรธ่ าตุอาหารของ พืชทำได้นอ้ ยลง เกิดผลต่อเนอื่ งใหด้ นิ ในพื้นที่ทำการเกษตรเสอื่ มโทรมอยา่ งถาวรโดยเฉพาะดนิ ทีใ่ ช้ใน การปลูกข้าว อ้อย และพืชเศรษฐกจิ ชนิดอนื่ ๆ โดยจะทำใหเ้ กิด “การใชพ้ ้ืนท่ีปลูกเล่อื นลอย” เกิดการ อพยพยา้ ยพน้ื ที่ ตอ่ เนอื่ งไปเรือ่ ยๆ ซ่งึ เปน็ การใช้ทดี่ ินทีไ่ ม่ถูกต้องตามหลักการอนุรักษ์ดิน (Soil Conservation) จึงมีความจำเปน็ ท่ีจะตอ้ ง ปรับปรงุ บำรุงดินเพื่อให้มีความเหมาะสมในการปลูกพืชและ การใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยัง่ ยนื แนวทางแก้ปัญหาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ มากที่สดุ ในการปรบั ปรุงบำรุงดนิ โดยการ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ (Organic Fertilizer) ซง่ึ มีองค์ประกอบของธาตคุ าร์บอนเป็นหลัก เพอ่ื เพ่ิมอนิ ทรีย์วัตถใุ นดนิ ทำให้การดูดซับธาตุอาหารท่ีสำคัญของพืชเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพมากข้ึน วิธีการปรับปรงุ บำรงุ ดนิ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ในการทำการเกษตรอย่างย่ังยนื ซงึ่ ศูนย์เรียนรูป้ ราชญช์ าวบา้ นหลายพน้ื ทไ่ี ด้มีการ อบรมให้ ความรใู้ นการทำปยุ๋ อินทรยี ์ พอสรุปไดด้ ังน้ี ปยุ๋ พชื สด เปน็ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ชนดิ หนึ่งซ่ึงไดจ้ ากการไถกลบต้น ใบและสว่ นต่างๆของพชื โดยเฉพาะพชื ตระกูลถ่ัวที่ปลกู ไว้ หรอื ข้ึน เองตามธรรมชาตใิ นระยะชว่ งออกดอกจนถงึ ดอกบานเตม็ ท่ี ซึง่ เปน็ ช่วงท่ีมี ธาตุอาหารในลำตน้ สูงสุดแลว้ ปล่อยใหเ้ นา่ เป่ือยผุ พัง ยอ่ ยสลายเปน็ อาหารแก่พืชทีป่ ลกู ตามมา นอกจากน้ียังช่วยลดปญั หาในการกำจดั วัชพชื ไดอ้ ีกด้วย วสั ดอุ ปุ กรณ์ 1. พชื ตระกูลถ่ัว (เปน็ พชื ท่ีเหมาะจะนำมาเปน็ ป๋ยุ พชื สดมากกว่าประเภทอ่ืนเพราะเป็นพืชทีม่ ีคุณค่าทางธาตุอาหาร สูงตอ่ พชื ปลกู ) 2. พชื ชนดิ อืน่ ๆ ที่ไมใ่ ชพ่ ืชตระกลู ถว่ั 3. พชื น้ำ
11 ขนั้ ตอนวธิ ที ำ 1. ปลกู พชื ที่จะนำมาทำป๋ยุ พืชสด 3 กลุม่ พชื ดังท่กี ลา่ วขา้ งต้นรว่ มกับพชื ปลูก ในแปลงปลูก โดยอาจพิจารณาปลกู พืชทจ่ี ะนำมาทำปุย๋ พืชสดชนิดต่างๆ ตามความสัมพันธก์ ับพชื ปลูก 2. เมอ่ื ถึงกำหนดอายขุ องพชื ที่จะนำมาทำปุ๋ยพืชสดให้ตดั สับและไถกลบลง ในแปลงปลกู ในที่นี้ขอยกตัวอย่างอายทุ ่ี เหมาะสมในการเก็บเกย่ี วของพชื บางชนิด เช่น โสนอินเดีย ตดั สับและไถกลบเมื่ออายุ 80-90 วันหลังปลกู ถ่ัวนา ไถกลบเมอื่ อายุ 75 วันหลงั ปลกู เปน็ ตน้ 3. การพจิ ารณาในแงใ่ ช้ประโยชน์สงู สุด ตอ้ งพิจารณาจากลักษณะพื้นทใี่ นการปลกู เปน็ หลัก โดยแบ่งได้ 3 ลกั ษณะ ดังนี้ 3.1 ปลกู พชื ท่ีจะนำมาทำป๋ยุ พืชสดในลกั ษณะพ้นื ท่ีเป็นแปลงใหญ่ ใหท้ ำการ ตดั สบั และไถกลบลงไปในพ้ืนที่ นัน้ เลยกอ่ นที่จะปลกู พชื ปลกู หลักชนดิ อ่นื ๆตามมา 3.2 ปลูกพืชที่จะนำมาทำปุย๋ พชื สดในลกั ษณะตามร่องระหว่างพืชปลกู หลัก โดยปลกู พืชท่ีจะนำมาทำปุย๋ พืช สดหลังจากพืชปลกู หลักเติบโตเตม็ ที่แลว้ เพือ่ ปอ้ งกันการแย่งธาตุอาหาร ในดนิ เมื่อพชื ท่จี ะนำมาทำปยุ๋ พชื สดเร่ิม ออกดอกจนถึงดอกบานกท็ ำการตัดสับและไถกลบลงไปในดิน ระหว่างรอ่ งพืชปลกู หลัก 3.3 ปลูกพชื ที่จะนำมาทำปุ๋ยพชื สดในลักษณะพื้นทชี่ ุ่มน้ำ โดยปลูกพชื ท่ีจะ นำมาทำปุ๋ยพืชสด (พืชน้ำ) แลว้ ตดั สับใสแ่ ละไถกลบลงไปในดนิ ก่อนท่ีจะทำการปลูกพชื หลกั เชน่ นา ข้าว นาบัว และนาแหว้ เปน็ ต้น การใชป้ ระโยชน์ 1. ช่วยเพมิ่ ปรมิ าณอินทรยี วตั ถแุ ละเพิม่ ธาตุไนโตรเจนใหแ้ กพ่ ชื ปลูก 2. ช่วยรกั ษาความชุ่มช้ืนในดนิ และทำใหด้ ินร่วนซยุ สะดวกในการไถดิน 3. กรดจากการย่อยสลายช่วยละลายธาตุต่างๆท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ก่พืชปลกู 4. ชว่ ยลดปรมิ าณการใชป้ ุ๋ยเคมีเพราะดนิ มธี าตอุ าหารเพยี งพอต่อพชื ปลกู 5. ลดอัตราการสญู เสียดินเน่อื งจากการชะล้างพงั ทลายของดิน (solerosion)
12 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ งาน การดำเนินโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ได้ดำเนินการตามข้นั ตอนต่างๆ ดงั น้ี 1. ขน้ั เตรยี มการ การศกึ ษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขนึ้ ผู้รับผดิ ชอบโครงการไดศ้ ึกษาค้นคว้าเอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ งเพือ่ เป็นขอ้ มลู และแนวทางในการดำเนินการโครงการอบรม เชิงปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ดังน้ี 1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนังสอื เกีย่ วกับการเรยี นรมู้ ่งุ สูค่ วามพอเพียงเพ่อื เปน็ แนวทางเกย่ี วกบั การจัด โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ข้ึน 2. ศึกษาข้นั ตอนการดำเนินโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC เพอื่ เป็นแนวทางใน การจัดเตรยี มงาน วสั ดอุ ปุ กรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ที่ (ตามนโยบายของรฐั บาล) กลุม่ ภารกิจ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมายเพอื่ ทราบความตอ้ งการทแ่ี ท้จรงิ ของประชาชนในตำบล และมีข้อมลู ในการจัดกิจกรรมทตี่ รงกับความต้องการ ของชมุ ชน การประสานงานผนู้ ำชมุ ชน / ประชาชน /วทิ ยากร 1. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หวั หน้า/ผู้นำชมุ ชนและประชาชนในตำบลเพ่อื รว่ มกันปรกึ ษาหารอื ใน กลุม่ เกยี่ วกบั การดำเนินการจัดโครงการให้ตรงกบั ความต้องการของชุมชน 2. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งเพื่อจัดหาวิทยากร การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การประชาสัมพันธ์การจดั โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน ยุคEEC 1 เพ่ือใหป้ ระชาชนทราบขอ้ มูลการจัดกจิ กรรมดังกลา่ วผ่านผนู้ ำชมุ ชน ประชมุ เตรยี มการ / วางแผน 1) ประชุมปรกึ ษาหารือผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง 2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายต่างๆ เตรยี มดำเนินการ 3) มอบหมายหนา้ ที่ แตง่ ตัง้ คณะทำงาน การรบั สมคั รผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ไดร้ ับสมัครผู้เข้ารว่ มโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC โดยให้ประชาชนท่ัวไปทอ่ี าศยั อยู่ในพื้นทตี่ ำบลวดั หลวง ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท่าข้าม และ ตำบลหนองเหียง เปา้ หมาย จำนวน 52 คน
13 การกำหนดสถานทแ่ี ละระยะเวลาดำเนนิ การ ครู กศน.ตำบล ไดก้ ำหนดสถานที่ในการจดั อบรมคอื ณ ศูนย์เรียนรู้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชดำรปิ ระจำตำบลธาตทุ อง อำเภอบอ่ ทอง จงั หวัดชลบรุ ี ในวนั ท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วัน เวลา 08.30-16.30 น. 2. ขน้ั ดำเนนิ งาน กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ เป้าหมายของโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ประชาชน 4 ตำบล ๆ ละ 13 คน ไดแ้ ก่ ตำบลวดั หลวง ตำบลวดั โบสถ์ ตำบลหนองเหยี ง และ ตำบลท่าข้าม จำนวน 13 คน รวมท้งั สิ้น 52 คน สถานทด่ี ำเนนิ งาน ครู กศน.ตำบล 4 ตำบล จัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC โดยจดั กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้ ในวันท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วนั เวลา 08.30-16.30 น. ณ ศนู ยเ์ รยี นรู้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดำริประจำตำบลธาตทุ อง อำเภอบอ่ ทอง จังหวดั ชลบุรี การขออนมุ ตั แิ ผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรพู้ ฒั นาสงั คมชมุ ชน กศน.ตำบล 4 ตำบล ไดด้ ำเนนิ การขออนุมตั ิแผนการจดั กิจกรรมพัฒนาสังคมชุมชน โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบุรี เพือ่ ให้ต้นสงั กดั อนมุ ตั ิแผนการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้พัฒนาสังคมชมุ ชน การจดั ทำเครอื่ งมอื การวดั ความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม เครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ขนั้ ดำเนนิ การ / ปฏบิ ตั ิ 1. เสนอโครงการเพอื่ ขอความเหน็ ชอบ/อนุมัตจิ ากตน้ สังกดั 2. วางแผนการจดั กิจกรรมในโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC โดยกำหนดตารางกิจกรรมทกี่ ำหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ ก่ผรู้ ับผิดชอบฝา่ ยตา่ งๆ 4. แต่งตัง้ คณะกรมการดำเนินงาน 5. ประชาสัมพนั ธ์โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ขน้ึ 6. จดั กิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ตามตารางกจิ กรรมที่ กำหนดการ 7. ติดตามและประเมินผลโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขนึ้
14 3. การประเมนิ ผล วิเคราะหข์ อ้ มลู 1. บันทึกผลการสังเกตจากผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม 2. วิเคราะห์ผลจากการประเมนิ ในแบบประเมินความพงึ พอใจ 3. รายงานผลการปฏิบัตงิ านรวบรวมสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของโครงการนำเสนอตอ่ ผู้บรหิ ารนำปญั หา ขอ้ บกพร่องไปแกไ้ ขคร้ังตอ่ ไป คา่ สถิตทิ ใี่ ช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลขอ้ มูลสว่ นตัวและตัวช้ีวัดความสำเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามคดิ เปน็ รายขอ้ โดยแปลความหมายคา่ สถิตริ อ้ ยละออกมาไดด้ ังน้ี ค่าสถติ ิร้อยละ 90 ขนึ้ ไป ดมี าก คา่ สถติ ิร้อยละ 75 – 89.99 ดี คา่ สถิตริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ ค่าสถิตริ ้อยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง คา่ สถติ ิรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเร่งด่วน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ นำมาเปรียบเทยี บ ไดร้ ะดับคณุ ภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ เกณฑก์ ารประเมิน (X) ค่านำ้ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ คือ ดีมาก ค่านำ้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี ค่านำ้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คุณภาพ คอื พอใช้ คา่ นำ้ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คือ ต้องปรบั ปรุง คา่ นำ้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคุณภาพ คือ ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งด่วน
15 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตอนท่ี 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขน้ึ การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC สรปุ รายงานผลการจดั กิจกรรมได้ ดงั น้ี ในการจดั กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรู้ตามโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC เปน็ การอบรมใหค้ วามรู้ โดยมี นายประกอบ อยเู่ ย็น เปน็ วิทยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เร่อื ง พัฒนาสังคมชมุ ชน เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติพื้นทีจ่ ริง เศรษฐกิจพอเพยี งขั้นพ้ืนฐาน เกษตรทฤษฎใี หม่ 3 ระดับ หลงั จากเสร็จสิ้นกิจกรรมดงั กล่าวแลว้ ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในพฒั นาสงั คมชมุ ชนแบบผสมผสานและนำ ความรู้ทไ่ี ดร้ ับมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน ตอนที่ 2 รายงานผลความพงึ พอใจของโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขนึ้ การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ซง่ึ สรุปรายงานผลจาก แบบสอบถามความคิดเห็น ขอ้ มูลที่ได้สามารถวิเคราะห์และแสดงค่าสถติ ิ ดังนี้ ตารางท่ี 1 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ รายละเอยี ด เพศ หญงิ ชาย 48 92.31 จำนวน (คน) 4 ร้อยละ 7.69 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่เี ข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้พฒั นาสงั คมชมุ ชน โครงการอบรมเชิง ปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC เป็นชาย 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.69 และเป็นหญงิ จำนวน 48 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.31 ตารางท่ี 2 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป)ี อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ขึน้ ไป 14 27 จำนวน (คน) 2 - 9 26.92 51.92 ร้อยละ 3.85 - 17.31 จากตารางที่ 2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้พฒั นาสังคมชุมชน โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC มอี ายุ 15–29 จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.85 มอี ายุ 40 – 49 ปี จำนวน 9 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.31 มีอายุ50-59 ปี 14 คน คิดเป็นรอ้ ยละ26.92 และมีอายุ 60 ปีขน้ึ ไป จำนวน 27คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 51.92
ตารางท่ี 3 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 16 รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจ้าง อาชพี คา้ ขาย อ่ืนๆ รับราชการ/รฐั วิสาหกจิ 1 12 1.92 23.08 จำนวน (คน) 30 3 6 ร้อยละ 57.69 5.77 11.54 จากตารางที่ 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้พฒั นาสังคมชุมชน โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC มอี าชพี เกษตรกรรม จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 57.69 มอี าชพี รับจา้ ง จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.77 อาชีพรับราชการ/รฐั วิสาหกิจจำนวน 6 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.54 อาชีพคา้ ขาย จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.92 และอาชีพอ่นื ๆ จำนวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 23.08 ตารางที่ 4 ผ้เู ข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดับการศกึ ษา รายละเอยี ด ระดบั การศกึ ษา การศกึ ษา ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีขึ้นไป 8 จำนวน (คน) 7 15 22 15.38 รอ้ ยละ 13.46 28.85 42.31 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้พฒั นาสงั คมชมุ ชน โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC มีระดบั ประถม จำนวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 13.46 มีระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จำนวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 28.85 มีระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 42.31 และ มรี ะดับ ปวส./ป.ตรี ข้ึนไป จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละเฉล่ยี ความสำเร็จของตัวชี้วดั ผลผลิต ประชาชนท่ัวไป เข้าร่วมโครงการจำนวน 52 คน เปา้ หมาย(คน) ผลสำเรจ็ ของโครงการ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ(คน) 100 52 จากตารางที่ 5 พบว่าผลสำเรจ็ ของตัวชี้วดั ผลผลิตกจิ กรรมการเรยี นรู้พฒั นาสังคมชุมชน โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC มีผเู้ ข้ารว่ มโครงการ จำนวน 52 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ซงึ่ บรรลุเป้าหมาย ดา้ นตวั ช้ีวัด ผลผลิต
17 ตารางท่ี 6 คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมท่มี ีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรม เชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ในภาพรวม รายการ ค่าเฉลยี่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ ความพึงพอใจ ด้านบริหารจัดการ () () ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.50 0.53 ดีมาก ด้านประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 4.53 0.51 ดมี าก รวมทุกด้าน 4.61 0.49 ดีมาก 4.55 0.51 ดีมาก จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทม่ี ีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน ยุคEEC ในภาพรวมอยู่ในระดับดมี าก (=4.55) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ดา้ นประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ อยใู่ น ระดับดมี าก มคี ่าเฉล่ยี (= 4.61) รองลงมาคือ ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ มอี ยู่ในระดับดีมาก มคี ่าเฉลย่ี (= 4.53) และด้านบรหิ ารจดั การ อยู่ในระดบั ดมี าก มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) ตามลำดบั โดยมสี ่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อย่รู ะหว่าง 0.49 - 0.53 แสดงว่า ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจสอดคลอ้ งกัน ตารางท่ี 7 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีมคี วามพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ดา้ นบริหารจัดการ รายการ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบน ระดับ () มาตรฐาน () ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานท่ี 4.50 0.54 ดมี าก 2. ส่งิ อำนวยความสะดวก 4.52 0.54 ดมี าก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.58 0.49 ดมี าก 4. เอกสารการอบรม 4.44 0.50 ดี 5. วิทยากรผูใ้ หก้ ารอบรม 4.48 0.57 ดี รวม 4.50 0.53 ดมี าก จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทีม่ ีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน ยุคEEC ด้านบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ(= 4.58) รองลงมาคือ สิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (= 4.52) อาคารสถานที่ มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.48 และ เอกสารการอบรม(= 4.44) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.49 - 0.57 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปใน ทิศทางเดยี วกัน
18 ตารางท่ี 8 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมที่มีความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพึงพอใจ 6. การจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำ 4.67 เกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC 0.47 ดีมาก 7. การให้ความรูเ้ ร่อื งการเรยี นรูม้ ุ่งสคู่ วามพอเพียง 4.52 8. การตอบขอ้ ซกั ถามของวิทยากร 4.58 0.50 ดมี าก 9. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารบั การอบรม 4.48 0.53 ดีมาก 10. การสรุปองค์ความรรู้ ่วมกัน 4.50 0.50 ดี 11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝกึ อบรม 4.40 0.50 ดีมาก 4.53 0.49 ดี รวม 0.50 ดมี าก จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน ยุคEEC ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอยใู่ นระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.53) เม่ือพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC มีค่าเฉล่ีย (= 4.67) รองลงมาคือ การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีค่าเฉล่ีย (= 4.58 ) การให้ความรู้เร่ืองการเรียนรู้มุ่งสู่ความพอเพียง มี ค่าเฉลี่ย (= 4.52 ) การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีค่าเฉลี่ย (=4.50) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.48) และการวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม ( = 4.40) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหวา่ ง 0.47 - 0.53 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเหน็ สอดคลอ้ งกัน ตารางที่ 9 ค่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมทมี่ คี วามพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรมเชิง ปฏิบตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ด้านประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั รายการ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบยี่ งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน () พงึ พอใจ 12. ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง โครงการอบรมเชิง 4.63 ปฏบิ ัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC 0.48 ดีมาก 13. นำความรทู้ ี่ได้รบั มาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั 4.58 0.49 ดีมาก รวม 4.61 0.49 ดมี าก
19 จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน ยุคEEC ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.61) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เกี่ยวกับโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC มีค่าเฉล่ีย (= 4.63) รองลงมา นำความรู้ที่ได้รับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.58) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อย่รู ะหว่าง 0.48 - 0.49 แสดงว่าผ้ตู อบแบบสอบถามมคี วามคิดเหน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.00 มคี า่ นำ้ หนกั คะแนน 4.55ถอื ว่าผรู้ บั บรกิ าร มีความพงึ พอใจทางดา้ นตา่ งๆ อยใู่ นระดบั ดมี าก โดยเรยี งลำดบั ดงั นี้ อนั ดบั แรก ด้านดา้ นประโยชน์ที่ไดร้ บั คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.20 มคี า่ นำ้ หนกั คะแนน 4.61 อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดีมาก อนั ดบั สอง ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.6 มคี า่ นำ้ หนักคะแนน 4.53 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดมี าก อนั ดบั สาม ดา้ นบริหารจัดการ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.00 มีคา่ น้ำหนกั คะแนน 4.50 อย่ใู นระดบั คณุ ภาพดีมาก
บทที่ 5 20 อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ได้ผลสรุปดงั นี้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้ผู้เข้าอบรมมคี วามรูแ้ ละเข้าใจเกยี่ วกบั การทำเกษตรแบผสมผสาน 2. เพ่ือให้ผู้เขา้ อบรมสามารถนำความรู้ไปพัฒนาชมุ ชนให้มีความเขม้ แขง็ ได้ เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ - ประชาชน 4 ตำบล ๆ ละ 13 คน ไดแ้ ก่ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลหนองเหยี ง และ ตำบลทา่ ข้าม รวมทั้งส้ิน 52 คน เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ - ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั การทำเกษตรแบผสมผสาน และนำความรูท้ ี่ได้รับมาปรับ ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูลในครง้ั นี้ คือ แบบประเมินความพงึ พอใจ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ทร่ี ับผิดชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถามความพงึ พอใจ ใหก้ บั ผูร้ ่วมกิจกรรม โดยให้ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมประเมินผลการจดั กิจกรรมตา่ งๆ ตามโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการทำ เกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การจัดกิจกรรมตาม โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC โดยดำเนินการเสร็จสนิ้ ลงแลว้ และสรุปรายงานผลการดำเนินงานไดด้ งั นี้ 1. ผรู้ ่วมกิจกรรมจำนวน 52 คน มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การทำเกษตรแบผสมผสาน และนำความรู้ทีไ่ ด้รับ มาปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวัน 2. ผ้รู ว่ มกจิ กรรมรอ้ ยละ 92.20 นำความรู้ทีไ่ ด้รับมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั 3. จากการดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการดังกล่าว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ต่อโครงการ อยใู่ นระดับ “ดมี าก ” และบรรลคุ วามสำเร็จตามเป้าหมายตวั ชว้ี ัดผลลพั ธท์ ่ตี ้ังไว้ โดยมีคา่ เฉลีย่ รอ้ ยละภาพรวม ของกิจกรรม 91.00 และค่าการบรรลุเปา้ หมายคา่ เฉลี่ย 4.55 ขอ้ เสนอแนะ - อยากใหม้ กี ารจัดกิจกรรมอีก จะไดน้ ำความรไู้ ปใชใ้ นการดำเนินชีวติ ต่อไป
บรรณานกุ รม ทมี่ า กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรีสะอาด และ บุญส่ง นิลแกว้ (2535 หน้า 22-25) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร . (2543). http://singkle.blogspot.com/p/blog-page_6535.html
ภาคผนวก
โครงการฯ
หนังสอื เชญิ วทิ ยากร
รายงานผลการจดั กจิ กรรม โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC จำนวน 1วัน ในวันที่ 4 มีนาคม 2564 ณ ศนู ยเ์ รยี นร้หู ลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดำรปิ ระจำตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จงั หวดั ชลบรุ ี วิทยากรคือนายประกอบ อยูเ่ ยน็ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมจำนวน 52 คน
แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี คำชีแ้ จง 1. แบบสอบถามฉบับนมี้ ีวตั ถุประสงค์ เพื่อใชใ้ นการสอบถามความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขน้ึ 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดงั นี้ ตอนที่ 1 ถามขอ้ มูลเก่ยี วกับผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ขอ้ ให้ทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่องใหต้ รงกับสภาพจริง ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC จำนวน 13 ขอ้ ซ่ึงมีระดับความพงึ พอใจ 5 ระดบั ดังน้ี 5 มากทสี่ ดุ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ุด 4 มาก หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 ปานกลางหมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง 2 นอ้ ย หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย 1 นอ้ ยท่สี ดุ หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อยท่สี ดุ ตอนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะตอ่ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยุคEEC ขนึ้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม หญิง 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปขี ้ึนไป อายุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี การศกึ ษา ต่ำกว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ประกอบอาชพี อนปุ ริญญา ปริญญาตรี สงู กว่าปริญญาตรี รบั จ้าง คา้ ขาย เกษตรกร ลูกจ้าง/ข้าราชการหนว่ ยงานภาครัฐหรอื เอกชน อืน่ ๆ ………………………………….
ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจเกย่ี วกบั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการทำเกษตรแบบผสมผสาน ยคุ EEC ขอ้ ที่ รายการ ระดบั ความคิดเหน็ 1 5 432 ดา้ นบรหิ ารจดั การ 1. อาคารและสถานที่ 2. ส่ิงอำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วิทยากรผ้ใู หก้ ารอบรม ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 6. การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการทำเกษตร แบบผสมผสาน ยคุ EEC ขน้ึ 7. การให้ความรูเ้ รอื่ งการทำเกษตรแบบผสมผสาน 8. การตอบขอ้ ซกั ถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปล่ียนเรียนรขู้ องผู้เขา้ รับการอบรม 10. การสรปุ องค์ความรู้ร่วมกัน 11. การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม ดา้ นประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 12 ได้เรยี นรู้และฝึกตนเอง เกยี่ วกบั ปฏิบัตกิ ารการทำเกษตรแบบ ผสมผสาน 13 นำความรู้ที่ได้รบั มาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ขอ้ คิดเห็น .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคุณทีใ่ ห้ความร่วมมอื กศน. อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี
คณะผจู้ ดั ทำ ทปี่ รกึ ษา หมน่ื สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนสั นคิ ม การงานดี ครู 1. นางณัชธกญั ทำทอง ครผู ูช้ ว่ ย 2. นางสาวมทุ กิ า คลังสนิ ธ์ ครู อาสาสมคั ร กศน. 3. นางพิรุฬห์พร 4. นางสาวเฟ่ืองฟ้า ครู กศน.ตำบลวดั หลวง ครู กศน.ตำบลวัดโบสถ์ คณะทำงาน ใจพรหม ครู กศน.ตำบลหนองเหียง หนรู อง ครู กศน.ตำบลท่าข้าม 1. นางสาวชลติ ดา เลือดสงคราม 2. นางสาววิภา เนาวอ์ ดุ ม ครู กศน.ตำบลวดั หลวง 3. นางสาวณัฐวรรณ 4. นางสาวณฏั ฐา บรรณาธกิ าร นางสาวชลิตดา ใจพรหม
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: