สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ท่ยี ั่งยนื ปงี บประมาณ 2564 (ไตรมาส1-2) ในวันท่ี 11 มีนาคม 2564 ณ ศนู ย์เรยี นรูโ้ คกหนองนาโมเดล ม. 8 ต.หนองเหยี ง อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี กศน.ตำบลวัดหลวง กศน.ตำบลหนองเหียง กศน.ตำบลวัดโบสถ์ และ กศน.ตำบลท่าขา้ ม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนคิ ม สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ชลบรุ ี
คำนำ กศน.ตำบลวัดหลวง กศน.ตำบลวัดโบสถ์ กศน.ตำบลหนองเหียง และ กศน.ตำบลทา่ ขา้ ม สังกัด ศูนย์การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพนสั นิคม ได้จัดทำโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ี ชวี ติ ทยี่ ่ังยนื โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั โคก หนอง นา โมเดล ที่สรา้ งวิถชี ีวิตทีย่ ัง่ ยนื และนำความรทู้ ไ่ี ด้รับมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ซง่ึ มกี ารสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการดงั กลา่ วเพอื่ ต้องการทราบวา่ การ ดำเนินโครงการบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไว้หรือไม่ บรรลใุ นระดับใดและไดจ้ ัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการ เรยี นร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเสนอตอ่ ผ้บู รหิ าร ผเู้ กีย่ วขอ้ งเพ่ือนำข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นาการ ดำเนนิ โครงการให้ดียงิ่ ข้ึน คณะผู้จัดทำ ขอขอบคุณผู้อำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ทใ่ี ห้คำแนะนำ คำปรึกษา ในการจดั ทำสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในคร้ังน้ี หวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งฉบบั นี้ จะเป็น ประโยชน์ตอ่ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านโครงการและหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ตอ่ ไป กศน.ตำบลวัดหลวง กศน.ตำบลวัดโบสถ์ กศน.ตำบลหนองเหียง และ กศน.ตำบลท่าข้าม มีนาคม 2564
สารบญั หนา้ ก หวั เรอื่ ง ข คำนำ ค สารบญั สารบญั ตาราง 1 บทที่ 1 บทนำ 1 2 - หลกั การและเหตผุ ล 2 - วตั ถปุ ระสงค์ 2 - เปา้ หมายการดำเนนิ งาน - ผลลพั ธ์ 3 - ตัวช้ีวดั ผลสำเร็จของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง 12 - กรอบการจดั กิจกรรมการเรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 15 - เอกสาร/งานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 20 บทที่ 3 วิธดี ำเนินงาน บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู บทท่ี 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี ีวติ ท่ยี ั่งยืน ข้นึ หนังสือขออนุเคราะห์วิทยากร รายงานผลการจดั กิจกรรม แบบประเมนิ ผรู้ ับบริการ คณะผจู้ ัดทำ
สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 15 15 1. ผู้เข้าร่วมโครงการทีต่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 16 2. ผู้เขา้ รว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ 16 3. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ 16 4. ผเู้ ข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดับการศกึ ษา 17 5. แสดงคา่ รอ้ ยละเฉลี่ยความสำเร็จของตัวชว้ี ัด ผลผลิต ประชาชนทั่วไป 17 6. ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 18 7. คา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านบริหารจัดการ 18 8. คา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 9. ค่าเฉลยี่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ
1 บทที่ 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ล ท่ามกลางปัญหาการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ที่มสี าเหตุหลักมาจากการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งไร้ขอบเขต ของมนุษย์ ได้ส่งผลกระทบในวงกวา้ งตอ่ สมดุลระบบนิเวศและสงิ่ แวดลอ้ ม การเกิดปรากฏการณต์ า่ งๆ ทเี่ ป็นภยั คกุ คามตอ่ แหลง่ ผลิตอาหาร เชน่ ความแหง้ แลง้ น้ำท่วม โรคระบาดศตั รูพชื และอนื่ ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภาวะวิกฤตทส่ี ง่ ผลกระทบต่อ ภาคการเกษตรอยา่ งมาก คอื การเกิดภัยแลง้ ทีน่ บั วันจะมคี วามรุนแรงเพ่ิมขน้ึ ในทกุ ปีทผี่ ่านมา ประเทศไทยรับมอื กบั ปญั หา ภยั แล้งในหลากหลาย รปู แบบ เชน่ การสรา้ งอ่างเก็บนำ้ การสร้างเขือ่ น หรอื การจัดทำระบบชลประทาน ซ่ึงรูปแบบเหล่าน้ี สามารถใช้แกไ้ ขปญั หาได้ในบางพ้นื ท่ขี องประเทศไทยเทา่ น้ัน สำหรับพืน้ ท่ีหา่ งไกลนอกเขตชลประทานที่มีพื้นท่ี ถึง 121,200,000 ไร่ ยงั คงต้องประสบกับปัญหาการขาดแคลนน้ำ เพ่ือใช้ในการเกษตร รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล จงึ เปน็ รปู แบบหน่งึ ของการแก้ไขปัญหาเรอ่ื งการจัดการนำ้ ท่ีสถาบนั เศรษฐกจิ พอเพยี งและมลู นิธกิ สกิ รรมธรรมชาติ ไดน้ อ้ มนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช รชั กาลท่ี 9 ด้านการทำเกษตรทฤษฎีใหมต่ ามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชบ้ รหิ ารจัดการน้ำ และพ้นื ที่ การเกษตร โดยมกี ารผสมผสานกบั ภมู ิปญั ญาพื้นบ้านให้สอดคล้องกัน โดยแบ่งพนื้ ท่ีเป็นสัดส่วน 30 : 30 : 30 : 10 ดงั น้ี 30% สำหรับแหลง่ น้ำ โดยการขุดบอ่ ทำหนองและคลองไส้ไก่ 30% สำหรบั ทำนา ปลูกข้าว 30% สำหรบั ทำโคกหรือปา่ ปลกู ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง กค็ อื ปลกู ไม้ใชส้ อย ไมก้ ินไดแ้ ละไมเ้ ศรษฐกจิ เพือ่ ให้ได้ประโยชน์ คือ มีกิน มอี ยู่ มีใช้ มี ความสมบูรณ์ และความร่มเย็น และ 10% สำหรบั ที่อยูอ่ าศยั และเลย้ี งสัตว์ เชน่ ไก่ ปลา วัว และควาย เปน็ ตน้ ซ่งึ เปน็ ผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากบั ภูมิปัญญาพื้นบ้านท่อี ยูอ่ ยา่ งสอดคล้องกับธรรมชาตใิ นพนื้ ทีน่ น้ั ๆ โคก หนอง นา โมเดล เป็นการทใ่ี ห้ธรรมชาติจดั การตัวเองโดยมี มนษุ ยเ์ ป็นส่วนสง่ เสรมิ ให้สำเร็จเร็วขนึ้ อย่างเปน็ ระบบ จากเหตุผลดังกล่าว กศน.ตำบลหนองเหียง กศน.ตำบลวดั โบสถ์ กศน.ตำบลวดั หลวง และกศน.ตำบลท่าข้าม สงั กัด ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำคญั จงึ ได้จดั ทำ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ชี ีวติ ที่ยงั่ ยนื ขน้ึ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ใหผ้ ู้อบรมมีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับโคก หนอง นา โมเดล ที่สร้างวิถีชีวิตท่ีย่งั ยืน 2. เพอ่ื ให้ผอู้ บรมสามารถนำความรู้ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้
2 เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ประชาชน 4 ตำบล ๆ ละ 5 คน ได้แก่ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลหนองเหียง และ ตำบลทา่ ข้าม รวมทง้ั ส้ิน 20 คน เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ 1. ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มีความรู้ ความเข้าใจการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ชี วี ติ ทยี่ ัง่ ยนื 2. ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม นำความรทู้ ่ไี ดร้ บั มาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ผลลพั ธ์ - ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม มีความรู้ ความเขา้ ใจในหลักการอบรมเชิงปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถชี วี ิตทย่ี ั่งยนื ดัชนชี ว้ี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 4.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Outputs) รอ้ ยและ 80 ของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) ร้อยและ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม นำความร้ทู ่ีไดร้ บั มาปรับใช้ในชีวิตประจำวนั
3 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในการจัดทำสรุปผลโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวติ ทยี่ งั่ ยืน คร้ังน้ี คณะผ้จู ัดทำ โครงการได้ทำการคน้ ควา้ เน้ือหาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง ดังน้ี 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. เอกสาร/งานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง 1. กรอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นโยบายเรง่ ดว่ นเพอื่ รว่ มขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง 1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผา่ นกระบวนการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ใน รูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพอื่ เสริมสร้างภมู คิ ุ้มกัน สามารถยืนหยัดอย่ไู ด้อยา่ งมน่ั คง และมกี ารบริหาร จดั การความเสี่ยง อย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศส่คู วามสมดลุ และยัง่ ยืน 2. เอกสาร/งานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เกษตรทฤษฎใี หม่ หลกั การออกแบบดว้ ยพน้ื ท่ีดว้ ย ภมู ิสงั คม หลมุ ขนมครก ก็คือเกษตรทฤษฎใี หม่ของพระองคท์ ่านน่ีแหละ ถา้ จะใหน้ ิยาม เรามาใชค้ ำ ให้เป็นภาษาชาวบา้ น แค่นั้นเอง ๑ โคก หนอง นาโมเดล ก็ถอื เปน็ ๑ หลุม พื้นท่ลี ุ่มนำ้ น้นั เปรยี บเหมอื นถาดขนมครก ถาด ๑ ถาด ถา้ ไม่มหี ลมุ เลย ก็จะเป็นถาดเรียบ ๆ ท่นี ้ำลากมาก็จะไหลผ่านหมด การทำหลุมขนมครกกค็ ือการทำ โคก หนอง นา เป็น หลมุ ๆ อย่ใู นถาดนนั้ ใหเ้ ปน็ จดุ ๆ ให้เต็มถาด เพื่อให้แทนท่ีน้ำที่อาจจะไหลผา่ นทั้งหมด ทีเดยี ว น้ำก็จะไดข้ งั อยู่ ในหลมุ ขนมครก เพราะนำ้ ฝนทัง้ หมดทต่ี กมา แทนที่จะทะลักล้นทำใหเ้ กิดน้ำทว่ มแบบน้ี มันก็จะโดนเก็บไวก้ ่อน แล้ว
4 อยา่ งเช่น ท่ีน่านถ้าเราไปทำอย่างนี้ ทุกภูเขาทก่ี ำลังหัวโล้นอยู่ ไปทำทง้ั ระบบเกบ็ น้ำบนภูเขา มีปลูกปา่ เพม่ิ เพือ่ จะเก็บนำ้ ไว้ใน ดิน เชน่ การขดุ หนองบนเขา ทำนาบนเขา เปน็ นาข้นั บนั ได ก็จะสามารถชะลอ น้ำไมใ่ ห้ลากลงมาได้ เพราะว่าระบบนำ้ ท่ีฝน ตก นำ้ จากนำ้ ฝนนเ้ี วลาตกจะโดนชะลออยใู่ นพืน้ ที่ก่อนไม่ใชต่ กแล้ว หลากดิ่งมาเลย เพราะถ้าด่ิงลงมารวมกนั หมด กจ็ ะทำให้ เกดิ การทะลกั กลายเปน็ นำ้ ปา่ แต่ถา้ ทำอย่างน้ีมันจะ ชะลออยู่เปน็ จุด ๆ หลมุ ขนมครกน้ี นอกจากจะชว่ ยชะลอนำ้ ท่วมแลว้ ก็ ยังทำให้มีน้ำเก็บอยูใ่ นท่ีดนิ ซง่ึ สามารถ นำมาใชต้ ลอดทง้ั ปีได้ ซ่งึ หลกั การออกแบบ คือต้องคำนวณวา่ ใน ๑ ปี จะใช้น้ำอยู่กีล่ กู บาศก์เมตร แลว้ จะต้องเกบ็ นำ้ ใหพ้ อใชใ้ น ๑ ปี โดยทไี่ ม่ต้อง รอน้ำจากระบบชลประทาน และตอ้ งพ่งึ ตนเองเรอื่ งน้ำใหไ้ ด้ ๑๐๐% หรือ ๑๒๐% เพือ่ จะเผือ่ ชาวบ้านทเ่ี ขาไม่มีพอ หลกั สำคัญท่สี ุดในการออกแบบพื้นที่จริง ๆ เราจะใช้คำว่าการออกแบบเชิงภมู ิสังคมไทย ซ่ึงคำวา่ ภูมิสังคมน้ี เปน็ คำทีใ่ นหลวง ทา่ นพระราชทานให้ และคำนก้ี เ็ ปน็ คำท่ีทางมหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ นำไปเปิดเปน็ หลกั สูตร ชอ่ื วา่ หลกั สูตรการพฒั นาภูมิสงั คม อย่างย่งั ยนื ซง่ึ สามารถนำมาเช่อื มโยงกับ ความเข้าใจของส่งิ ทพ่ี ระองค์ท่านทรงคดิ และปรัชญาของพระองค์ท่าน วา่ พระองค์ ทา่ นอยากจะทำอยา่ งไร ทส่ี ำคัญจริง ๆ นนั้ มปี ัจจัยคือเรื่องของคำว่าภูมิสงั คมนน้ั ภูมิ คอื กายภาพ สภาพดนิ น้ำ ลม ไฟ และสงั คม คือ วัฒนธรรม ความเชอ่ื ภูมิปัญญาด่ังเดมิ ทอ่ี ยู่ในพ้นื ทีน่ นั้ เพราะฉะนั้นปัจจัย ๒ ตัวน้ีคอื ปัจจยั หลกั ท่ีสำคญั ซึ่งการออกแบบจรงิ ๆ นนั้ สงั คมจะสำคญั กวา่ ภูมิ เพราะตอ้ งออกแบบตามคนที่อยู่ เปรียบเสมือนศัพทท์ างสถาปนิกท่ีเรา มกั จะใชค้ อื ปลูกเรอื นตามใจผ้อู ยู่ เชน่ การออกแบบพ้นื ทห่ี น่ึงใน จงั หวดั ลำปาง ถงึ แมจ้ ะเปน็ ภเู ขาด้านเดียวกนั แตค่ นทอ่ี ยู่ อาศยั นั้นเป็นคนเผ่ากระเหร่ียงและเผ่าอาข่า ซ่งึ เป็น คนละชนเผ่า ฉะน้ันการออกแบบก็จะใชค้ นละรูปแบบ เพราะวัฒนธรรม การกินอยขู่ องทง้ั ๒ เผา่ นน้ั ไม่เหมอื นกนั พืชผักทเ่ี ขาปลกู ก็ไมเ่ หมือนกนั เพราะฉะนนั้ ความตอ้ งการน้ำของพืชผักแต่ละ ชนดิ จงึ ไมเ่ หมือนกนั ฉะนั้นภมู ิประเทศเหมือนกนั กจ็ ริงแต่ถา้ สังคมไมเ่ หมอื นกันการออกแบบกจ็ ะเปล่ียนไปทันที ดงั นัน้ สงั คม จงึ จะมาก่อนภูมิ
5 ภมู ิ จะเป็นบรรทัดฐานท่งี า่ ย ๆ คอื หลกั ของภมู นิ ้จี ะใช้หลักเดียวกันทัง้ ประเทศ เชน่ ปริมาณ น้ำฝนในพื้นทแี่ ต่ละ พื้นทน่ี ้นั ตกตา่ งกันเท่าไหร่ ก็เอาปริมาณนำ้ ฝนมาเป็นตัวคำนวณ ทิศทางลมของพื้นที่สว่ นใหญ่ในประเทศไทย จะเปน็ ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตอ้ ยูแ่ ลว้ แตถ่ ้าในพ้ืนท่ที ี่เปน็ ร่องเขากอ็ าจจะต้องดูวา่ ลมมาจากร่องเขาไหน ทิศทางแดด แดดช่วงหน้าหนาว ตะวันอ้อมใต้ แดดกค็ อื ความร้อน การวางผงั อะไรก็ตาม จึงตอ้ งคดิ ถึงเร่ืองอะไรพวกนท้ี ัง้ หมดการออกแบบหลมุ ขนมครก หรือ ก็คอื โคก หนอง นา ในพ้นื ท่ขี องเรา จะตอ้ งคำนึงถึงตัวแปล สำคัญนนั่ คือ “ดนิ น้ำ ลม ไฟ และคน” ลกั ษณะความอุม้ น้ำของ ดินทีต่ ่างกันมีผลต่อการออกแบบพ้นื ที่ เพราะจะตอ้ งมกี ารวางแผนเพือ่ ขุดหนองน้ำและสิง่ สำคัญอกี อย่างหน่ึงคือ การ ปรบั ปรุงดนิ โดยใชห้ ลกั การฟื้นฟู รักษาความสมบูรณข์ องหน้าดินโดยการหม่ ดินด้วยฟาง ใบไม้ หรือหญ้า แลว้ ใช้ปุ๋ยอินทรียใ์ ห้ เหมาะสม กบั คณุ ลักษณะของดินจะช่วยแกป้ ัญหาดินได้ มองใหเ้ หน็ คุณค่าของน้ำฝนที่ตกลงมาโดยการเกบ็ ไวใ้ ห้ได้มากทสี่ ุด การขุดหนองน้ำ โดยดู ทางไหลของนำ้ เขา้ และออกจาก พ้ืนท่ีเปน็ ส่วนสำคัญส่วนหน่งึ หากวางตำแหน่องของหนองนำ้ ในทิศทางท่ีให้ ลมรอ้ นพดั ผ่านก็จะทำให้บ้านเยน็ ข้นึ การขดุ หนองนำ้ ต้องขดุ ให้คดเคย้ี ว ให้มรี ะดบั ควา มสงู ในหนองน้ำ ไม่เท่ากันแล้วปลกู พชื น้ำเพอ่ื ใหป้ ลาอาศัยและวางไข่ได้ รวมทงั้ การทำแซนวิชดป์ ลา คอื การนำหญา้ และฟางกองสลบั กบั ปุ๋ยหมกั ไวท้ ี่ตน้ นำ้ เพ่ือสร้าง แพลงตอนเพม่ิ อาหารใหก้ ับสัตว์ น้ำนัน่ เอง
6 ตัวแปลสำคญั ของการออกแบบหลมุ ขนมครก หรือกค็ ือ โคก หนอง นา ในพืน้ ที่ของเรา คอื “ดนิ น้ำ ลม ไฟ และคน” ลมจะหอบท้งั ความร้อนและฝนเข้ามาในพ้ืนท่ี จึงตอ้ งรู้ว่าลมพัดเขา้ มาทางไหน ตามปกตแิ ลว้ ลมฝนจะพดั มาทางทิศตะวันตก เฉยี งใต้ สว่ นลมหนาวจะพัดมาทางทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ดังนัน้ จงึ ควรวาง ตำแหนง่ บ้านและลานตากขา้ วไม่ใหข้ วางทิศทาง ลมหนาว การออกแบบบ้านก็ควรให้มีชอ่ งลมสอดรบั กบั ทศิ ทาง ลมท่พี ัดมาในแต่ละฤดูกาลเพื่อทำใหบ้ า้ นเยน็ ลดการใช้ พลังงานไดไ้ ฟกค็ ือแสงจากดวงอาทิตย์ซึ่งกอ่ ใหเ้ กิดความร้อนไปด้วย เราจะตอ้ งสำรวจทิศทางข้นึ และ ตกของดวงอาทติ ยโ์ ดย ควรจะสงั เกตหลายๆ ครง้ั ในทกุ ฤดู เพราะในแต่ละฤดมู ที ศิ ทาง และชว่ งเวลาท่ีไม่ เหมือนกนั หวั ใจสำคัญของการออกแบบก็ คอื ความต้องการของคน คนคิดอย่างไร คนอยู่อย่างไร ออกแบบให้ เหมาะสมกบั การดำรงชวี ิตของผอู้ ยทู่ ่ีนนั่ จงึ จะเรยี กวา่ ดี ท่สี ดุ ดนิ จากการขุดหนองใหน้ ำมาถมทำโคก โคกควรอยู่ทางทิศตะวนั ตก บนโคกให้ปลกู ป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง น่นั คือ ปลกู ไมใ้ ชส้ อย ไมก้ ินได้ และไมเ้ ศรษฐกจิ ซึง่ ให้ประโยชน์เป็นความพอกิน พอใช้ พออยู่ และรักษาระบบนิเวศ ต้นไม้ท่ี ปลกู ควรมี ๕ ระดับ คอื ไม้สงู ไมก้ ลาง ไมเ้ ตี้ย เร่ียดิน และพืชหัว เมือ่ ตน้ ไมส้ งู กจ็ ะ บดบังแสงอาทิตยช์ ว่ งบา่ ยทำให้บ้านเยน็ ทง้ั กลางวันและกลางคืน อ.ยักษ์ จะสอนเสมอว่า ทำงานให้ได้ ๓ อยา่ ง ในการทำงานของพวกเรา โคก หนอง นา กเ็ หมือนกัน เวลาออกแบบ เรากต็ ้อง คดิ ใหเ้ ขาทำใหไ้ ด้ ๓ อย่างเหมือนกัน คอื ๑. ทำงานต้องไดง้ าน โคก หนอง นา เวลาเราทำเราตอ้ งได้แบบของโคก หนอง นา ๒. ทำงานตอ้ งไดเ้ พื่อน คือ ไดเ้ พอื่ นมา ชว่ ยกันทำงาน ๓. เรื่องน้ีเป็นเรอ่ื งใหญเ่ ลยและคนมักจะลืมกันไปก็คือ ทำงานตอ้ งได้พฒั นาตนเอง ทั้งจิตใจ และกำลังกาย ทั้งสุขภาพ เพราะฉะนัน้ หลักในการออกแบบโคก หนอง นา สว่ นใหญ่จะเน้นในเร่อื งของการออกแบบ อย่างไรให้เกดิ กจิ กรรม ๓ กจิ กรรมน้ี เพราะ ๓ กิจกรรมน้ี จะเป็นตวั ทำให้งานสำเร็จ สำเร็จและมนั ย่งั ยนื ตอ่ ไป และเขาก็จะแบบมีความภมู ใิ จคือหลกั ๆ ในการออกแบบ
7 เกษตรทฤษฎใี หม่ การขนึ้ รปู แปลงนา เวลาเราจะกนิ ขา้ วมีทางเลือกเยอะแยะเลย ไปซอ้ื เอาก็ได้ เพราะมันถกู ข้าวมนั ราคาถูก แต่วา่ ปลกู กินเองน้ีกับไปซอื้ เขาอนั ไหนมันจะอรอ่ ยกวา่ กนั การยกคันนา บา้ นเรานี้มีปรมิ าณนำ้ ฝนตกลงมาใสไ่ รห่ น่ึง ๒,๐๐๐ ตันข้ึนไป ๒,๐๐๐ ตนั ก็คอื ๒,๐๐๐ คิวนั่นเอง เพราะฉะนั้นเกนิ กับปริมาณท่ขี ้าวตอ้ งการ วิธีท่จี ะเก็บน้ำไว้ดที ส่ี ดุ คอื ชาวนาต้องทำเขือ่ นของตัวเองขนาด ใหญ่หรอื ทเี่ รียกว่าคันนา อสี านเรียกว่าคันแคนา คันนาขนาดใหญ่ ๑ - ๒ เมตร บางบ้านทำถึง ๕ – ๖ เมตร คันนานี้ เร่มิ ตน้ ก็ ต้องยกคนั นา เชค็ ระดับแล้วกย็ กคันนา ยกคนั นาใหส้ ามารถ เก็บน้ำไว้ในนาไดแ้ ลว้ ปรับพื้นนาให้เสมอกัน ถ้าปรมิ าณน้ำไม่ แน่ใจวา่ มันจะเกบ็ ได้มากกข็ ุดร่องริมคนั นา การขุดรอ่ ง ก็เพ่อื ทจ่ี ะเอาดินนน้ั ยกขึ้นมาป้ันคันนาเม่ือได้คนั นาใหญๆ่ สงู ๆ ก็ทำใหต้ ้องการ ดนิ มาก ดนิ ตรงนั้นก็จะกลายเปน็ รอ่ งไป ร่องน่นั ก็จะกลายเป็นท่อี ยูข่ องปลาอย่างดี เพราะปลาชอบอยู่ทง้ั ในนำ้ ลกึ และหากนิ ในน้ำต้ืน จงึ ตอ้ งมรี ่องให้ปลาอยู่ อย่างมีความสุขในนำ้ ลึก ขณะเดียวกนั ปลากจ็ ะขน้ึ ไปหากินในทแ่ี ดดสอ่ งถึง ซ่ึงกจ็ ะ มีแพลงตอนพืช แพลงตอนสตั ว์ มี ส่ิงมีชวี ติ ตา่ ง ๆ เยอะ เป็นอาหารของปลา ปลาก็จะอยไู่ ด้อยา่ งมคี วามสขุ นอกจากนกี้ ารขุดคนั นาแบบไล่ระดับหรอื ที่เรยี กว่า ทำเปน็ ตะพัก ยังชว่ ยไม่ให้ดินจากบนคันนา ไหลลงสู่พืน้ นาดา้ นลา่ ง โดยจะถูกดักไวบ้ นตะพักนี้กอ่ น และยังสามารถปลูกพืช บนจะพักไดอ้ ีกดว้ ย ก่อนจะหว่านเมล็ดไมว่ ่าจะตกกลา้ เพ่ือจะถอนเอาไปดำหรือหว่านสำหรับท่ีจะเป็นนาหวา่ น กค็ วรจะทำเทอื กกอ่ น การทำเทือก ก็คือทำเลนให้มนั เรียบสนทิ ให้เสมอกันน่นั เอง เขามกั จะให้คนลงไปทุบไปยำ้ หรอื ใชเ้ ครือ่ งลงไปยำ้ หรอื เคร่ืองลง ไปทุบ แล้วก็จะเอาไมก้ ระดานหรือเหล็กหรืออะไรก็ไดป้ าดมนั ให้มนั เรียบเปน็ เทอื กก็คอื ให้เป็นเลนเป็นเทอื กเลย เรยี บเพอ่ื ให้ นำ้ มันขังเทา่ กนั ข้าวกจ็ ะโตในลกั ษณะเท่าเทยี มกัน ฉะนั้นจำเปน็ ตอ้ งปรบั ใหเ้ สมอกนั เพ่อื ใหน้ ำ้ ขงั ความลึกของน้ำเท่ากนั ตลอดทั้งแปลง ถ้าสมมติแปรงถดั ไปมพี น้ื ที่ ต่ำกว่า เรากต็ ้องกดปรับขน้ึ อีกแปลงเพ่ือท่จี ะยกคนั นาเป็น ข้ัน ขนั้ ถา้ เปน็ ภเู ขาก็ ปรบั เป็นขั้น ขนั้ ท้องหรอื พื้น ตอ้ งเสมอกนั เพอื่ ให้ในท้องนามีความลึกเท่ากันน่ันเอง
8 วธิ ีหมกั ก็คอื เอาพชื ไม่วา่ จะตอซังของมันเอง รากของมันเอง หญ้าหรอื ถั่ว เราต้องรู้วา่ ดนิ ท่ีดี เหมาะสำหรับข้าวมากที่สุดคอื ดนิ ท่ีมีอนิ ทรียวัตถปุ ระมาณ ๕% สมยั โบราณ เขาก็ไถหมักพลกิ หญ้า จะได้ ทง้ั ตน้ หญา้ ดอกหญ้า ใบหญา้ รากหญ้า หมกั ก็ จะไดจ้ ลุ ินทรยี ข์ ้นึ มา แลว้ เอานำ้ ใส่ เอาปุ๋ยชีวภาพ ท้งั ป๋ยุ แหง้ ท้ังปุ๋ยนำ้ ใส่ลงไป หรอื ไมอ่ าจใช้ปยุ๋ ชีวภาพธรรมดาเลย ก็คอื เอา ขว้ี วั นีแ่ หละใสล่ งไปงา่ ย ๆ แล้วก็ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพใสล่ งไปไร่ละลิตร ใจร้อนบางคนใสท่ ี่เดยี วต้ัง ๒๐ ลิตร ก็ได้ ขา้ วก็จะ งามมาก แลว้ กย็ ำ้ ลงไป ทบุ แลว้ กห็ มักท้ิงเอาไว้ ๗ วนั มันก็จะยอ่ ยสลาย ถ้ามีเมล็ดตกค้างมันกจ็ ะแตกออกมาเลย แล้วย้ำทำอีกซ้ำลงไปอีกรอบหนงึ่ ก็จะใช้ เครื่องกไ็ ด้กท็ บุ ลงไป จากน้ันกห็ มกั ทิง้ เอาไว้วธิ ีดองดนิ หมายถึงว่าเอานำ้ ขงั ให้มันแช่นำ้ แล้วก็ดองทิง้ เอาไวใ้ หไ้ ดส้ ัก ๗ วัน รวมเปน็ ๒ ครง้ั ก็ ๑๔ วนั โดยประมาณ แล้วหลงั จากนน้ั กด็ ำไดเ้ ลย หรือจะโยนกลา้ กไ็ ด้ หรอื จะดำกไ็ ด้ ขา้ วกจ็ ะงามโตเร็ว ใหผ้ ลผลิตดขี ้วี ัวผสมฟางที่ใชห้ มักดองดิน สามารถนำมาฉาบไปบนขอบตลง่ิ บนตะพกั รวมทัง้ บนคันนา เพราะจะได้ประโยชน์ ทง้ั การบำรงุ ดนิ และเป็นการทำให้ผนังคันนาแขง็ แรงขึน้ ด้วย
9 การห่มดนิ บนคันนา คอื ธรรมชาตขิ องบา้ นเราเป็นเขตร้อนช้ืน สงั เกตจากในป่าจะมีใบไม้สลดั หม่ ดินไว้หนา บางทเี ดนิ ลงไป ยุบลงไปหนาถงึ เขา่ ฉะนน้ั จะทำให้ดนิ เกดิ ความอุดมสมบรู ณ์เหมือนดินปา่ ตาม ธรรมชาติ กไ็ ปหาใบไม้ หญา้ หรือฟางก็ได้ เอา มาห่มเอาไว้ให้หนา อยา่ งนอ้ ยสักฝ่ามอื โดยวัตถุประสงค์ของการห่มดิน กค็ ือ ต้องการให้ดินเกดิ ท้ังความร้อนท้ังความช้ืน สภาวะ บา้ นเราเปน็ เขตรอ้ นช้นื ถา้ เราไปกวาดใบไมอ้ อกหมดปล่อยให้ดินเปลอื ย ดินก็จะไม่ชนื้ และก็ไม่รอ้ น อยากทำ ให้ดนิ มสี ภาพเปน็ ร้อนช้นื ก็ไปหามาห่มเอาไว้ ก็จะได้ความชื้นอย่ใู นดนิ พอเหมาะ อย่างน้อยประมาณสกั ๒๕% และกม็ ีความ ร้อนในสภาวะความร้อนความชนื้ จลุ นิ ทรยี ์จะทำงานเรว็ มาก น่นั ก็แปลวา่ รากกจ็ ะทำงานเรว็ มาก จึงทำใหร้ ากยาวและก็จะ ปรมิ าณมาก ทำให้หาอาหารได้เกง่ ตน้ ไม้กจ็ ะโตใหผ้ ลผลิตดีเทคนิคการหม่ ดิน มีดงั น้ี ๑. อยา่ ใหแ้ สงสอ่ งถึงพ้นื ๒. ใหค้ วามรอ้ นชดั เจน เมื่อความรอ้ นนถ้ี ูกจุลนิ ทรียบ์ วกกบั ความชืน้ จะย่อยสลายใบไม้ กลายเป็นฮิวมสั ซ่ึงเป็นปุ๋ยทีด่ ีท่ีสุด สำหรับพชื ทกุ ชนิด
10 ทบทวนการขนึ้ รปู แปลงนา เรมิ่ จากการทำคนั นาสงู ประมาณ ๑ เมตร กว้างประมาณ ๒ เมตร จากนัน้ ขุดร่องนำ้ โดยรอบ รวมทั้งขุดไลร่ ะดับคนั นาเปน็ ตะพัก แลว้ นำดินที่ขดุ ไปเพิม่ ความสงู ของคันนาไดอ้ ีก ดา้ นบนคนั นาให้ขดุ คลองไส้ไกไ่ วด้ ้วยจะดีมาก ต่อไปเปน็ การปรับระดับพ้นื นา โดยอาจนำนำ้ เข้าแปลงนาเลก็ น้อย เพอ่ื ให้การ ปรบั ระดับง่ายข้ึนแล้วทำการย้ำโดยคน หรือใชร้ ถไถปรับระดบั เพือ่ ให้พ้นื นา เรียบเทา่ กนั ท้งั แปลง จากนัน้ เปน็ การหมักดองดิน โดยใชอ้ ินทรียวัตถุ เช่น ฟางข้าว หญ้า ผสมกับขวี้ วั หรอื ปุ๋ยชีวภาพ นำนำ้ เขา้ แปลงนาพอทว่ ม แล้วยำ้ ใหผ้ สมกัน
11 จากน้ันนำขี้ผสมฟางบางสว่ นขนึ้ มาฉาบไวต้ ามคันนา หมกั ดองไว้ประมาณ ๗ วัน ช่วงเวลานถ้ี ้ามีเมล็ดพชื ตกค้างก็อาจจะงอกข้ึนมาได้ เมอ่ื ครบ ๗ วัน กใ็ ห้ย้ำลงไปอีกคร้ังและทิ้งไว้อกี ๗ วัน รวมเป็น ๑๔ วนั จากน้ันหม่ ดินเพมิ่ โดยใชฟ้ าง แล้วก็สามารถปลูกข้าวและพชื ผักตา่ ง ๆ ตามคนั นาได้เลย
12 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ งาน การดำเนนิ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ทยี่ ั่งยืน ได้ดำเนินการตามขน้ั ตอนต่างๆ ดังนี้ 1. ขนั้ เตรยี มการ การศกึ ษาเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ทยี่ งั่ ยนื ผูร้ ับผิดชอบโครงการได้ศึกษาค้นควา้ เอกสารท่ีเก่ยี วข้องเพอื่ เป็นขอ้ มลู และแนวทางในการดำเนนิ การโครงการอบรม เชิงปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ชี วี ติ ท่ีย่งั ยนื ดังนี้ 1. ศกึ ษาเอกสาร / ค่มู ือ ข้อมูลจากหนังสือ เก่ียวกับการ โคก หนอง นา โมเดล เพื่อเป็นแนวทางเกย่ี วกับการจดั โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถชี วี ิตที่ย่งั ยนื 2. ศกึ ษาขน้ั ตอนการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถชี วี ติ ทยี่ ั่งยืน เพ่ือเป็น แนวทางในการจัดเตรยี มงาน วสั ดุอปุ กรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ท่ี (ตามนโยบายของรฐั บาล) กล่มุ ภารกจิ การจดั การศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของ กลุ่มเปา้ หมายเพอ่ื ทราบความตอ้ งการท่แี ท้จริงของประชาชนในตำบล และมขี อ้ มูลในการจดั กจิ กรรมทตี่ รงกับความตอ้ งการ ของชมุ ชน การประสานงานผนู้ ำชมุ ชน / ประชาชน /วทิ ยากร 1. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หัวหน้า/ผู้นำชมุ ชนและประชาชนในตำบลเพอื่ ร่วมกนั ปรกึ ษาหารอื ใน กลุ่มเก่ยี วกับการดำเนนิ การจดั โครงการใหต้ รงกับความตอ้ งการของชุมชน 2. ครู กศน.ตำบล ไดป้ ระสานงานกบั หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งเพ่อื จัดหาวทิ ยากร การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนินการประชาสมั พนั ธ์การจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถีชีวิตท่ยี ั่งยนื เพอ่ื ให้ประชาชนทราบขอ้ มลู การจดั กิจกรรมดงั กล่าวผ่านผูน้ ำชมุ ชน ประชมุ เตรยี มการ / วางแผน 1) ประชมุ ปรึกษาหารือผู้ท่ีเกี่ยวข้อง 2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานให้ฝ่ายต่างๆ เตรียมดำเนินการ 3) มอบหมายหน้าที่ แต่งตั้งคณะทำงาน
13 การรบั สมคั รผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ไดร้ บั สมัครผู้เข้ารว่ มโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ีชวี ิตที่ ยงั่ ยนื โดยให้ประชาชนท่ัวไปทอี่ าศัยอยู่ในพืน้ ที่ตำบลวดั หลวง ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลท่าข้าม และ ตำบลหนองเหียง เขา้ รว่ ม เป้าหมายจำนวน 20 คน การกำหนดสถานทแ่ี ละระยะเวลาดำเนนิ การ ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานที่ในการจดั อบรมคือ ณ ศนู ย์เรยี นรโู้ คกหนองนาโมเดล ม. 8 ต.หนองเหยี ง อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี ในวนั ท่ี 11 มนี าคม พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วนั เวลา 08.30-15.00 น. 2. ขน้ั ดำเนนิ งาน กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมายของโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถชี ีวติ ทย่ี งั่ ยืน ประชาชน 4 ตำบล ๆ ละ 5 คน ได้แก่ ตำบลวัดหลวง ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลหนองเหียง และ ตำบลท่าข้าม รวมทั้งสิน้ 20 คน สถานทด่ี ำเนนิ งาน ครู กศน.ตำบล 4 ตำบล จัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี ีวิตท่ี ย่ังยืน โดยจดั กจิ กรรมอบรมให้ความรู้ ในวนั ท่ี 11 มีนาคม 2564 เวลา 08.30-15.00 น. ณ ศูนยเ์ รียนรโู้ คกหนองนาโมเดล ม.8 ต.หนองเหยี ง อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี การขออนมุ ตั แิ ผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.ตำบล 4 ตำบล ไดด้ ำเนนิ การขออนุมัติแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถชี วี ติ ทยี่ งั่ ยนื ตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบุรี เพอื่ ให้ ต้นสงั กัดอนุมตั ิแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจดั ทำเครอ่ื งมอื การวดั ความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการตดิ ตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมินความพงึ พอใจ ขนั้ ดำเนนิ การ / ปฏบิ ตั ิ 1. เสนอโครงการเพื่อขอความเห็นชอบ/อนมุ ัตจิ ากตน้ สงั กัด 2. วางแผนการจัดกจิ กรรมในโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถีชีวติ ทีย่ ัง่ ยืน โดยกำหนดตารางกิจกรรมทกี่ ำหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ ก่ผรู้ ับผดิ ชอบฝา่ ยตา่ งๆ 4. แต่งต้ังคณะกรมการดำเนินงาน 5. ประชาสัมพันธ์โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ีชีวติ ท่ียั่งยนื 6. จดั กิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ชี ีวติ ที่ยั่งยนื ตามตารางกิจกรรม ทีก่ ำหนดการ 7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ชี วี ิตทีย่ ั่งยนื
14 3. การประเมนิ ผล วเิ คราะหข์ อ้ มลู 1. บันทึกผลการสังเกตจากผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 2. วเิ คราะห์ผลจากการประเมนิ ในแบบประเมินความพงึ พอใจ 3. รายงานผลการปฏิบัตงิ านรวบรวมสรปุ ผลการปฏิบัติงานของโครงการนำเสนอต่อผู้บริหารนำปัญหา ขอ้ บกพร่องไปแกไ้ ขคร้งั ตอ่ ไป คา่ สถิตทิ ใี่ ช้ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละในการประมวลผลข้อมูลสว่ นตัวและตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ตามแบบสอบถามคดิ เปน็ รายขอ้ โดยแปลความหมายคา่ สถติ ิร้อยละออกมาได้ดงั น้ี ค่าสถิติร้อยละ 90 ขึน้ ไป ดมี าก คา่ สถติ ิรอ้ ยละ 75 – 89.99 ดี คา่ สถติ ิร้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ ค่าสถิตริ ้อยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง คา่ สถิติรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรับปรุงเร่งดว่ น ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซ่ึงมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนักคะแนน และ นำมาเปรียบเทยี บ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพตามเกณฑ์การประเมนิ ดังน้ี เกณฑก์ ารประเมิน (X) ค่าน้ำหนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคุณภาพ คือ ดีมาก ค่าน้ำหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคุณภาพ คือ ดี ค่านำ้ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคณุ ภาพ คอื พอใช้ คา่ นำ้ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ต้องปรับปรงุ คา่ นำ้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคุณภาพ คือ ต้องปรบั ปรุงเรง่ ด่วน
15 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอนที่ 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ทยี่ งั่ ยนื การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ท่ยี ัง่ ยืน สรุปรายงานผลการจดั กจิ กรรมได้ดังนี้ ในการจดั กิจกรรมอบรมให้ความรูต้ ามโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ิตที่ ยง่ั ยนื เป็นการอบรมใหค้ วามรู้ โดยมี นางรัชนกี ร ด้วงเงนิ เป็นวทิ ยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เรือ่ ง ความรู้เก่ยี วกบั โคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลังจากเสร็จสิน้ กิจกรรมดังกลา่ วแล้ว ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและนำความร้ทู ไี่ ดร้ บั มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน ตอนท่ี 2 รายงานผลความพงึ พอใจของโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ิตทยี่ ง่ั ยนื การจดั กิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถชี วี ติ ที่ยง่ั ยนื ซึ่งสรุปรายงานผลจาก แบบสอบถามความคดิ เหน็ ขอ้ มูลที่ได้สามารถวเิ คราะหแ์ ละแสดงคา่ สถติ ิ ดังนี้ ตารางที่ 1 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ รายละเอยี ด เพศ หญงิ ชาย 19 95.00 จำนวน (คน) 1 ร้อยละ 5.00 จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชวี ิตที่ยั่งยืน เป็นชาย 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.00 และเป็นหญิง จำนวน 19 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.00 ตารางท่ี 2 ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป)ี อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ข้ึนไป 6 9 จำนวน (คน) - - 5 30.00 45.00 ร้อยละ - - 25.00 จากตารางท่ี 2 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวิตทยี่ ง่ั ยนื มีอายุ 40-49 ปี จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00 มอี ายุ 50 – 59 ปี จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30.00 และมีอายุ 60 ปขี น้ึ ไป จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 45.00
ตารางท่ี 3 ผู้เข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 16 รายละเอยี ด เกษตรกรรม รบั จ้าง อาชพี ค้าขาย อน่ื ๆ รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกิจ - 4 - 20.00 จำนวน (คน) 15 - 1 รอ้ ยละ 75.00 - 5.00 จากตารางท่ี 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามที่เข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี ีวิตทีย่ ั่งยืน มีอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75.00 มีอาชพี รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.00 และอาชพี อ่นื ๆ จำนวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.00 ตารางที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา รายละเอยี ด ระดบั การศกึ ษา การศึกษา ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีข้นึ ไป 2 จำนวน (คน) 1 5 12 10.00 รอ้ ยละ 5.00 25.00 60.00 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนร้หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ีชีวติ ท่ยี งั่ ยนื มีระดับประถม จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.00 มรี ะดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 25.00 มรี ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 12 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.00 และมีระดับ ปวส./ป.ตรี ขน้ึ ไป จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.00 ตารางที่ 5 แสดงค่ารอ้ ยละเฉลีย่ ความสำเร็จของตัวช้วี ดั ผลผลิต ประชาชนทั่วไป เข้ารว่ มโครงการจำนวน 20 คน เปา้ หมาย(คน) ผลสำเรจ็ ของโครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ(คน) 100 20 จากตารางท่ี 5 พบว่าผลสำเร็จของตัวชีว้ ัดผลผลิตกิจกรรมการเรยี นรูห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี ีวิตทยี่ ัง่ ยืน มีผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 20 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ซึ่งบรรลุเปา้ หมายด้านตัวช้ีวดั ผลผลิต
17 ตารางท่ี 6 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจตอ่ โครงการอบรมเชิง ปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวิตทีย่ ั่งยนื ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความพงึ พอใจ ด้านบริหารจดั การ () () ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.55 0.50 ดมี าก ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ 4.60 0.51 ดีมาก รวมทกุ ดา้ น 4.66 0.48 ดมี าก 4.60 0.50 ดีมาก จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่มี ีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ชี วี ิตทยี่ งั่ ยืน ในภาพรวมอยู่ในระดบั ดีมาก (=4.60) เม่ือพิจารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ด้านประโยชน์ที่ไดร้ ับ อยู่ในระดับดมี าก มคี า่ เฉลย่ี (= 4.66) รองลงมาคอื ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มีอยู่ในระดบั ดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.60) และด้านบริหารจดั การ อย่ใู นระดับดีมาก มีค่าเฉลีย่ (= 4.55) ตามลำดับ โดยมสี ว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.48 - 0.51 แสดงวา่ ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจสอดคล้องกัน ตารางที่ 7 ค่าเฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง ปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถชี ีวิตทีย่ ง่ั ยืน ดา้ นบริหารจดั การ รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบน ระดับ () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 1. อาคารสถานท่ี 4.47 0.50 ดี 2. ส่ิงอำนวยความสะดวก 4.63 0.48 ดีมาก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4.63 0.48 ดมี าก 4. เอกสารการอบรม 4.58 0.49 ดีมาก 5. วิทยากรผูใ้ ห้การอบรม 4.42 0.49 ดี รวม 4.55 0.50 ดีมาก จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถีชีวิตที่ยง่ั ยืน ดา้ นบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ยี (= 4.55) เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ สิ่งอำนวยความสะดวก และ กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มีค่าเฉล่ีย (= 4.63) รองลงมา คือ เอกสารการอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.58) อาคารสถานที่ มีค่าเฉลี่ย (= 4.45) และ วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.42) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.48 - 0.50 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความ คิดเห็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน
18 ตารางที่ 8 คา่ เฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมท่ีมคี วามพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถชี ีวิตทยี่ ่ังยนื ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ รายการ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพึงพอใจ 6. การจดั กจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติ 4.79 การโคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ีชีวติ ทย่ี ่ังยืน 0.41 ดีมาก 7. การใหค้ วามรู้เร่ืองการเรยี นรู้โคก หนอง นา โมเดล 8. การตอบขอ้ ซักถามของวิทยากร 4.63 0.48 ดมี าก 9. การแลกเปล่ยี นเรียนร้ขู องผเู้ ข้ารบั การอบรม 4.32 0.57 ดี 10. การสรปุ องคค์ วามรู้ร่วมกนั 4.63 0.48 11. การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม 4.63 0.48 ดีมาก 4.58 0.49 ดีมาก รวม 4.60 0.51 ดีมาก ดีมาก จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวิตที่ยั่งยืน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.60) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวิตท่ีย่ังยืน มีค่าเฉลี่ย (= 4.79) รองลงมาคือการให้ความรู้เรื่องการเรียนรู้โคก หนอง นา โมเดล การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับ การอบรม และ การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.63 ) การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.58 ) และ . การตอบข้อซักถามของวิทยากร มคี ่าเฉลยี่ (=4.32) ตามลำดับ โดยมสี ่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ ระหว่าง 0.41 - 0.57 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคิดเหน็ สอดคลอ้ งกัน ตารางที่ 9 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีมีความพงึ พอใจตอ่ โครงการอบรม เชงิ ปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ีชวี ิตท่ียั่งยืน ด้านประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั รายการ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบน ระดบั ความ () มาตรฐาน () พึงพอใจ 12. ไดเ้ รยี นรู้และฝึกตนเอง เกย่ี วกับโคก หนอง นา 4.68 โมเดล สรา้ งวถิ ีชีวิตท่ีย่ังยืน 0.46 ดีมาก 13. นำความรู้ทีไ่ ดร้ บั มาปรับใช้ในชีวิตประจำวนั 4.63 0.48 ดมี าก รวม 4.66 0.48 ดมี าก
19 จากตารางที่ 9 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถีชีวิตท่ียั่งยืน ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.66) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ได้เรียนรู้และฝึกตนเอง เกี่ยวกับโคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวิตที่ย่ังยืน มีค่าเฉลี่ย (= 4.68) รองลงมา นำ ความรู้ท่ีได้รับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวัน มีค่าเฉลย่ี (= 4.3) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหวา่ ง 0.46 - 0.48 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกนั สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.00 มีคา่ นำ้ หนกั คะแนน 4.60 ถอื วา่ ผรู้ บั บรกิ าร มคี วามพงึ พอใจทางดา้ นต่างๆ อยใู่ นระดบั ดมี าก โดยเรยี งลำดบั ดงั นี้ อนั ดบั แรก ดา้ นดา้ นประโยชน์ที่ไดร้ ับ คดิ เปน็ ร้อยละ 93.20 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.66 อยใู่ นระดบั คุณภาพดมี าก อนั ดบั สอง ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.00 มคี า่ น้ำหนักคะแนน 4.60 อยู่ในระดบั คุณภาพดมี าก อนั ดบั สาม ด้านบริหารจดั การ คิดเป็นร้อยละ 91.00 มีค่าน้ำหนกั คะแนน 4.55 อยู่ในระดับคุณภาพดี
บทท่ี 5 20 อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ีชีวติ ทยี่ ัง่ ยืน ได้ผลสรปุ ดงั นี้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้อบรมมคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั โคก หนอง นา โมเดล ที่สร้างวถิ ีชวี ติ ทยี่ ่ังยนื 2. เพือ่ ให้ผอู้ บรมสามารถนำความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ - ประชาชน 4 ตำบล ๆ ละ 5 คน ไดแ้ ก่ ตำบลวัดหลวง ตำบลวดั โบสถ์ ตำบลหนองเหียง และ ตำบลทา่ ข้าม รวมทงั้ สิ้น 20 คน เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ - ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับโคก หนอง นา โมเดล ที่สร้างวิถีชีวิตทยี่ ง่ั ยนื และ นำความรทู้ ่ี ไดร้ บั มาปรับใช้ในชีวิตประจำวนั เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในคร้ังน้ี คอื แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ทรี่ ับผิดชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถามความพึงพอใจ ให้กบั ผรู้ ่วมกิจกรรม โดยให้ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมต่างๆ ตามโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารโคก หนอง นา โมเดล ทส่ี รา้ งวิถีชวี ติ ทีย่ งั่ ยืน สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การจัดกิจกรรมตาม โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ีชวี ิตที่ยั่งยืน โดยดำเนนิ การเสรจ็ สิ้นลงแลว้ และสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานได้ดังน้ี 1. ผรู้ ว่ มกิจกรรมจำนวน 20 คน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจการเก่ียวกบั โคก หนอง นา โมเดล ทส่ี รา้ งวถิ ชี วี ิตที่ย่ังยืน และ นำ ความรู้ทีไ่ ดร้ ับมาปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั 2. ผรู้ ่วมกิจกรรมร้อยละ 93.20 นำความรู้ท่ไี ด้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวนั 3. จากการดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการดังกลา่ ว สรปุ โดยภาพรวมพบว่า ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจ ต่อโครงการ อยู่ในระดบั “ดมี าก ” และบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายตวั ช้ีวัดผลลัพธท์ ่ตี ั้งไว้ โดยมีค่าเฉลีย่ รอ้ ยละภาพรวม ของกจิ กรรม 92.00 และค่าการบรรลุเปา้ หมายค่าเฉล่ยี 4.60 ขอ้ เสนอแนะ - อยากใหม้ กี ารจัดกจิ กรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตตอ่ ไป
บรรณานกุ รม ทมี่ า กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรีสะอาด และ บุญส่ง นิลแกว้ (2535 หน้า 22-25) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร . (2543). http://singkle.blogspot.com/p/blog-page_6535.html
ภาคผนวก
โครงการฯ
หนังสอื เชญิ วทิ ยากร
รายงานผลการจดั กจิ กรรม โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ทย่ี งั่ ยนื จำนวน 1วนั ในวนั ท่ี 11 มนี าคม 2564 ณ ศนู ยเ์ รยี นรโู้ คกหนองนาโมเดล ม. 8 ต.หนองเหยี ง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วทิ ยากรคอื นางรชั นกี ร ดว้ งเงนิ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมจำนวน 20 คน
แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สร้างวถิ ีชวี ติ ทยี่ ง่ั ยนื ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี คำช้ีแจง 1. แบบสอบถามฉบบั นม้ี ีวตั ถุประสงค์ เพ่อื ใช้ในการสอบถามความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวิถชี วี ติ ท่ีย่ังยนื 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ถามข้อมูลเกี่ยวกบั ผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ข้อ ใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งให้ตรงกับสภาพจริง ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ โคก หนอง นา โมเดล สร้างวิถีชีวิตที่ยง่ั ยนื จำนวน 13 ขอ้ ซึ่งมรี ะดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้ 5 มากทส่ี ดุ หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ 4 มาก หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 ปานกลางหมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง 2 น้อย หมายถงึ มีความพึงพอใจนอ้ ย 1 น้อยทสี่ ุด หมายถึง มีความพงึ พอใจน้อยที่สุด ตอนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเรยี นรู้มุ่งสู่ความพอเพียง ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม หญงิ 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปีข้ึนไป อายุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี การศกึ ษา ต่ำกวา่ ป.4 ป.4 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ประกอบอาชพี อนปุ รญิ ญา ปริญญาตรี สงู กว่าปรญิ ญาตรี รับจา้ ง ค้าขาย เกษตรกร ลูกจา้ ง/ข้าราชการหน่วยงานภาครัฐหรอื เอกชน อนื่ ๆ ………………………………….
ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจเกยี่ วกบั โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ทยี่ งั่ ยนื ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ความคิดเหน็ 1 5 432 ดา้ นบรหิ ารจัดการ 1. อาคารและสถานท่ี 2. ส่ิงอำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วทิ ยากรผใู้ หก้ ารอบรม ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. การจัดกจิ กรรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โคก หนอง นา โมเดล สรา้ งวถิ ชี วี ติ ทย่ี ่งั ยนื 7. การใหค้ วามรู้เรอื่ งปฏิบตั ิการเรยี นร้มู ่งุ สู่ความพอเพียง 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของผ้เู ขา้ รบั การอบรม 10. การสรุปองค์ความรูร้ ่วมกนั 11. การวัดผล ประเมินผล การฝกึ อบรม ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 12 ไดเ้ รียนรู้และฝกึ ตนเอง เกย่ี วกบั โคก หนอง นา โมเดล สรา้ ง วถิ ีชวี ติ ทย่ี ง่ั ยนื 13 นำความรทู้ ่ีไดร้ ับมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตอนท่ี 3 ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ข้อคดิ เหน็ .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคุณทีใ่ ห้ความร่วมมอื กศน. อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี
คณะผจู้ ดั ทำ ทปี่ รกึ ษา หมน่ื สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนสั นคิ ม การงานดี ครู 1. นางณชั ธกญั ทำทอง ครผู ชู้ ว่ ย 2. นางสาวมุทิกา คลงั สนิ ธ์ ครู อาสาสมัคร กศน. 3. นางพิรุฬหพ์ ร 4. นางสาวเฟื่องฟา้ ครู กศน.ตำบลวดั หลวง ครู กศน.ตำบลวัดโบสถ์ คณะทำงาน ใจพรหม ครู กศน.ตำบลหนองเหียง หนรู อง ครู กศน.ตำบลท่าข้าม 1. นางสาวชลิตดา เลอื ดสงคราม 2. นางสาววิภา เนาวอ์ ดุ ม ครู กศน.ตำบลวัดหลวง 3. นางสาวณัฐวรรณ 4. นางสาวณฏั ฐา บรรณาธกิ าร นางสาวชลิตดา ใจพรหม
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: