Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป 5 บท เกษตรกรต้นแบบ Master Trainer

สรุป 5 บท เกษตรกรต้นแบบ Master Trainer

Published by ชลิตดา ใจพรหม, 2020-09-14 10:55:42

Description: สรุป 5 บท เกษตรกรต้นแบบ Master Trainer

Search

Read the Text Version

หน้า |ก สรปุ ผลการจดั กิจกรรม โครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ระหวา่ งวันที่ 14-15 กรกฎาคม 2563 ณ กศน.ตำบลวดั หลวง หมทู่ ่ี 7 ตำบลวดั หลวงอำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี กศน.ตำบลวดั หลวง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นคิ ม สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ชลบุรี

หน้า |ก คำนำ กศน.ตำบลวดั หลวงสงั กดั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนิคม ไดจ้ ัดทำ โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในพฒั นาศกั ยภาพเกษตรกรให้มีองค์ความรูด้ า้ นการบรหิ ารจัดการงานเกษตร การเกษตรเชิงท่องเทยี่ วเพ่ิมขึ้น และใหเ้ กษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) ได้ไปขยายผลการอบรมประชาชนให้เปน็ เกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer ซ่ึงมกี ารสรปุ ผลการจัดกิจกรรมโครงการดังกล่าวเพ่อื ต้องการทราบวา่ การดำเนนิ โครงการบรรลุตามวัตถุประสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ หรอื ไม่ บรรลุในระดบั ใดและไดจ้ ัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกจิ กรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง เสนอต่อผู้บรหิ าร ผเู้ กี่ยวขอ้ งเพอื่ นำข้อมลู ไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนนิ โครงการใหด้ ยี ิง่ ข้นึ คณะผจู้ ัดทำ ขอขอบคุณผ้อู ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นิคม ที่ให้คำแนะนำ คำปรึกษา ในการจัดทำสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบล วัดหลวง ในครั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจดั กิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบล วัดหลวง ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ต่อไป นางสาวชลิตดา ใจพรหม ครู กศน.ตำบล กรกฎาคม 2563

สารบญั หน้า |ข หัวเรอื่ ง หนา้ คำนำ ก สารบญั ข สารบญั ตาราง ค บทท่ี 1 บทนำ 1 - หลกั การและเหตุผล 2 - วัตถปุ ระสงค์ 2 - เปา้ หมายการดำเนินงาน 2 - ผลลัพธ์ 2 - ตวั ช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 3 - เอกสาร/งานท่ีเกยี่ วข้อง 19 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินงาน 22 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 27 บทท่ี 5 อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก โครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง หนังสอื เชิญวิทยากร รายงานผลการจัดกิจกรรม แบบประเมินผรู้ บั บรกิ าร คณะผู้จัดทำ

สารบญั ตาราง หน้า |ค ตารางที่ หนา้ 1. ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 22 2. ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ 22 3. ผู้เขา้ รว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 23 4. ผเู้ ข้ารว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศกึ ษา 23 5. แสดงค่าร้อยละเฉลย่ี ความสำเร็จของตัวชว้ี ดั ผลผลิต ประชาชนทว่ั ไป 23 6. คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 24 7. คา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านบรหิ ารจัดการ 24 8. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 25 9. คา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ 26

หน้า |1 บทท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ล ตามท่ีพลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี มนี โยบายช่วยเหลือเกษตรกร โดยชี้นำเกษตรกรไทยตอ้ งเปน็ Smart Farmer คอื ต้องนำความรู้ หลักวิชาการ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาชว่ ยในการทำการเกษตร โดยตอ้ งทำให้ นอ้ ยลงได้ผลผลิตมากข้ึนใชพ้ ้นื ท่ีให้น้อยลง ใช้นำ้ ใหน้ ้อยลง ผลผลิตเพ่มิ ขึน้ ในปงี บประมาณ 2563 สำนักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี ไดร้ บั งบประมาณในการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาค การเกษตร การสรา้ งองคค์ วามรแู้ กก่ ลมุ่ เป้าหมายใหม้ ีความรู้ ความชำนาญอยา่ งตอ่ เนื่องสามารถขยายผลแก่ผูอ้ น่ื ได้ เป็น ความจำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งดำเนินการให้สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ มงุ่ เนน้ การสร้างสมดลุ ระหวา่ งการพัฒนาความมัน่ คง สงั คม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วนในรปู แบบ “ประชารัฐ” โดยยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน มเี ปา้ หมายการพัฒนาทมี่ งุ่ เน้นการยกระดับศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพ้นื ฐานแนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ (1) “ตอ่ ยอดอดีต” โดยมองกลบั ไปที่รากเหงา้ ทางเศรษฐกิจ อัตลกั ษณ์ วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ชี วี ติ และ จุดเด่นทาทรัพยากรธรรมชาตทิ ่หี ลากหลาย รวมทั้งความไดเ้ ปรยี บเชิงเปรยี บเทียบของประเทศในด้านอ่นื ๆ นำมาประยุกต์ ผสมผสานกบั เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่อื ให้สอดกับบริบทของเศรษฐกิจและสงั คมโลกสมยั ใหม่ (2) “ปรบั ปัจจบุ นั ” เพอื่ ปู ทางส่อู นาคตผา่ นการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานของประเทศในมติ ิต่าง ๆ ทัง้ โครงขา่ ยระบบคมนาคม และการขนสง่ โครงสร้าง พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและดจิ ิทัล และปรับสภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบรกิ ารอนาคต และ (3) “สรา้ งคุณคา่ ใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผปู้ ระกอบการ พัฒนาคนร่นุ ใหม่รวมถงึ ปรับรปู แบบธุรกิจเพ่ือตอบ สองความตอ้ งการของตลาด ผสมผสานกบั ยุทธศาสตร์ท่ีรองรบั อนาคต บนพ้ืนฐานของการตอ่ ยอดอดตี และปรบั ปัจจบุ นั พรอ้ มท้ังการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทาง การคา้ และการลงทุนในเวทโี ลกควบคูก่ บั การยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมขน้ึ ของคนชั้นกลาง และลด ความเหลอื่ มล้ำของคนใน ประเทศในคราวเดยี วกัน ในปงี บประมาณ 2561 ได้ดำเนนิ การจัดอบรมประชาชนในตำบล จำนวน 92 แห่ง มีประชาชนท่ผี า่ นการอบรมเรอื่ ง เกษตรกรปราดเปรือ่ ง Smart Farmer จำนวน 1,380 คน และเพอ่ื การพัฒนาต่อเนอ่ื งให้เกษตรกรผ้ผู ่านการอบรมสามารถ ไปขยายผลกับเกษตรกรอ่ืน ๆ ใหส้ ามารถประกอบอาชพี ด้านการเกษตรไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สร้างรายได้ให้แกต่ นเองและ ครอบครวั มีความมั่นคงในอาชีพด้านการเกษตร มคี วามภูมิใจในการเปน็ เกษตรกร รวมทัง้ เป็นแบบอยา่ งให้กบั คนรุน่ หลงั ให้ เกดิ ความรัก หวงแหนในอาชีพดา้ นการเกษตร จึงได้กำหนดให้มโี ครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer ปงี บประมาณ 2562 เพ่อื จัดอบรมตอ่ ยอดการพฒั นาใหเ้ ป็นเกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) ปีงบประมาณ 2563 เกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) ท่ีผา่ นการอบรมในปีงบประมาณ 2562 ได้ไปขยายผลการอบรมประชาชนให้เปน็ เกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer ตอ่ ไป

หน้า |2 จากเหตผุ ลดังกล่าว กศน.ตำบลวัดหลวง สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ พนัสนคิ ม จึงไดจ้ ัดทำโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ขึ้น วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพฒั นาศกั ยภาพเกษตรกรให้มอี งค์ความรูด้ ้านการบริหารจัดการงานเกษตรและการเกษตร เชิงทอ่ งเทีย่ วเพม่ิ ขึน้ 2. เพ่อื ใหเ้ กษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) ไดไ้ ปขยายผลการอบรมประชาชนใหเ้ ป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer เปา้ หมาย (Outputs) เชิงปรมิ าณ เกษตรกรตำบลวดั หลวงจำนวน 15 คน เชิงคุณภาพ รอ้ ยละ 80 ของประชาชนที่ไดร้ ับการอบรมมีความรู้เพิ่มมากข้ึนและสามารถเปน็ เกษตรกรปราดเปรือ่ ง Smart Farmer ได้ ผลลพั ธ์ ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ รอ้ ยและ 80 ของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาศกั ยภาพเกษตรกรให้มอี งคค์ วามรู้ด้านการบริหารจัดการงาน เกษตรและการเกษตรเชิงท่องเทยี่ วเพม่ิ ขนึ้ ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์ รอ้ ยและ 80 ของเกษตรกรตน้ แบบ (Master Trainer) ได้ไปขยายผลการอบรมประชาชนให้เป็นเกษตรกร ปราดเปรือ่ ง Smart Farmer

หน้า |3 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เรอ่ื งท1่ี ความรเู้ รอื่ งทท่ี ำอยใู่ นพน้ื ทขี่ องกลมุ่ เปา้ หมาย เกษตรกร เป็นอาชีพหน่ึงท่ีทำงานเกี่ยวกับการเกษตร เป็นการเพาะปลูกพืชต่าง ๆ ในสวนและไร่นา รวมทั้งการ เล้ียงสัตว์และการประมง เพ่ือผลิตเป็นอาหาร เส้นใยธรรมชาติ และเช้ือเพลิงต่าง ๆ อันเกิดมาจากการเกษตรกรรม ใน ปัจจุบันพบว่าแรงงานร้อยละ 42 ของโลกประกอบอาชีพเกษตรกร เกษตรกรที่มีฐานะมักมีท่ีดินทำกินเป็นของตัวเอง แต่ สำหรับเกษตรกรที่มีฐานะปานกลางและค่อนขา้ งตำ่ ถึงยากจนมักเช่าท่ีดินทำกินมากกว่า สำหรับในประเทศไทยพบว่าฐานะ ของเกษตรกรมีรายได้ลดลงและมีหนี้สินเพ่ิมขึ้นทุกปี นอกจากนี้แนวโน้มประชากรในต่างจังหวัดรุ่นใหม่ยังละท้ิงอาชีพ เกษตรกรและหันไปประกอบอาชีพอนื่ มากขน้ึ อกี ดว้ ย อาชพี เกษตรกรเป็นอาชีพดั่งเดิมของประเทศไทย เน่ืองจากประเทศไทยเป็นแหล่งผลติ ข้าวของโลก ผู้คนในอดีต สบื ทอดการทำการเกษตรให้ลูกหลานต่อกันมาเป็นทอดๆ โดยข้าวเป็นพืชเกษตรหลักในการหาเลี้ยงชีพ ส่วนการปลูกผลไม้ ปลูก พืชผัก ผลไม้อ่ืน ๆ เป็นเพียงการปลูกรับประทานในครัวเรือน และแบ่งปันญาติมิตรเพ่ือนบ้าน เหลือจึงขาย เม่ือการ เปล่ียนแปลงยุคเกษตรกรรมแบบตะวันตกเริ่มเข้ามาในประเทศไทย คน ไทยได้รับเอาวิธีการผลิตพืชผลเกษตรเข้ามา ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการทำเกษตรแบบ เดิมจากการปลูกพืชผสมผสมผสาน ปลูกข้าวเป็นหลัก มาเป็นการปลกู พืช ผลไม้เชิง เศรษฐกิจเพียงชนิดเดียว เป็นหลัก เช่น พืชผัก ได้แก่ หอม ข้าวโพด มันสำประหลัง อ้อย และผักอื่น ๆ ฯลฯ ผลไม้ ได้แก่ ลำไย มะพร้าว มะม่วง มะขาม ทุเรียน ล้ินจ่ี สับปะรด ฯลฯ และมีการนำเทคโนโลยีส่งเสริมการเกษตรเข้ามาแทนท่ีการทำ การเกษตรแบบเดิม ด้วยควายเหล็ก หรือ รถไถ เคร่ืองสูบน้ำ เคร่ืองพ่นยา ปุ๋ยเคมี และสารเคมีต่าง ๆ ฯลฯ การทำ การเกษตรในประเทศจงึ เขา้ สู่ยคุ การเกษตรเชิงเศรษฐกจิ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของตลาด และพอ่ คา้ คนกลาง ปัจจบุ ัน การเกษตรมีทศิ ทางหลากหลายมากขึ้น ทำให้การเกษตรไทยเขา้ สูย่ ุคเกษตรธรรมชาติ ใหค้ วามสำคัญกบั ความปลอดภยั ของผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม เชน่ - การเกษตรแบบธรรมชาติ - การเกษตรแบบทางเลอื ก - การเกษตรแบบเศรษฐกจิ (พืช ผลไม้เชิงเด่ียว) - การเกษตรแบบไรน่ าผสมผสาน - การเกษตรแบบปลอดสารเคมี - การเกษตรแบบไร้ดนิ - และอืน่ ๆ เปน็ ตน้

หน้า |4 คุณสมบตั ขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 1. มที ีด่ นิ เป็นของตนเอง หรือมีพื้นท่ีเช่าสำหรบั ทำการเกษตร 2. มคี วามแข็งแรงทางดา้ นรา่ งกาย 3. มีความร้ดู ้านการทำการเกษตร 4. มีความอดทนสงู 5. ความขยนั หมน่ั เพียร 6. รกั การแสวงหาความรู้ 7. และอ่ืน ๆ ตามความสามารถเฉพาะบคุ คล ลกั ษณะงานที่เก่ียวขอ้ งกับอาชีพ 1. เกษตรปศุสัตว์ ได้แก่ การเล้ียงหมู วัว ควาย กวาง นกกระจอกเทศ เปน็ ต้น 2. เกษตรประมง ได้แก่ การเลย้ี งปลา กงุ้ ตะพาบน้ำ กบ เปน็ ต้น 3. เกษตรพืชไร่ ไดแ้ ก่ การปลกู ขา้ ว ปลกู ผัก เป็นตน้ 4. เกษตรพชื ส่วน ไดแ้ ก่ การปลกู ลำไย ทุเรยี น มงั คดุ ลิน้ จี่ เงาะ ส้ม เป็นตน้ 5. เกษตรทางเลอื ก ได้แก่ เกษตรแบบปลอดสารเคมี เกษตรแบบพอเพียง เกษตรแบบธรรมชาติ เกษตรแบบวน เกษตร และอืน่ ๆ 6. เกษตรแบบเทคโนโลยี ได้แก่ การเกษตรท่ีอาศัยเทคโนโลยีช่วยผลิต และควบคุมดูแลเปน็ สว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ การ ปลกู ผกั ไร้ดนิ การทำเกษตรแบบโรงเรอื น การทำเกษตรเลย้ี งสตั ว์แบบปิด และอื่น ๆ การบริหารจัดการพืน้ ที่เกษตรกรรม (Zoning) นโยบายการจัดระเบียบพ้ืนทท่ี างการเกษตรทเี่ หมาะสมเพ่อื ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรอื ระบบ \"โซนนงิ่ ภาคเกษตร\" น้นั ไม่เพียงการเตรยี มความพรอ้ มเกษตรกรใหร้ จู้ ักวางแผนการผลติ แบบครบวงจร ตงั้ แตต่ น้ นำ้ ยนั ปลายน้ำ โดยยึดหลกั การ ตลาดนำการผลติ แตย่ ังเป็นยกระดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ภาคการเกษตรของประเทศอีกดว้ ย ได้มีการกำหนดเขตพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมกับการปลูกพืชแล้ว 13 ชนิด สัตว์น้ำ 2 ชนิด ตอนน้ีสามารถจะบอกได้ว่าใน ประเทศไทย พ้ืนท่เี กษตรกรรม 150 ล้านไร่ เหมาะสมสำหรับการปลูกพืชชนดิ ไหนบ้าง ในจงั หวดั ไหน ตำบลไหน อำเภอไหน เหมาะจะทำการเกษตรปลูกพืชชนดิ ใด หรือเหมาะสมที่จะทำปศสุ ัตว์หรอื เลยี้ งสัตว์น้ำอะไรบา้ ง จากนั้นต้องสำรวจขอ้ มูลจาก พื้นที่จริง โดยให้แต่ละจังหวัดจะมีการตั้งคณะทำงานข้ึนมา มีผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดเป็นประธาน มีหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องทั้งหมดและตัวแทนสภาเกษตรกรในแต่ละจังหวัดด้วย ล่าสุดทางผู้ว่าราชการจังหวัดต่าง ๆ ได้มีการส่งข้อมูลเข้า มาถึงส่วนกลางเรียบร้อยแล้วก็ได้มีการกลั่นกรองโดยนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะทำงานเรื่องโซนนิ่ง ท่านได้ให้ นโยบายเน้นในเร่ืองการจัดระบบตลาดรองรับเร่ืองของการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร ให้มีความสมดุลในเรื่องดีมานด์ และซัพพลาย

หน้า |5 ตวั ชว้ี ดั ความเหมาะสมของพน้ื ทใ่ี นการปลกู พชื แตล่ ะชนดิ สำหรับสินค้าทางการเกษตรที่อยู่ในพื้นที่โซนนิ่งต่าง ๆ น้ัน เราได้มีการคัดเลือกพืชท่ีจะนำร่องไว้แล้ว 3 ชนิดคือ ขา้ ว อ้อยและมนั สำปะหลัง ปรากฏว่าเราได้มีการตรวจสอบพบว่าพ้ืนทีท่ ำนาท่ัวประเทศ 70 ล้านไร่ แตพ่ ้ืนที่ท่ีเหมาะสมกับ การทำนาจรงิ ๆ มีเพียง 43 ล้านไร่ อีก 27 ล้านไร่เป็นพื้นที่ท่ีไม่เหมาะสม ทางสมาคมผปู้ ระกอบการ กม็ ีความต้องการที่จะ ได้ผลผลิตอ้อยเพ่ิมอีก 100 ลา้ นตัน โดยในปีที่ผา่ นมาประเทศไทยสามารถผลติ ออ้ ยได้ทั้งหมด 100 ล้านตัน หมายความวา่ เรา สามารถท่ีจะเพิ่มพ้ืนท่ีที่จะปลูกอ้อยได้อีกประมาณ 10 ล้านไร่ เขาก็ขอให้เราช่วยปรับพื้นท่ีเพ่ือจะขยายการผลิต จากการ ตรวจสอบสภาพพื้นที่แล้วพบว่าในพื้นท่ีท่ีไม่เหมาะสมที่จะปลูกข้าว หรือเหมาะสมน้อย แต่สามารถท่ีจะปลูกอ้อยได้มีอยู่ ประมาณ 8-10 ล้านไร่ ทางนายกรัฐมนตรี จึงให้ใช้ออ้ ยเป็นโมเดลพชื นำรอ่ งในการทำโซนน่ิงการเกษตร เพ่ือนำผลผลิตป้อน โรงงานน้ำตาลมีอยู่ 51 โรงงานท่ัวประเทศ ต้ังอยู่ใน 45 จังหวัด ณ วนั นี้มขี ้อมูลแจ้งเขา้ มาแล้วประมาณ 37 จังหวัด สามารถ ปลูกอ้อยได้ทันทีประมาณ 2 ล้านไร่ ระหว่างน้ีก็ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเข้าไปตรวจสอบและพูดคุยกับตัวเกษตรกรโดยตรง พร้อมกับเจ้าหนา้ ท่ีกระทรวงเกษตรฯ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือจะทำความเข้าใจ ซึ่งขณะนี้เป็นขนั้ ตอนที่เรากำลังจะลง พนื้ ทพ่ี ูดคยุ กับตวั เกษตรกรโดยตรง ไปดูจุดเปลยี่ นวา่ เกษตรกรจะยอมรบั ในระบบโซนน่ิงไดม้ ากน้อยแค่ไหน วธิ ดี ำเนนิ การอยา่ งไรในการปรบั เปล่ียนระบบการปลกู พ้ืนที่เดมิ มกี ารปลกู ข้าวอยู่ เราก็ตอ้ งไปดใู นฤดูกาลต่อไปวา่ จะดำเนนิ การปรบั เปลี่ยนไดอ้ ยา่ งไร อ้อยอาจใช้ ระยะเวลาประมาณปีครึง่ ตงั้ แต่การเตรยี มดนิ ปลูก จนถงึ เก็บเก่ยี วและปลกู ครงั้ เดียวอยูไ่ ด้ 3 ปี โดยไม่ต้องไปทำอะไร แค่ ดูแลเรือ่ งการใส่ปยุ๋ อย่างเดียว ก็จะสามารถทำไดต้ ่อเนอ่ื ง แตข่ ้าวจะต้องปลกู ในทุก ๆ 4 เดอื น การจำนำข้าวของเกษตรกรเม่ือ เปรยี บเทียบกับราคาของอ้อย อ้อยก็ได้ราคาท่ดี ีกวา่ เมอ่ื เทยี บต่อไร่ ในตรงนี้เปน็ ส่ิงทที่ ำใหเ้ กษตรกรตอ้ งร้จู กั คดิ ว่าจะต้อง เลือกเดินทางไร ถ้ายงั คงปลกู พชื ในพนื้ ท่ีที่ไม่เหมาะสม เกษตรกรลงทุนไปมันก็ไม่คุ้ม

หน้า |6 ส่วนพนั ธอ์ุ อ้ ยท่ีเหมาะสมน้ัน โรงงานนำ้ ตาลจะร้อู ย่แู ลว้ ว่าในพน้ื ทจี่ ังหวดั ไหน ควรใช้พันธอุ์ ้อยใดทีเ่ หมาะสมกบั พ้นื ท่ี และต้องดวู า่ พนั ธ์ุไหนใหป้ รมิ าณนำ้ ตาลได้มาก มันสำปะหลงั เราก็จะเนน้ เร่อื งของพลังงาน เอาไปทำแป้ง ทำเอทานอล มนั มีความต่อเนอ่ื งอย่างน้ี ส่วนทเี่ ปน็ โมลาส (Molasses)หรอื ผลพลอยไดจ้ ากการผลติ กเ็ อาไปทำปุ๋ยอนิ ทรีย์เพือ่ นำกลับมาใส่ อ้อยอกี คร้งั มนั มกี ารจดั ระบบเพื่อให้เกดิ ความเช่ือมโยงกนั กรมวชิ าการเกษตรและกรมสง่ เสริมการเกษตรก็จะเข้าไปช่วยเสริมร่วมกับส่วนการวิเคราะห์ดิน กรมพัฒนาที่ดนิ เพราะมีขอ้ มูลดินทุกชนิดอยู่แลว้ ดวู ่า ตำบลนี้เหมาะสมท่จี ะปลกู พชื อะไร โซนน่ิงเปน็ เร่อื งของหลกั วชิ าการ ไมใ่ ช่เรือ่ งท่ีใคร เคยปลูกอะไรอยูแ่ ลว้ เราไปประกาศว่าพื้นทน่ี น่ั เหมาะกบั การปลูกพชื หรือเลย้ี งสัตวบ์ างประเภทแบบไร้ขอ้ มูลอ้างอิง แตโ่ ซน น่ิงเป็นเร่อื งวชิ าการ เอาข้อมูลมาดูว่าดินนำ้ อากาศเฉลี่ยท้งั ปีว่ามสี ภาพอยา่ งไร เพ่อื ทีจ่ ะให้เกิดความยงั่ ยืนและใหเ้ กดิ การผลิต ทตี่ อ่ เนื่อง ไมใ่ ชท่ ำแบบช่ัวคราวแล้วผ่านไป ไม่ใชแ่ บบน้ัน มิเชน่ น้ันภาพของการเกษตรกจ็ ะไมเ่ กดิ ความยงั่ ยนื เรอ่ื งปศุสัตว์ เราจะใช้การเล้ียงโคเน้อื มานำร่องและเปน็ ฐาน มีการวางระบบปลูกพืชเพ่ือนำมาเปน็ อาหารสตั ว์ เพราะสัตวส์ กี่ ระเพาะกนิ หญ้าเปน็ จงึ ต้องมีการจดั พืน้ ท่ีปลูกพชื เพอ่ื เป็นอาหารสัตวท์ ี่เหมาะสม ส่วนการทำประมง กเ็ ลอื กการ เลย้ี งปลานิลหรอื ปลาสลดิ นำรอ่ ง กแ็ ลว้ แต่ความเหมาะสม ซึง่ เราจะดเู ร่อื งการจดั พ้ืนที่ การทำเร่ืองแหลง่ น้ำให้ ซง่ึ ตรงน้กี รม ประมงได้มีการประกาศแล้วว่าพนื้ ทที่ ี่เหมาะสมจะเลย้ี งปลาแต่ละชนิดอยแู่ หลง่ ไหนแล้วคุณภาพของนำ้ เป็นอย่างไร เรอื่ งของ ดนิ เรื่องค่า Ph ของน้ำทเี่ หมาะกับการเล้ยี งปลาควรเป็นอย่างไร ก็จะเนน้ แต่ปลานำ้ จืด การตลาดท่ีจะมารองรบั ระบบโซนนงิ่ ระบบการตลาดของพชื แตล่ ะชนดิ ตลาดที่ทำอยู่เดิม กม็ ขี อ้ มูลชัดเจนแลว้ ว่าตลาดอยู่ทไ่ี หน ใครเป็นคนซื้อ ส่วน พ้นื ที่ทเี่ ราไปส่งเสรมิ ใหป้ ลูกพชื บางชนิดเพมิ่ มากข้ึน แลว้ เราค่อยมาดวู า่ ปลูกแล้วจะไปขายใคร ตอนน้ีจะไมใ่ ชแ่ บบนน้ั แลว้ เราต้องไปเจรจาหาคนมาลงทุนก่อน แลว้ จึงจะมากำหนดวา่ เกษตรกรท่จี ะปลกู พืชในพน้ื ท่ีนัน้ เปน็ ใคร อยา่ งกรณขี องบรุ รี มั ย์ เรากจ็ ะมีโรงงานน้ำตาลใน จ.บุรีรัมย์ กำลงั การผลิตของโรงงานยงั มากกว่าปริมาณผลผลิตออ้ ยใน จ.บรุ รี มั ย์ ท่จี ะป้อนใหแ้ ก่ โรงงาน และเขาพรอ้ มทจี่ ะขยาย หรืออย่างลำไย ตอนน้ีลำไยกำลงั ออก มกี ารคาดคะเนวา่ ปีนผี้ ลผลิตลำไยจากภาคเหนือจะ ออกมาก แต่พอไลด่ ูข้อมูลจรงิ ๆ ก็พบวา่ ปนี ล้ี ำไยจะออกมาเท่าๆ กับปีท่ีแล้วหรือน้อยกวา่ นดิ หนอ่ ย เราก็มาดูวา่ ตลาดลำไย ของเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายคอื ใคร ก็ปรากฏว่ามีพ่อคา้ จนี 3 คน พ่อค้าจากเวยี ดนาม 1 คน ตลาดก็เกดิ การแชร์กนั ถ้าตลาด ไปผกู ขาดท่ีพ่อค้าจนี เขากก็ ดราคาเราได้ และตอนนเ้ี ราก็คยุ กับทางอินโดนีเซีย ปรากฏวา่ ทางอินโดนีเซยี ก็จะเปดิ ตลาด รองรบั ให้ไทยส่งลำไยไปต้ังแต่เดือนกรกฎาคมจนถึงสิ้นปนี ี้ประมาณ 4,000-5,000 ตนั เรากต็ อ้ งมองหาตลาดใหม่ๆ หรือ ช่องทางความเป็นไปได้ นอกเหนือจากตลาดเดมิ ๆ เพ่ือดึงสินค้าเกษตรของไทยไป

หน้า |7 การจะเรมิ่ ทำการเกษตรได้นน้ั เราควรมีที่ดินเป็นของตัวเอง แตก่ อ่ นจะลงมือซอ้ื ท่ีดนิ ผืนใด ขออนญุ าตให้ขอ้ คิด เกย่ี วกบั ปจั จยั ที่สำคัญกอ่ นซอ้ื ทดี่ ินเพือ่ ทำการเกษตร ดงั น้ี 1. ในที่ดนิ ตอ้ งมแี หล่งน้ำหรือติดกับแหลง่ นำ้ ที่สามารถนำมาใช้ได้ทั้งปี เพราะการซือ้ ท่ีดนิ ท่ไี มม่ ีน้ำ กเ็ ท่ากับไมม่ ี ประโยชน์ในเชิงเกษตร แหล่งนำ้ ที่วา่ น้ีอาจจะเป็นคลองชลประทาน อา่ งเกบ็ นำ้ คลองธรรมชาติ แม่นำ้ ฯลฯ ถา้ เป็นท่ีผืนใหญ่ ไม่ควรเป็นนำ้ บาดาล เพราะอาจมีปริมาณไม่พอเพียงและอาจจะทำใหม้ ีปญั หาเกี่ยวกบั การจดั การตะกอนในภายหลงั 2. ทีด่ ินควรใกลก้ บั ถนน และไมไ่ กลจากบ้านทีอ่ ยปู่ ระจำของคณุ มากนัก การไปมาทำไดง้ ่าย เม่ือการเดินทาง สะดวก ก็ทำให้เรารสู้ กึ อยากไปเยอื นบ่อย ๆ โดยเฉพาะเกษตรกร part-time ท่ีต้องทำงานในวันธรรมดาและไปทำสวนได้ เฉพาะวนั หยุด หากคณุ ตอ้ งขับรถ 500 กม. เพอื่ ไปสวนในวนั เสาร์ และขบั กลบั อีก 500 กม. ในวนั อาทติ ย์ คุณจะเหนอ่ื ยและ ทอ้ ไปในที่สดุ ระยะทางทเ่ี หมาะสมน่าจะไมเ่ กิน 200 กม. จากบ้านคณุ อย่างไรกต็ ามปจั จัยเร่อื งระยะทางนี้ขึน้ กบั ทนุ และ ความชอบสว่ นบุคคล นอกจากนรี้ าคาน้ำมันกเ็ ป็นปัจจัยสำคญั ด้วย คำนวณค่านำ้ มันคร่าวๆ วา่ ระยะทาง 200 กม. รถคุณกนิ นำ้ มนั เฉล่ยี 8 กโิ ลลติ ร น้ำมนั ลิตรละ 30 บาท ไป-กลบั จะมคี ่าใช้จา่ ยเฉพาะคา่ น้ำมนั 1,500 บาทต่อเท่ียว เดอื นหน่ึงไป 4 ครงั้ กป็ ระมาณ 6,000 บาท ปีละ 72,000 บาท เทียบกับราคาทดี่ ินทอ่ี าจจะแพงกว่าแต่ใกลก้ ว่า อย่างไหนคุ้มกว่ากัน อันน้ี ควรคำนวณให้ 3. ทีด่ ินควรใกลต้ ลาดหรอื ชมุ ชน หรอื ผู้ซอ้ื รายใหญ่ เพือ่ ที่จะสามารถขนส่งผลผลิตเพ่อื จำหน่ายได้โดยงา่ ย (หากคิด จะปลูกเพ่อื จำหน่าย) เชน่ อยากปลูกมะม่วงสง่ ออกแตผ่ ู้ปลกู อยู่ภาคใต้ ส่วนผู้สง่ ออกอยูภ่ าคเหนอื และภาคกลาง อย่างน้ี ถ้า ปลกู ไม่มากพอก็จะไมม่ ีผู้ซือ้ วง่ิ ไปซือ้ แน่ ๆ ค่านำ้ มันทกุ วนั นแี้ พงมาก ๆ จากประสบการณ์ที่ผ่านมาผูซ้ อ้ื มกั จะถามก่อนว่า ปลูกกไ่ี ร่ กีต่ น้ ผลผลิตก่ีตนั (ถา้ ไม่ถึง 4-5 ตนั สว่ นมากรายใหญเ่ ขาไม่วิง่ มา) 4. ควรมีเพือ่ นบ้านและสังคมท่ีดี กอ่ นซื้อท่ดี ินควรลองไปสำรวจดูว่าเพอ่ื นบา้ นมีอธั ยาศยั เปน็ อย่างไร ทีด่ ินบางผนื ราคาถกู เพราะเพื่อนบา้ นขขี้ โมย ผลผลิตอะไรออกมาหายหมด ติดตัง้ ปัม๊ น้ำกห็ าย บางทีเผลออาทติ ย์เดยี วบ้านท้ังหลังรื้อเอา ไปขายก็มี ลองไปถามสถานตี ำรวจในพ้นื ทด่ี ูวา่ คดีลกั ขโมยมีแยะไหมใครเป็นผใู้ หญ่บ้าน กำนัน และทัศนคติเขาเปน็ อยา่ งไร 5. ท่ดี นิ ควรมีต้นไมข้ ้นึ อยใู่ นที่บา้ ง เพ่อื แสดงว่าดินท่นี ่ีปลูกตน้ ไมไ้ ด้ บางคนไปซ้อื ท่ดี นิ ทเี่ ตยี นโล่งแมแ้ ตห่ ญา้ ก็ไม่ข้นึ แล้วมาดีใจวา่ ไม่ต้องถางหญ้าปรบั ท่ีดนิ ซ่งึ แท้ทจี่ ริงเปน็ ดินเค็มทีเ่ พาะปลกู อะไรไมไ่ ด้หากเปน็ ไปได้ลองสงั เกตด้วยว่าตน้ ไมท้ ่ี ข้ึนในท่ดี นิ นั้นเปน็ ต้นอะไรเพ่ือจะไดท้ ราบวา่ ทดี่ นิ ผนื นัน้ เพาะปลกู ผลไมช้ นิดใดได้ดีทส่ี ุด

หน้า |8 6. ท่ีดนิ ทำสวนเกษตรสว่ นใหญค่ วรเป็นพ้ืนราบ เพราะหากเป็นท่ีลาดชนั เวลารดนำ้ ตน้ ไม้ น้ำจะไหลลงเบือ้ งล่าง หมด หากต้องทำขัน้ บนั ไดก็จะเสียคา่ ใช้จ่ายเพมิ่ ขึ้นกวา่ ทด่ี นิ ผืนราบ แต่หากจะปลูกไมย้ นื ต้นพวกไมป้ า่ ก็เปน็ ทเ่ี นนิ เขาได้คะ่ ทงั้ น้ขี ึ้นกับพืชที่เลือกจะปลกู 7. ไม่ควรเป็นท่นี ้ำท่วมขงั ท่ีดินบางผืนในช่วงฤดูฝนจะตรงกบั แนวน้ำทว่ มพอดี อยา่ งนปี้ ลกู พชื อะไรไม่ทนั เก็บเกย่ี ว ก็ตายหมด พอนำ้ ท่วมขึน้ มาปลาที่เล้ียงกห็ ายหมดเหมือนกัน 8. ให้สำรวจหน้าดินของที่ดนิ ทซี่ อื้ ดว้ ย มที ดี่ นิ แตห่ นา้ ดินท่ปี ลูกพืชได้มีเพยี ง 1-2 เมตรลกึ ลงไปกวา่ นน้ั กลายเป็น ดนิ ผสมหนิ แบบแขง็ เลย รากพืชชอนไชลงไปไม่ได้ อย่างน้ีหากกอ่ นซอ้ื เตรียมแผนไวก้ ็คงต้องปรบั แผนเพอ่ื ปลกู พชื ทม่ี รี ะบบ รากไมล่ กึ มาก การเลอื กพชื ทจี่ ะเพาะปลกู 1. ก่อนจะปลูกอะไร กรุณาสำรวจสภาพดินและน้ำก่อนว่าเหมาะกับพชื ในใจคุณหรือเปล่า อยา่ บมุ่ บา่ มลงมอื ปลกู ตาม กระแส หรอื ตามใจชอบ ตัวอย่างเช่นที่ดินสวนวสาเป็นดนิ เปรี้ยวเพาะปลูกพืชตระกลู ส้ม-มะนาวได้ดี มะม่วง มะละกอได้ แต่ ปลกู ทเุ รยี น ลำไย มงั คดุ แล้วไมโ่ ต (ลองแล้ว) ถึงกระนั้นกต็ ามเวลาเรามี “เกษตรเกิน” (ผทู้ ีแ่ สดงตนวา่ รู้มากกวา่ เกษตรกร) มาเยยี่ มที่สวนกม็ กั จะแนะนำใหเ้ ราลองปลูกมงั คุด ปลกู ทเุ รยี นอยู่เสมอๆ เพราะสง่ นอกไดร้ าคาดี คนแนะนำสว่ น ใหญ่กค็ ดิ แคน่ ั้น แต่เกษตรกรที่แทจ้ ริงทเ่ี ป็นเจา้ ของท่ดี ินควรศกึ ษาสภาพดนิ และน้ำกอ่ นลงมือปลกู อะไร เพอื่ จะได้ ประหยดั เวลาและทุนที่ถมลงไป 2. ควรเลอื กพืชที่จะปลูกมากกว่า 1 ชนิดเพอ่ื บรหิ ารความเสี่ยง เผอื่ ชนดิ หน่ึงราคาตกหรอื ขายไม่ออก ชนิดอน่ื จะได้ ชว่ ยเฉลีย่ รายได้ แตไ่ ม่ควรหลายชนิดเกนิ ไปจนปรมิ าณไม่คมุ้ คา่ ขนสง่ เชน่ มที ่ีดนิ 1 ไร่ แต่อยากปลูกมะมว่ ง มังคุด ลำไย มะนาว พริกขีห้ นู เพอ่ื สง่ ออก แบบนีแ้ นะนำว่าใหล้ มื เรื่องส่งออกไปไดเ้ ลย ใหป้ ลกู แบบพอเพยี ง คอื เก็บทานเอง หรือส่งตลาด 3. พืชแต่ละชนิดมคี วามตอ้ งการน้ำไม่เทา่ กนั หากจะปลกู ผสมผสาน ควรเลือกพชื ท่ีตอ้ งการนำ้ ปุย๋ และยาคลา้ ยๆกนั ปลกู ไว้ด้วยกัน นอกจากนีป้ รมิ าณแสงก็เปน็ ส่ิงสำคัญ หากพืชชนิดหนึง่ ต้องการแสงมาก กอ็ ยา่ ปลูกไว้ใกลๆ้ กบั พชื ที่ใหร้ ม่ เงา เช่น อยา่ ปลกู มะละกอไว้ใกลก้ อไผ่ เพราะในทสี่ ุดร่มเงาของไผจ่ ะบงั มะละกอทำให้ไม่สามารถเติบโตได้ และเกิดโรคระบาดใน ท่ีสุด หรือ หากจะปลูกมะนาวทำนอกฤดู กไ็ มค่ วรปลูกใกล้กบั พืชที่ต้องการนำ้ เพราะพอเรางดนำ้ เพ่อื ใหม้ ะนาวออกดอก ต้นไม้ขา้ งๆ กจ็ ะตายไปด้วย 4. ตามทฤษฎีพอเพยี ง ควรปลูกพืชชนิดให้ประโยชนเ์ ก้ือหนนุ กบั การเกษตรของท่านด้วย เช่น หากปลูกส้มหรือ มะนาว กค็ วรเผือ่ พ้นื ท่ีสำหรบั ปลกู ไผ่ไว้ด้วย เพราะเวลาคำ้ ตน้ มะนาวหรือสม้ ตอ้ งใช้ไม้ไผ่ แทนที่จะไปซอ้ื กป็ ลูกเองประหยดั กว่า นอกจากนี้หากใครคดิ ทำเกษตรอินทรีย์ ก็ปลูกพวกสะเดา หนอนตายยาก หรอื สมุนไพรอ่ืนๆไวด้ ้วย จะได้เอาไวท้ ำเกษตร อนิ ทรยี ์ได้ 5. นอกจากน้ี พื้นทีแ่ ตล่ ะพน้ื ท่ีมลี ักษณะภูมิศาสตร์ท่แี ตกต่างกนั อย่าคดิ วา่ การลอกเลยี นแบบสวนท่ปี ระสบ ความสำเรจ็ แลว้ คณุ จะประสบความสำเรจ็ ดว้ ย การเกษตรไมใ่ ชบ่ ะหมี่สำเรจ็ รูปทตี่ ม้ กนิ ที่ไหนก็รสชาตเิ ดมิ มกั จะมคี นถามว่า หากปลกู มะนาวเหมอื นสวนวสาต้องใส่ป๋ยุ เดือนไหน ฉดี ยาเดือนไหน ฉีดอะไร ซึง่ ขอเรยี นว่า สวนวสาอยู่นครนายก สภาพ

หน้า |9 ภูมอิ ากาศและดินจะต่างจากสวนทอ่ี ยูร่ าชบรุ ี พิษณุโลก หรอื เชียงใหม่ ดังนั้นเวลาที่ฉีดยา ใส่ปยุ๋ เก็บผลผลติ ก็จะ ตา่ งกัน ช่วงเวลาเดยี วกนั ทีส่ วนวสาเจอโรครานำ้ คา้ งแต่สวนอน่ื อาจเจอเพล้ยี แป้ง อยา่ งนีย้ าทใ่ี ช้ก็ต่างกัน ต้องหมน่ั สังเกต อาการของพชื แล้วค่อยคิดเรอ่ื งการบำรุงรกั ษาพืช 6. เกษตรกรมอื ใหม่หลายๆ คนมักจะคิดวา่ \"พืช\" กเ็ หมือนวตั ถุ สิง่ ของ ที่ซอื้ มาเก็บเอาไวก้ ไ็ มเ่ สอื่ มสลาย ไม่เปลย่ี นรปู เหมอื นเสือ้ ผา้ โต๊ะ เก้าอี้ ดังนน้ั พออ่านประกาศโฆษณาขายเมลด็ พันธ์ุหรอื ก่ิงพันธ์ุชนิดโนน้ ชนดิ นี้ ทก่ี ำลังเป็นสมัยนิยมกัน ก็ เกดิ ความอยากครอบครองเปน็ เจา้ ของ เลยส่งั มาเกบ็ ไว้ก่อน ยงั ไมร่ ู้วา่ เมอื่ ไหร่จะได้ปลูก บางคนยังไมร่ วู้ ่าเมอ่ื ไหร่จะได้ซ้ือ ทด่ี ินเลยด้วยซ้ำ!!! ทีนก้ี ว่าจะซอื้ ที่ กว่าจะปรับดิน ทำรอ่ งน้ำ ทำระบบนำ้ เวลากผ็ ่านไปปเี ศษ แลว้ ค่อยนำเมล็ดมาเพาะ แล้วก็ พบว่า เมล็ดท่ซี ้อื มาทำไมมนั ไมง่ อก โดนหลอกขาย หรือไม่กเ็ ป็นกรณกี ่ิงพนั ธ์ทุ ซ่ี อ้ื มา อตุ สา่ ห์เอาลงกระถางไว้แล้วนะ บำรงุ จนต้นโต เอาลงดนิ มันตอ้ งเกบ็ ผลได้ในไมก่ ีเ่ ดอื นแนน่ อน ในความเปน็ จริงมนั ไม่ใชแ่ บบนั้น อัตราการงอกของเมล็ดพนั ธไ์ุ มว่ ่า จะเปน็ ชนดิ ไหนกต็ าม ยิ่งเก็บนานมันย่ิงมอี ัตราการงอกต่ำ บางพนั ธด์ุ ีหนอ่ ยคืองอกแตง่ อกชา้ บางพนั ธพ์ุ อความชื้นในเมลด็ มนั หมดเมล็ดกแ็ หง้ ตายไปและไม่งอก สว่ นต้นไม้ ถ้าเรานำลงกระถางไวน้ านๆ รากมนั จะขดอยใู่ นกระถาง เวลาเอาไปลงดิน มันเลยโตชา้ เพราะแทนท่ีรากจะไดช้ อนไชไปหาอาหารไกลๆ ก็กลับจับวนกนั เป็นก้อนทีก่ น้ กระถาง 7. การเลือกพชื ท่ีจะปลูก นอกจากความแทข้ องสายพันธุ์แล้ว ควรพิจารณาวางแผนการปลูกให้ผลผลิตออกมาเปน็ พนั ธุ์แท้ด้วยค่ะ จะไดไ้ ม่มปี ัญหาดา้ นการตลาด และการขยายพนั ธุ์ต่อไปในอนาคต ขออนญุ าตยกตัวอยา่ งมะนาวไรเ้ มลด็ (ซงึ่ การขยายพันธุ์ทำโดยการตอนก่ิง) หากปลูกรวมกนั ในระยะใกล้กนั กบั มะนาวมีเมลด็ เชน่ มะนาวแป้น กม็ คี วามเสี่ยงว่าผลที่ ออกมาอาจจะมเี มล็ดเนอ่ื งจากเกสรอาจจะผสมกันได้ ทำใหม้ ปี ัญหาด้านการตลาดตอ่ ไป เชน่ เดียวกับมะละกอ หากปลูก หลายสายพันธใุ์ นพน้ื ท่ีเดยี วกัน ก็อาจทำให้ผลท่ีออกมามีรสชาติและกลิ่นแตกตา่ งไป ทำใหม้ ีปัญหาดา้ นการตลาดค่ะ การปลกู พืชแนวผสมผสาน ไม่จำเปน็ ตอ้ งปลกู พชื ตระกลู เดียวกันในพ้ืนที่เดยี วกัน

ห น ้ า | 10 การจดั พน้ื ทที่ ำกนิ ตามแนวเกษตรทฤษฏใี หม่ พน้ื ที่ทำกนิ บนรากฐานความพออยู่พอกิน แบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีความหลากหลายท่ีจะใหป้ ลูกพืชสวน และ เล้ยี งสตั วต์ ่างๆ ใหค้ รอบคลมุ อยู่ในพ้ืนที่แห่งเดยี วกัน แบ่งพืน้ ท่ใี หเ้ หมาะสม การแบ่งพ้ืนทตี่ ามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนว ทฤษฎีใหม่ โดยออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราสว่ น 30 : 30 : 30 : 10 ซ่ึง 30% ส่วนแรกสำหรับแหล่งกกั เก็บน้ำเพอ่ื ใช้ใน การเกษตร โดยขดุ สระเกบ็ กักนำ้ เพือ่ ใชเ้ กบ็ กักนำ้ ฝนใน ฤดูฝน และใช้เสรมิ การปลูกพชื ในฤดูแลง้ ตลอดจนการเลยี้ งสตั ว์นำ้ เพอ่ื เพม่ิ พูนรายได้ บอ่ เลี้ยงปลา หน่งึ ในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนที่ 2 แบง่ 30% สำหรบั เพาะปลูกพชื ไร่ ไม่วา่ จะเปน็ นาข้าว การปลูกไร่อ้อย และหญา้ เนเปยี ร์ หญา้ ท่ใี ช้เล้ยี ง สตั ว์ โดยเฉพาะการเลย้ี งชา้ งซงึ่ กำลงั นำหญา้ ชนิดนม้ี าใชเ้ พ่มิ มากขน้ึ ทำให้เกษตรกรไดร้ ายได้ดี ปลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ต้น พชื ผกั พืชสมุนไพร ฯลฯ เพ่อื ใชเ้ ป็นอาหารประจำวนั ใช้บริโภคและนำไปจำหนา่ ยเพื่อสรา้ งรายได้ สว่ นท่ี 3 แบง่ เป็น 30% โดยจะใช้ทำเป็นฟาร์มเล้ียงสัตว์เศรษฐกจิ ต่างๆ เช่น หมหู ลมุ ไกไ่ ข่ และเปด็ ไข่ อกี ท้ังยังเลี้ยง สัตวน์ ำ้ ท่ีเล้ียงในบอ่ ไดแ้ ก่ ปลากดเหลอื ง ปลากด ปลาคัง ปลาสวาย ปลาบึก

ห น ้ า | 11 ในสว่ นสุดท้าย จะมปี ระมาณ 10% จะถูกแบง่ เปน็ ทอ่ี ยูอ่ าศัยใหก้ ับที่พักของคนทำสวน และยังใชท้ ำเป็นถนนหนทาง ต่างๆ รวมถงึ โรงเรือนอืน่ ๆ จากโครงการเกษตรทฤษฎใี หม่ในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี 9 สามารถทำให้เกษตรกร ไทยลมื ตาอา้ ปากได้ โดยมรี ายไดจ้ นุ เจอื ครอบครัวทง้ั แบบรายวัน จากการเก็บไข่ไก่ ไขเ่ ปด็ รายได้รายเดอื นจากพชื อายุสั้น อาทิ มะเขือเทศ พชื ผัก และรายไดร้ ายปจี ากไม้ผล ปศุสตั ว์-สตั วน์ ้ำ “คิดไวว้ า่ จะทำขา้ วไร่ แต่ตอนนี้ยังหาพันธ์ทุ ีเ่ หมาะกับพืน้ ที่นไี้ มไ่ ด้ ก็เลือกใช้พืน้ ท่ีดงั กล่าวปลูกทานตะวนั ไว้แทนกอ่ น แล้วก็ ขา้ วโพด สว่ นพนื้ ทอ่ี น่ื ๆ เราก็เลือกปลูกตามสัดส่วนและความเหมาะสมของพื้นทีน่ ัน้ ๆ ให้เขา้ กับวิถีชีวิตของชาวบา้ น โดยยดึ หลกั ทว่ี า่ เพอ่ื ประหยัดรายจา่ ย โดยทดลองในหมบู่ า้ นกอ่ น ก่อนท่ีจะขยายไปสู่ภายนอก Smart Farmer Smart Farmer หมายถึง บคุ คลที่มีความภมู ิใจในการเปน็ เกษตรกร มีความรอบรใู้ นระบบการผลิตดา้ น การเกษตรแต่ละสาขา มีความสามารถในการวเิ คราะห์ เชอ่ื มโยงและบริหารจัดการการผลติ และ การตลาด โดยใช้ข้อมูล ประกอบการตัดสนิ ใจ คำนึงถงึ คณุ ภาพและความปลอดภยั ของผู้บริโภค สงั คมและ สิง่ แวดลอ้ ม ในชว่ งระยะเวลา สองสามปที ี่ผ่านมา คนไทยมกั จะได้ยินคำว่า Smart Farmer มาพอสมควร ซง่ึ มีจดุ เร่ิมต้น มาจากแนวคิดที่ตอ้ งการใหค้ นไทยที่มคี วามรอบรู้ หรือทำอาชีพด้านเกษตรกร มีความภูมใิ จในวชิ าชีพ ซง่ึ เปรยี บเสมอื นกบั อาชีพท่เี ป็นกระดูกสันหลังของคนไทยมาช้านานและเม่อื กาลเวลาผันเปล่ยี นเข้าสูย่ คุ ดิจทิ ัล การทำเกษตรกรจึงอาจดเู หมือน เป็นอาชพี ท่ีหลายคนอาจมองข้ามหรือขาดความภูมิใจ เพราะดโู บราณและเกา่ เกินยคุ สมยั แต่แท้ท่ีจริงแลว้ เกษตรกรไทยก็ สามารถปรบั เปลยี่ นให้เป็นเกษตรกรแห่งยุคสมยั ใหมท่ ่เี พิ่มความภมู ใิ จได้ดว้ ยแนวคิดของ Smart Farmer ดว้ ยการสนบั สนุน ของภาครฐั Smart Farmer จึงเปน็ คำนยิ ามความหมายใหม่ต่อคนบุคคลท่มี ีความภูมใิ จในการเป็นเกษตรกร โดยครอบคลุม ดา้ นความรใู้ นการเกษตร สามารถบริหารจัดการท้ัง การผลติ การตลาด รวมถึงวเิ คราะห์ เชอ่ื มโยงให้คำนงึ ถงึ คุณภาพและ ความปลอดภัยของผ้บู รโิ ภค สังคม รวมถงึ สง่ิ แวดล้อม นอกจากนีใ้ น Smart Farmer ส่วนใหญ่ จะมีการนำเทคโนโลยีเข้าไป ผสมผสาน ไม่ว่าจะเปน็ การนำอุปกรณเ์ ซนเซอร์ตรวจอุณหภูมิ เซนเซอรว์ ัดความชนื้ และสง่ ค่าการแสดงผลตา่ งๆ ผ่าน อนิ เทอร์เน็ต ซึ่งล้วนแตเ่ ป็น การนำความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยมี าใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์นนั่ เอง จากแนวคดิ Smart

ห น ้ า | 12 Farmer จงึ ทำใหถ้ กู แบ่งเกษตรกรเป็น 2 ส่วนคอื เกษตรกรที่เปน็ Smart Farmer อยูแ่ ล้ว (Existing Smart Farmer) และ เกษตรกรที่ยงั ตอ้ งการการพัฒนา (Developing Smart Farmer) ทั้งน้ี การคัดกรองคณุ สมบัตขิ อง Smart Farmer น้ันในด้านรายไดจ้ ะตอ้ งไมต่ ำ่ กวา่ ปีละ 180,000 บาทต่อ ครวั เรือน เทียบเท่าเดอื นละ 15,000 บาท ซึ่งกลมุ่ ทีส่ ามารถผา่ นคุณสมบัตขิ ้อนกี้ อ็ าจได้รับการพจิ ารณา ให้เปน็ Smart Farmer ต้นแบบในแตล่ ะสาขา เพื่อใหเ้ ปน็ แนวทางศกึ ษาใหก้ บั กลมุ่ เกษตรกรท่ีต้องการการพฒั นาตอ่ ไป เพ่ือผลกั ดันทิศทาง การเกษตรให้เป็นไปในทศิ ทางทด่ี ขี ้นึ หลายคนอาจจะคิดวา่ แล้วเราจะเป็น Smart Farmer ไดอ้ ย่างไรบ้าง ซงึ่ ปัจจบุ นั การ เป็นเกษตรกรในยคุ 4.0 เรยี กวา่ ไมย่ ากอกี ต่อไป เพราะมีหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ ทเ่ี ป็นตน้ แบบมากมาย ให้การสนับสนุน โดยมี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม รวมถงึ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ สำนักงาน กศน. ทม่ี ีหน่วยงานชว่ ยสนบั สนนุ การเขา้ ถงึ อนิ เตอรเ์ นต็ กบั โทรศัพทม์ อื ถอื ยกตวั อย่างเปน็ โทรศพั ท์ รนุ่ ซมั ซงุ วิธีการตงั้ ค่าการตงั้ ค่าอนิ เทอรเ์ น็ต Samsung สำหรับการเปดิ ใช้งานมือถือครั้งแรก - เขา้ ไปท่ี เมนูการตัง้ ค่า (Settings) - เลอื ก เครือขา่ ยเพมิ่ เตมิ (more networks)

ห น ้ า | 13 - กดไปที่ เครอื ข่ายมอื ถือ (Mobile networks) - เลือก ผู้ให้บรกิ ารเครอื ขา่ ย (Network operators) - เลอื กเครอื ขา่ ยที่ใช้แล้วกดป่มุ ย้อนกลบั วธิ กี ารเชอ่ื มตอ่ อนิ เตอรเ์ นต็ ทำไดห้ ลายวธิ ดี งั นี้ วธิ ที 1ี่ - เขา้ ไปที่ เมนูการต้ังคา่ (Settings) - เลือก เครือขา่ ยเพ่มิ เติม (More networks)

ห น ้ า | 14 - กดไปท่ี เครือข่ายมอื ถือ (Mobile networks) - จากน้ันเลือกขอ้ มูลมอื ถอื (Mobile data) วธิ ที 2ี่ - เขา้ ไปที่ เมนูการตงั้ ค่า (Settings) - กดไปท่ี การใชข้ ้อมูล (Data usage)

ห น ้ า | 15 - จากนน้ั เลือกขอ้ มูลมือถือเพอ่ื เปิดการใชง้ าน วธิ ที 3ี่ - ใช้สองนิ้วลากแถบแสดงการแจ้งเตอื นลงมา (Notification Bar) - จากน้ันเลือกข้อมูลมือถือ (Mobile data) เพ่อื เปิดการใช้งาน การใช้ Application ในชวี ติ ประจำวนั แนะนำ 20 แอพพลิเคช่นั สามัญประจำเครือ่ งที่คุณควรมีติดเคร่ืองไว้ สำหรับผใู้ ช้งานบนอุปกรณ์มอื ถอื สมาร์ทโฟน และแทบ็ เลต็ ท้ัง Android และ iOS เชื่อได้เลยวา่ ในปัจจบุ นั อุปกรณม์ ือถอื สมาร์ทโฟนไม่วา่ จะเป็น Android หรือ iPhone กต็ าม ตา่ งเปน็ ส่งิ ที่จำเปน็ ต่อ การดำรงชวี ิตประจำวนั ของใครหลาย ๆ ไปคนแล้ว เนื่องจากอุปกรณ์ดังกล่าวสามารถใช้งานได้หลากหลายและสารพัด ประโยชนอ์ ย่างยง่ิ อาทเิ ชน่ ใชโ้ ทรเข้าโทรออกได้, เลน่ เกม, ทำงานรับส่งอเี มลแ์ ละถ่ายรปู ภาพ เปน็ ตน้ ซงึ่ ถือว่าเป็นอปุ กรณ์ พกพาที่จำเปน็ จรงิ ๆ ในยคุ ปจั จุบัน ฉะนน้ั วันนี้กระปกุ ดอทคอมขอแนะนำ 20 แอพฯ สามัญประจำเครื่องทค่ี ุณไม่ควรพลาด

ห น ้ า | 16 ซึ่งแอพฯ แต่ละตัวนัน้ ลว้ นแต่เปน็ โปรแกรมทม่ี ปี ระโยชน์กบั ผูใ้ ชส้ มาร์ทโฟนแทบทั้งสน้ิ และท่สี ำคัญแจกฟรี สว่ นจะมีแอพฯ สามญั ประจำเคร่ืองอะไรท่ีน่าสนใจบา้ งนั้น อย่ามัวรอชา้ ไปตดิ ตามกันเลย 1. Facebook เปน็ แอพฯ โซเชียลเน็ตเวริ ์กทีไ่ ดร้ ับความนยิ มมากท่ีสุดในปจั จุบัน ซง่ึ ความสามารถของตวั แอพฯ คงไม่ต้องพดู อะไรให้มาก เพราะเช่อื วา่ หลายคนรูจ้ กั กนั ดี อย่แู ลว้ โดยการทำงานหลกั ๆ Facebook น้นั คอื การดูความเคล่ือนไหวของเพือ่ นคณุ จาก Timeline บนแอพฯ ตรงกันข้ามผใู้ ชง้ านยงั สามารถแชร์รปู , วิดีโอและสถานะการ อัพเดตอืน่ ๆ เปน็ ตน้ ให้เพ่อื นของคุณไดต้ ิดตามความเคลอื่ นไหวของคุณอีกด้วย 2. Facebook Messenger เปน็ แอพฯ แชทออนไลน์ท่ีจะช่วยใหค้ ุณไม่พลาดการติดตอ่ กับเพื่อน ๆ ของ คุณบน Facebook โดยภายในตัวแอพฯ นอกจากจะสามารถส่งขอ้ ความหากันได้แล้ว นน้ั ยังสามารถแนบรูป, แนบไฟล์ หรือบนั ทกึ เสยี งใหก้ บั คู่สนทนาของคณุ ได้อีกด้วย เหมาะสำหรบั ผู้ทเ่ี ลน่ เฟสบุ๊คเปน็ อย่างยง่ิ 3. Instagram เป็นแอพฯ แต่งรปู โซเชยี ลเน็ตเวิรก์ ทไี่ ด้รบั ความนิยมมากท่สี ุดในแอพฯ ประเภทเดียวกัน โดยภายในตวั แอพฯ สามารถถ่ายรปู , แต่งรูป, ใส่ฟิลเตอร์ ตา่ ง ๆ พร้อมแชร์รูป เพ่ือให้เพ่ือนของคณุ ไดต้ ิดตามกัน ซึ่งถ้าเพอื่ นของคุณ ชอบหรอื ถกู ใจก็จะสามารถทำการกด Like หรือ Commen ภาพของเราได้ อกี ด้วย 4. Twitter นบั เป็นอกี หนง่ึ แอพฯ โซเชียลเนต็ เวิร์กทไี่ ดร้ บั ความนยิ มไมแ่ พ้ใคร โดย ผูใ้ ชง้ านสามารถโพสตข์ ้อความ (Tweet) เพื่อบอกตอ่ หรือแชรข์ ้อมลู (Retweet) ตอ่ จากบุคคลอ่ืน ๆ ทีเ่ ราติดตามอยู่ได้ นอกจากความสามารถทวี่ า่ แลว้ Twitter ยงั สามารถโพสตร์ ูปภาพ, คลปิ เสียงหรอื คลปิ วดี โี อที่ต้องการ เพอ่ื ให้เพ่อื น ๆ ของ คณุ ที่ติดตามอยู่ได้ชมกันไดอ้ ีกดว้ ย

ห น ้ า | 17 5. LINE เป็นแอพฯ สง่ ขอ้ ความหากันหรือแชทพดู คยุ บนโทรศพั ท์มอื ถือสมาร์ทโฟนทีไ่ ดร้ บั ความนยิ มมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย โดยนอกจาก LINE จะส่งข้อความหากันได้แล้วนัน้ ยัง สามารถสง่ รปู , วดิ โี อ, คลิปเสยี งและวิดโี อ รวมถงึ การโทรคยุ กันแบบเหน็ หน้ากนั ก็สามารถทำ ได้อยา่ งงา่ ยดาย ถอื ไดว้ า่ เหมาะกับขาแชทอยา่ งยงิ่ 6. Skype เป็นแอพฯ หรอื โปรแกรมโทรผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ฟรที ี่ได้รับความนิยมมากทสี่ ุดใน โลก ซึ่งการทำงานหลกั ของแอพฯ ดงั กลา่ วนอกจากจะสามารถโทรหากนั ไดแ้ บบฟรี ๆ แลว้ นัน้ ยังสามารถเปิดกลอ้ งคยุ หนั แบบเหน็ หน้าเหน็ ตากนั ได้อีกด้วย รวมถงึ ยงั สามารถส่ง ข้อมลู ไฟลเ์ อกสารงาน, รูปภาพและวดิ โี อ เป็นตน้ ผา่ นตวั แอพฯ ไดอ้ ีกเชน่ กัน เรียกไดว้ า่ ครบทุกฟเี จอรเ์ ลยทเี ดียว 7. YouTube เป็นแอพฯ สำหรบั ดคู ลปิ วีดีโอได้ท่วั โลกไม่ว่าจะเป็นข่าว, ละคร, เพลง และคลิปอื่น ๆ อกี มากมาย นอกจากนี้แล้ว YouTube ยงั สามารถ เข้าไปจดั การวดี ีโอ, เลือกตดิ ตามช่องโปรด, ดูวดี โี อท่แี นะนำ, เขา้ ถงึ เพลย์ ลสิ ต์ในการดูคลิปวิดีโอ รวมถึงการอพั โหลดวดี โี อของคณุ เองลงไปบน YouTube ได้อีกดว้ ย เพยี งแค่ผ้ใู ช้งานทำการ ลงทะเบยี นเขา้ สรู้ ะบบ (Sign In) ด้วยบญั ชี Gmail 8. Google chrome เป็นแอพฯ เว็บเบราว์เซอร์ สำหรบั การท่องเว็บไซตต์ า่ ง ๆ บนมือถอื สมาร์ทโฟนที่ ได้รับความนยิ มมากท่ีสดุ รวมถงึ ยังมฟี เี จอร์ต่าง ๆ ใหเ้ ลอื กใช้งานไดอ้ ีกดว้ ยไม่วา่ จะเปน็ การ ตงั้ คา่ เก็บเว็บฯ ถูกใจไว้ดภู ายหลงั ได้, เปิดได้หลายหนา้ ต่างตามทตี่ ้องการ และยงั มีระบบช่วย จำการทอ่ งเวบ็ ฯ เปน็ ต้น เรยี กไดว้ า่ เหมาะสำหรบั ผู้ทชี่ อบท่องเว็บฯ บนมอื ถือเปน็ อย่างยงิ่ 9. Google Maps เปน็ แอพฯ แผนทีน่ ำทางแนว Navigator หรือโปรแกรมแนะนำเส้นทางน่ันเอง โดย ภายในตัวแอพฯ นอกจากจะสามารถนำทางได้แล้วนน้ั ยงั สามารถเพ่ิมข้อมลู เส้นทางต่าง ๆ ที่ ผใู้ ช้งานต้องการไดอ้ กี ดว้ ย เหมาะสำหรับผทู้ ี่ตอ้ งขบั รถเดนิ ทางอยู่บ่อย ๆ เปน็ อยา่ งย่งิ

ห น ้ า | 18 10. Camera360 Ultimate เป็นแอพฯ แต่งรูปยอดนิยมท่ีทุกเครอ่ื งต้องมเี ลยก็วา่ ได้ เน่อื งจากสามารถ จดั การรูปภาพได้เป็นอย่างดี ไมว่ ่าจะเปน็ การถ่ายรูปให้ภาพของคุณดีขึน้ ได้ภายใน พรบิ ตา, มีฟิลเตอร์ให้เลือกตกแตง่ เยอะและแชรภ์ าพลงยงั โซเชียลเนต็ เวริ ์กชอ่ื ดงั ได้ ทันที เปน็ ต้น ซ่งึ ปัจจุบนั Camera360 Ultimate น้นั มีผใู้ ชง้ านแล้วกว่า 150 ล้านคน ทัว่ โลก 11. Whatsapp เปน็ แอพฯ แชทออนไลน์ผ่านมอื ถือสมาร์ทโฟนอกี หนง่ึ ตัวทไ่ี ด้รับความนิยมมาอยา่ ง ยาวนาน ซึ่งนอกจาก Whatsapp จะสามารถส่งข้อความสนทนาไปมาไดแ้ ล้วนนั้ ยงั สามารถทจี่ ะ ส่งรปู ภาพ, บนั ทกึ เสียงและคลิปวีดโี อต่าง ๆ ใหก้ ับเพ่อื น ๆ หรือคู่สนทนาของคุณได้อย่าง รวดเร็วอกี ดว้ ย โดยแอพฯ แชทดังกลา่ วน้ี ปจั จุบนั แม้ในบา้ นเราจะไดร้ ับความนยิ มน้อยลงก็ตาม แตเ่ ชือ่ ว่ายงั มอี ีกหลายคนยงั คงเลือกใช้งานอยู่ 12. Gmail เป็นแอพฯ รับสง่ อีเมล์ท่ีได้รบั ความนิยมมากทส่ี ดุ ในปัจจุบันเลยกว็ า่ ได้ เนื่องจากตวั แอพฯ สามารถรบั สง่ อีเมลไ์ ด้อย่างรวดเรว็ และปลอดภยั โดยคุณสมบัติของ Gmail บนมอื ถอื นี้เหมอื นกับการใชง้ านบนหน้าเวบ็ ไซต์เลยทเี ดียวไมว่ ่าจะเป็นการแจง้ เตือนแบบเรยี ลไทม์, รองรบั การลงชื่อเขา้ ใช้หลายบัญชี และมรี ะบบค้นหาอีเมล์ท่ีรวดเรว็ เปน็ ตน้ เรยี กได้วา่ ใครท่ี ใชบ้ รกิ ารของทาง Gmail นอี้ ยู่ ตอ้ งไม่พลาด !

ห น ้ า | 19 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ งาน การดำเนินโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ไดด้ ำเนนิ การตามข้ันตอนตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. ขน้ั เตรยี มการ ➢ การศกึ ษาเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั โครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เก่ยี วข้องเพื่อเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนินการโครงการขยาย ผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ดังน้ี 1. ศึกษาเอกสาร / คู่มอื ขอ้ มลู จากหนงั สือ เกีย่ วกับเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer เพือ่ เป็นแนวทางเก่ยี วกับ การจดั โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง 2. ศกึ ษาข้ันตอนการดำเนินโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง เพื่อเป็นแนวทางใน การจัดเตรียมงาน วสั ดอุ ปุ กรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม ➢ การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่ี (ตามนโยบายของรฐั บาล) กลุ่มภารกิจ การจัดการศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายเพอ่ื ทราบความต้องการที่แท้จริงของประชาชนในตำบล และมีข้อมลู ในการจดั กจิ กรรมท่ตี รงกบั ความตอ้ งการ ของชมุ ชน ➢ การประสานงานผนู้ ำชมุ ชน / ประชาชน /วทิ ยากร 1. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หวั หน้า/ผนู้ ำชมุ ชนและประชาชนในตำบลเพ่ือรว่ มกนั ปรกึ ษาหารือใน กลุ่มเกี่ยวกบั การดำเนินการจดั โครงการใหต้ รงกบั ความต้องการของชุมชน 2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกับหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องเพอ่ื จัดหาวทิ ยากร ➢ การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การประชาสัมพนั ธก์ ารจัดโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง เพ่ือใหป้ ระชาชนทราบขอ้ มูลการจัดกจิ กรรมดังกล่าวผ่านผ้นู ำชมุ ชน ➢ ประชมุ เตรยี มการ / วางแผน 1) ประชมุ ปรึกษาหารือผู้ทีเ่ กย่ี วข้อง 2) เขยี นโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายต่างๆ เตรียมดำเนนิ การ 3) มอบหมายหน้าท่ี แต่งต้งั คณะทำงาน

ห น ้ า | 20 ➢ การรบั สมคั รผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้รบั สมัครผูเ้ ข้าร่วมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง โดยให้ประชาชนทั่วไปท่อี าศัยอยู่ในพื้นทตี่ ำบลวดั หลวงเข้าร่วม เป้าหมายจำนวน 15 คน ➢ การกำหนดสถานทแ่ี ละระยะเวลาดำเนนิ การ ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานทใ่ี นการจัดอบรมคือ กศน.ตำบลวดั หลวง หมู่ 7 ตำบลวัดหลวงอำเภอ พนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี ระหว่างวนั ท่ี 14-15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 จำนวน 2 วนั เวลา 08.30-16.00 น. 2. ขนั้ ดำเนนิ งาน ➢ กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเปา้ หมายของโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง เกษตรกรตำบลวัดหลวง จำนวน 15 คน ➢ สถานที่ดำเนนิ งาน ครู กศน.ตำบลวัดหลวง จัดกิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง โดยจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ระหว่างวนั ท่ี 14-15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 จำนวน 2 วัน ณ กศน.ตำบลวดั หลวง หมู่ 7 ตำบลวดั หลวงอำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี ➢ การขออนมุ ตั แิ ผนการจดั กจิ กรรมจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาพนื้ ทภี่ าคตะวนั ออก กศน.ตำบลวดั หลวง ได้ดำเนินการขออนุมตั แิ ผนการจดั กจิ กรรม โครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ต่อสำนักงาน กศน.จงั หวดั ชลบุรี เพือ่ ให้ตน้ สังกัดอนมุ ัตแิ ผนการจัดกิจกรรมโครงการขยาย ผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ➢ การจดั ทำเครอ่ื งมอื การวดั ความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการตดิ ตามประเมินผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ➢ ขน้ั ดำเนนิ การ / ปฏบิ ตั ิ 1. เสนอโครงการเพื่อขอความเหน็ ชอบ/อนมุ ัติจากต้นสงั กดั 2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง โดยกำหนดตารางกิจกรรมท่กี ำหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ ก่ผ้รู ับผิดชอบฝา่ ยตา่ งๆ 4. แต่งต้ังคณะกรมการดำเนนิ งาน 5. ประชาสมั พันธ์โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง

ห น ้ า | 21 กำหนดการ 6. จัดกิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ตามตารางกิจกรรมที่ 7. ติดตามและประเมินผลโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง 3. การประเมนิ ผล ➢ วเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. บนั ทึกผลการสังเกตจากผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม 2. วิเคราะห์ผลจากการประเมนิ ในแบบประเมินความพงึ พอใจ 3. รายงานผลการปฏิบัติงานรวบรวมสรุปผลการปฏิบัติงานของโครงการนำเสนอตอ่ ผ้บู รหิ ารนำปัญหา ขอ้ บกพร่องไปแกไ้ ขครัง้ ตอ่ ไป ➢ ค่าสถติ ทิ ใ่ี ช้ การวเิ คราะห์ข้อมลู ใช้ค่าสถิตริ ้อยละในการประมวลผลข้อมลู ส่วนตัวและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามคดิ เปน็ รายขอ้ โดยแปลความหมายค่าสถติ ริ อ้ ยละออกมาไดด้ ังนี้ ค่าสถิติรอ้ ยละ 90 ขึน้ ไป ดมี าก คา่ สถติ ริ อ้ ยละ 75 – 89.99 ดี ค่าสถิตริ อ้ ยละ 60 – 74.99 พอใช้ คา่ สถติ ิรอ้ ยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง คา่ สถิตริ ้อยละ 0 – 49.99 ปรับปรงุ เรง่ ด่วน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ นำมาเปรยี บเทียบ ได้ระดับคณุ ภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ดังน้ี เกณฑก์ ารประเมิน (X) ค่านำ้ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ คอื ดีมาก คา่ น้ำหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ คือ ดี ค่านำ้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คณุ ภาพ คอื พอใช้ คา่ น้ำหนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คุณภาพ คอื ต้องปรบั ปรุง คา่ น้ำหนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คอื ต้องปรับปรงุ เร่งดว่ น

ห น ้ า | 22 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอนที่ 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง การจดั กิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง สรปุ รายงานผลการจดั กจิ กรรม ไดด้ ังนี้ ในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ตามโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง เป็นการ อบรมให้ความรู้ โดยมี นางนิชาพัฒน์ เสียงบัณฑิตกุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร และนางสำเนียง ทองสนธิ์ เกษตรกร ต้นแบบตำบลวัดโบสถ์ เป็นวิทยากรในการบรรยายให้ความรู้ เรื่อง ขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer หลังจาก เสร็จส้ินกิจกรรมดังกล่าวแล้ว ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีองค์ความรู้ด้านการ บริหารจัดการงานเกษตร การเกษตรเชิงท่องเที่ยวเพ่ิมข้ึน และให้เกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) ได้ไปขยายผลการ อบรมประชาชนให้เป็นเกษตรกรปราดเปร่ือง Smart Farmer ตอนที่ 2 รายงานผลความพงึ พอใจของโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง การจัดกจิ กรรมโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ซึ่งสรปุ รายงานผลจาก แบบสอบถามความคิดเหน็ ขอ้ มลู ทไ่ี ด้สามารถวเิ คราะหแ์ ละแสดงคา่ สถิติ ดงั น้ี ตารางที่ 1 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ รายละเอยี ด เพศ หญิง ชาย 15 83.33 จำนวน (คน) 3 ร้อยละ 16.67 จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาพน้ื ท่ภี าคตะวนั ออก โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง สว่ นใหญ่เปน็ หญิง จำนวน 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 83.33 และเป็นชาย 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.67 ตารางที่ 2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป)ี อายุ ต่ำกวา่ 15 15 - 39 40 - 59 60 ขึ้นไป 15 จำนวน (คน) - 3 83.33 รอ้ ยละ - 16.67 จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาพ้ืนทภ่ี าคตะวันออก

ห น ้ า | 23 โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ส่วนใหญ่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 รองลงมาอายุ 40 - 59 ปี จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16.67 ตารางท่ี 3 ผู้เขา้ รว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ รายละเอยี ด เกษตรกรรม รบั จ้าง อาชพี คา้ ขาย อนื่ ๆ รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกิจ - - - - จำนวน (คน) 18 - - ร้อยละ 100 - - จากตารางท่ี 3 พบว่าผูต้ อบแบบสอบถามทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรมจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาพนื้ ทภี่ าคตะวันออก โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง มีอาชพี เกษตรกรรม จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางท่ี 4 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศกึ ษา รายละเอยี ด ระดบั การศกึ ษา การศึกษา ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย/ปวช. ปวส. ป.ตรีข้นึ ไป 5 จำนวน (คน) - 6 7 - 27.78 รอ้ ยละ - 33.33 38.89 - จากตารางที่ 4 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามท่ีเข้าร่วมกิจกรรมจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาพื้นทภ่ี าคตะวันออก โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ส่วนใหญ่มกี ารศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 38.89 รองลงมาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.33 และ มรี ะดับป. ตรีข้ึนไป จำนวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.78 ตารางท่ี 5 แสดงคา่ รอ้ ยละเฉลี่ยความสำเร็จของตัวชีว้ ัด ผลผลิต ประชาชนทว่ั ไป เขา้ รว่ มโครงการจำนวน 18 คน ผลสำเรจ็ ของโครงการ เปา้ หมาย(คน) ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ(คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ 15 18 100 จากตารางที่ 5 พบว่าผลสำเร็จของตวั ช้วี ดั ผลผลติ กิจกรรมจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาพ้นื ท่ีภาคตะวนั ออก โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ จำนวน 18 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ซ่ึงบรรลุเป้าหมายดา้ นตัวช้ีวดั ผลผลิต

ห น ้ า | 24 ตารางที่ 6 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่มี คี วามพึงพอใจต่อโครงการขยายผล เกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ ความพึงพอใจ ด้านบรหิ ารจัดการ () () ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.46 0.52 ดี ด้านประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ 4.53 0.50 ดีมาก รวมทกุ ด้าน 4.64 0.49 ดีมาก 4.54 0.50 ดีมาก จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจต่อโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวงในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (=4.54) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ด้านประโยชน์ท่ีได้รบั อยู่ ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (= 4.64) รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.53) และด้านบริหารจัดการ อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.46) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยูร่ ะหว่าง 0.49 - 0.52 แสดงว่า ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจสอดคลอ้ งกัน ตารางท่ี 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการขยายผล เกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ด้านบริหารจดั การ รายการ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบน ระดับ มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 1. อาคารสถานที่ () 2. สิ่งอำนวยความสะดวก 4.50 0.50 ดีมาก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4.56 0.50 ดีมาก 4. เอกสารการอบรม 4.33 0.58 ดี 5. วทิ ยากรผู้ให้การอบรม 4.44 0.50 ดี 4.44 0.50 ดี รวม 4.46 0.52 ดี จากตารางท่ี 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ดา้ นบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.46) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย (= 4.56) รองลงมา คือ อาคารสถานที่มีค่าเฉล่ีย (= 4.50) เอกสารการอบรม และ วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.44) และกำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มีค่าเฉล่ีย (= 4.33)

ห น ้ า | 25 ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.50 - 0.58 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปใน ทศิ ทางเดียวกัน ตารางท่ี 8 คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมทม่ี ีความพงึ พอใจตอ่ โครงการขยายผล เกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ รายการ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจดั กิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ 4.50 Master Trainer ตำบลวัดหลวง 0.50 ดีมาก 7. การให้ความรเู้ ร่อื งเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer 4.56 0.50 ดีมาก 8. การตอบขอ้ ซักถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปลย่ี นเรียนรูข้ องผู้เข้ารบั การอบรม 4.50 0.50 ดีมาก 10. การสรุปองค์ความร้รู ่วมกัน 4.56 0.50 ดีมาก 11. การวดั ผล ประเมนิ ผล การฝึกอบรม 4.56 0.50 ดีมาก 4.50 0.50 ดีมาก รวม 4.53 0.50 ดีมาก จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลย่ี (= 4.53) เม่ือพจิ ารณา เป็นรายขอ้ พบวา่ การให้ความรเู้ ร่ืองเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer การแลกเปลยี่ นเรยี นรขู้ องผเู้ ข้ารับการอบรม และ การสรุปองค์ความรู้รว่ มกนั มคี ่าเฉล่ยี (= 4.56) รองลงมาคือ การจัดกิจกรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง การตอบข้อซักถามของวิทยากร และ การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) ตามลำดบั โดยมีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน () อยูร่ ะหวา่ ง 0.50 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามคิดเห็นสอดคล้องกนั

ห น ้ า | 26 ตารางที่ 9 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมทีม่ ีความพึงพอใจตอ่ โครงการขยายผล เกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง ดา้ นประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั รายการ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน () พึงพอใจ 12. ได้เรียนรแู้ ละฝึกตนเอง เกยี่ วกับการเกษตรกร 4.67 ปราดเปร่ือง Smart Farmer 0.47 ดีมาก 13. นำความรู้ท่ไี ด้รับมาปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั 4.61 0.49 ดีมาก รวม 4.64 0.49 ดีมาก จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวงด้านประโยชน์ท่ไี ด้รบั ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลีย่ (= 4.62) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ได้ เรียนรู้และฝึกตนเอง เก่ียวกับการเกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer มีค่าเฉล่ีย (= 4.67) รองลงมา นำความรู้ที่ ไดร้ ับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั มคี ่าเฉล่ยี (= 4.61) โดยมีสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.47 - 0.49 แสดง วา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคดิ เหน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.80 มคี า่ นำ้ หนกั คะแนน 4.54 ถอื วา่ ผรู้ บั บรกิ าร มคี วามพงึ พอใจทางดา้ นต่างๆ อยใู่ นระดบั ดมี าก โดยเรยี งลำดบั ดงั นี้  อนั ดบั แรก ด้านดา้ นประโยชน์ทไ่ี ด้รบั คิดเปน็ ร้อยละ 92.80 มคี า่ น้ำหนกั คะแนน 4.64 อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดีมาก  อนั ดบั สอง ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.60 มคี ่าน้ำหนักคะแนน 4.53 อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพดมี าก  อนั ดบั สาม ดา้ นบรหิ ารจดั การ คดิ เป็นร้อยละ 89.20 มีค่านำ้ หนกั คะแนน 4.46 อยู่ในระดับคุณภาพดี

ห น ้ า | 27 บทท่ี 5 อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer ตำบลวดั หลวง ได้ผลสรุปดังนี้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื พัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีองค์ความรู้ดา้ นการบรหิ ารจัดการงานเกษตรและการเกษตร เชงิ ท่องเทีย่ วเพมิ่ ข้ึน 2. เพื่อใหเ้ กษตรกรตน้ แบบ (Master Trainer) ไดไ้ ปขยายผลการอบรมประชาชนให้เปน็ เกษตรกรปราดเปร่ือง Smart Farmer เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ เกษตรกรตำบลวัดหลวง จำนวน 18 คน เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ ร้อยละ 80 ของประชาชนที่ได้รบั การอบรมมีความร้เู พม่ิ มากขนึ้ และสามารถเปน็ เกษตรกรปราดเปร่อื ง Smart Farmer ได้ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในครงั้ นี้ คอื แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตำบลวดั หลวง ท่รี ับผดิ ชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถามความพงึ พอใจใหก้ ับผ้รู ่วมกิจกรรม โดยให้ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ตามโครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวัดหลวง สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลวัดหลวง ได้ดำเนนิ การจัดกิจกรรมตาม โครงการขยายผลเกษตรกรตน้ แบบ Master Trainer ตำบลวัด หลวงโดยดำเนินการเสร็จสน้ิ ลงแล้วและสรุปรายงานผลการดำเนินงานไดด้ ังนี้ 1. ผูร้ ่วมกจิ กรรมจำนวน 18 คน มีความรู้เพ่ิมมากข้ึนและสามารถเปน็ เกษตรกรปราดเปร่ือง Smart Farmer ได้ 2. ผู้ร่วมกจิ กรรมร้อยละ 92.80 นำความร้ทู ่ีได้รับมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั 3. จากการดำเนินกจิ กรรมตามโครงการดงั กล่าว สรุปโดยภาพรวมพบว่า ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจ ต่อโครงการ อยใู่ นระดับ “ดมี าก ” และบรรลคุ วามสำเรจ็ ตามเป้าหมายตวั ชีว้ ัดผลลพั ธท์ ่ตี ั้งไว้ โดยมีค่าเฉลย่ี รอ้ ยละภาพรวม ของกิจกรรม 90.80 และค่าการบรรลเุ ปา้ หมายคา่ เฉลี่ย 4.54 ขอ้ เสนอแนะ ควรมกี ารจดั กจิ กรรมทีต่ ่อเนือ่ ง จะได้นำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตต่อไป

ห น ้ า | 28 บรรณานุกรม ท่มี า กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญสง่ นลิ แก้ว (2535 หนา้ 22-25) กระทรวงศึกษาธิการ . (2543). http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_garbage.html http://www.digithun.com/smartphone-change-ur-life/

หน้า |1 ภาคผนวก

หน้า |2 แผนการจดั กจิ กรรม

หน้า |3 โครงการ

หน้า |4

หน้า |5

หน้า |6

หน้า |7 .

หน้า |8 15

หน้า |9

ห น ้ า | 10

ห น ้ า | 11

ห น ้ า | 12 หนงั สอื เชญิ วทิ ยากร

ห น ้ า | 13

ห น ้ า | 14

ห น ้ า | 15

ห น ้ า | 16

ห น ้ า | 17

ห น ้ า | 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook