สารอาหารและระบบยอยอาหาร
คํานําหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) นี้ จัดทําขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้จัดทําได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ เรื่อง สารอารหารเละระบบการย่อยอาหาร เพื่อนักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น นําเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ มีภาพประกอบให้นักเรียนได้เห็นจริง ประกอบการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ผู้จัดทําหวังว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-Book) ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชอจิต จันทาผูจัดทําก
สารบัญสารอาหาร 1อาหาร 4คารโบไฮเดรต 7โปรตีน 6ระบบยอยอาหาร 12ไขมัน 10วิตามิน 9เกลือแร 8หลอดอาหาร 14ปาก13ตับ 16กระเพาะอาหาร 15ตับออน 16ถุงน้ําดี 16ลําไสเล็ก 17ลําไสใหญ 18ทวารหนัก 19ขสารบัญ ขคํานํา กวิธีปองกันและบํารุงรักษาอวัยวะในระบบยอยอาหาร20
1. สารอาหารสารอาหาร หมายถึง สารที่เปนสวนประกอบอยูในอาหาร ที่รับประทานเขาไปในรางกายแลวรางกายนําไปใชประโยชนเพื่อการดํารงชีวิตของรางกาย เชน ใหพลังงานในการดํารงชีวิต เปนสวนประกอบของเนื้อเยื่อ ในสวนตางๆ ของรางกาย1
ประโยชนของสารอาหาร สารเคมีที่เปนสวนประกอบอยูในอาหารมีประโยชน ดังนี้1.ใหพลังงานแกรางกาย ทําใหทํางานไดและใหความอบอุนแกรางกาย2.ปองกันและตานทานโรค3.สรางและซอมแซมเนื้อเยื่อสวนที่สึกหรอ และทําใหรางกายเจริญเติบโต4.ชวยใหระบบตางๆ ในรางกายทํางานเปนปกติ2
การแบงสารอาหารโดยใชเกณฑการใหพลังงานของสารอาหาร จะแบงไดเปน 2 กลุมใหญ คือ•กลุมสารอาหารที่ใหพลังงาน ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน•กลุมสารอาหารที่ไมใหพลังงาน ไดแก เกลือแร และ วิตามิน3
2. อาหารอาหาร หมายถึง สิ่งที่เรารับประทานเขาไปแลวทําใหเกิดประโยชนตอรางกายในดานตางๆ ไมทําใหเกิดโทษ เชน เนื้อสัตว ขาว แปง ผัก ผลไม นม ฯลฯ ยกเวนยารักษาโรค4
การจําแนกสารอาหารตามหลักโภชนาการ สามารถแบงไดเปน 5 หมู คือ1.โปรตีน2. คารโบไฮเดรต3.เกลือแร4.วิตามิน5.ไขมัน5
2.1โปรตีนโปรตีน เปนธาตุอาหารที่สําคัญที่สุด ใหพลังงานซึ่งจําเปนตอการทํางาน ชวยซอมแซมสวนที่สึกหรอ ใหรางกายเจริญเติบโต เปนอันดับสองรองจากน้ําแหลงอาหารที่ใหโปรตีน ไดแก เนื้อสัตว meat) นม milk) ไข egg) ถั่ว ((((legume) เชน ถั่วเหลือง เมล็ดธัญพืช cereal grain) นอกจากนี้ จุลินทรีย เชน (ยีสต สาหราย เห็ดหนอน แมลงที่กินไดก็เปนแหลงของโปรตีนที่ดี6
2.2คารโบไฮเดรตคารโบไฮเดรต สารอาหารที่เปนแหลงพลังงานที่สําคัญ ขาว แปง น้ําตาล เผือก มัน คารโบไฮเดรต carbohydrate) คารโบไฮเดรต 1 กรัม (ใหพลังงานเทากับ 4 แคลอรี (calorie)ประโยชนของคารโบไฮเดรต :ใหพลังงานและความรอน ( 1 กรัม ใหพลังงาน 4 แคลอรี่ ) ชวยใหรางกายนําไปใชประโยชนมากที่สุด สวนที่เหลือใชจะเปลี่ยนเปนไขมันสะสมในรางกายได7
2.3เกลือแรปนสารอาหารที่รางกายตองการและขาดไมไดเพราะเปนสวนประกอบของอวัยวะและกลามเนื้อ เชน กระดูก ฟน เลือด บางชนิดเปนสวนของการเจริญเติบโตในรางกาย เชน ฮอรโมน เฮโมโกลบิน เอนไซม นอกจากนี้แรธาตุยังชวยในการควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ใหทําหนาที่ปกติ เชน การทํางานของกลามเนื้อและระบบประสาท การแข็งตัวของเลือด การควบคุมความสมดุลของน้ําในการไหลเวียนของ ของเหลวในรางกายแหลงอาหารที่ใหเกลือแรหรือแรธาตุ ไดแก พืช ผัก (Vegetables) ชนิดตางๆ8
2.4วิตามินวิตามิน สารอาหารที่รางกายของเราตองการในปริมาณนอย แตก็ไมสามารถขาดได ถาขาดจะทําใหระบบรางกายของเราผิดปกติ หรือเกิดโรคตางๆได วิตามินแบงเปน 2 จําพวก ไดแก วิตามินที่ละลายในน้ํา ไดแก วิตามินซี และวิตามินบีรวม–วิตามินที่ละลายในไขมัน ไดแก วิตามิน เอ ดี อี เคแหลงอาหารที่ใหวิตามิน ไดแก ผลไม Fruit) ชนิดตางๆ(ประโยชนของวิตามิน : บํารุงสุขภาพเหงือก และฟน สุขภาพปาก ผิวหนังใหสดชื่น ชวยใหระบบการยอยและการขับถายเปนปกติ9
2.5 ไขมันไขมันใหพลังงาน สวนประกอบหลักคือ ไตรกลีเซอไรด triglyceride) (ไขมัน 1 กรัมใหพลังงาน แคลอรี calorie) ขณะที่โปรตีน และคารโบไฮเดรท ให9(พลังงาน แคลอรี4แหลงอาหารที่ใหไขมัน : ไดจากพืชผัก Vegetables) และเนื้อสัตว ((Meat)ที่ประกอบไปดวยไขมันอิ่มตัวและไขมันไมอิ่มตัวในสัดสวนที่ตางกัน แตมีความจําเปนตอรางกาย ดังนั้นจึงแนะนําวาการจํากัดไขมันทั้ง ชนิดรวมกัน ในการบริโภค2อาหารไมใหเกิน % ของพลังงานที่รางกายไดรับทั้งหมดตอวัน3010
3. ระบบยอยอาหารระบบยอยอาหาร Digestive system) (การยอยอาหาร Digestion) หมายถึงการแปร(สภาพของสารอาหารที่มีโมเลกุลใหญและละลายน้ําไมได ใหเปนสารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้ํา และดูดซึมเขาสูกระแสเลือดนําไปใชประโยชนได โดยอาศัยกระบวนการทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี11
อวัยวะที่เปนทางเดินอาหารทําหนาที่ในการรับและสงอาหารโดยเริ่มจากปาก > หลอดอาหาร > กระเพาะอาหาร --->ลําไสเล็ก > ลําไสใหญ > ทวารหนัก--12
อวัยวะในระบบทางเดินอาหาร1. ชองปาก Mouth cavity)(กระบวนการยอยเริ่มตนที่ชองปาก เมื่อคุณเริ่มเคี้ยวอาหาร ฟนทําหนาที่บดอาหารใหเปนชิ้นเล็ก ตอมน้ําลายจะผลิตน้ําลายออกมาคลุกเคลากับอาหาร เพื่อใหงายตอการกลืนและเคลื่อนผานไปยังสวนตอไป นอกจากนี้ ในน้ําลายยังมีเอนไซมอะไมเลส ทําหนาที่ยอยอาหารจําพวกแปงดวย13
2.หลอดอาหาร (Esophagus)หลังจากที่เรากลืนอาหารผานลําคอลงไป อาหารจะเคลื่อนผานหลอดอาหารดวยวิธีที่เรียกวา Peritalsisซึ่งเปนการเคลื่อนไหวของหลอดอาหารใหกอนอาหารที่กลืนลงไปตกลงสูกระเพาะอาหาหาร14
3. กระเพาะอาหาร (Stomach)เมื่ออาหารเคลื่อนมายังกระเพาะอาหาร กอนอาหารจะกระตุนใหกระเพาะอาหารเกิดการเคลื่อนไหว หรือเกิดการบีบตัวและคลายตัว เพื่อเปนการคลุกเคลาอาหารใหทําผสมกับน้ํายอยที่หลั่งออกมจากตอมไรทอ ในกระเพาะอาหารจะมีสภาวะเปนกรดประมาณ pH 2 3 ซึ่งเอื้อตอการ–ทํางานของเอนไซมหรือน้ํายอย โดยอาหารจําพวกโปรตีนจะถูกยอยที่กระเพาะอาหารมากที่สุดดวยเอนไซมมเพปซิน Pepsin)(15
4. ตับออน Pancreas)(ตับออนทําหนาที่ในการผลิตน้ํายอยซึ่งเปนเอนไซมหลายชนิด และมีบทบาทในการยอยอาหารจําพวกโปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมัน น้ํายอยที่ผลิตโดยดับออนจะลําเลียงผานทอมาสูทางเดินอาหารที่ลําไสเล็กสวนตน5. ตับ (Liver)บทบาทของตับในระบบทางเดินอาหารคือทําหนาที่ผลิตน้ําดี เพื่อชวยการยอยไขมันและวิตามินบางชนิด โดยน้ําดีที่สรางจากตับจะเก็บไวที่ถุงน้ําดีและลําเลียงเขาสูทางเดินอาหารบริเวณลําไสเล็กสวนตน6. ถุงน้ําดี (Gallbladder)ทําหนาที่เก็บน้ําดี Bile) ที่ผลิตมาจากตับ และปลอยน้ําดีเขาสู(ทางเดินอาหารผานทอน้ําดี เมื่อมีอาหารเคลื่อนผานมายังลําไสเล็กสวนตน16
7. ลําไสเล็ก Small intestine)(ลําไสเล็กทําหนาที่ผลิตน้ํายอย, คลุกเคลาอาหารที่ใหเขากับน้ํายอยจากตับออน, และดูดซึมสารอาหารที่ยอยแลว สารอาหารทั้งโปรตีนน คารโบไฮเดรต และไขมัน จะถูกยอยอยางสมบูรณภายในลําไสเล็ก แบคทีเรียบางชนิดที่อยูในลําไสเล็กมีบทบาทในการผลิตเอนไซมเพื่อชวยยอยคารโบไฮเดรต17
8. ลําไสใหญ Large intestine)(ภายในลําไสใหญ น้ําและเกลือแร รวมถึงวิตามิน จะถูกดูดซึมเขาสูระบบไหลเวียนโลหิตผานทางผนังลําไส และไมพบกระบวนการยอยอาหารเกิดขึ้นในลําไสใหญ กากอาหารตางๆ ที่เหลือจากการยอยจะถูกขับออกจากรางกายทางทวารหนัก Anus) แบคทีเรียเจาถิ่นที่อาศัยอยู(ในลําไสใหญมีบทบาทชวยปองกันเชื้อแปลกปลอมที่ปะปนมากับอาหาร รวมถึงชวยรักษาสมดุลภายในลําไสใหอยูในสภาวะปกติ18
9.ทวารหนักทวารหนัก Anus) ยาวประมาณ (2.5-3.5 Cm. เปนสวนสุดทายของลําไสใหญ ภายในประกอบดวยกลามเนื้อหูรูด 2 แหง คือ หูรูดภายใน Internal Sphincter) (และหูรูดภายนอก External Sphincter)(19
วิธีปองกันและบํารุงรักษาอวัยวะในระบบยอยอาหาร1.ทําความสะอาดปากและฟนหลังรับประทานอาหาร2.รับประทานอาหารใหตรงเวลา3.รับประทานอาหารที่สะอาด สุกใหมๆ มีประโยชน รสไมจัด รับประทานอาหารจําพวกผักผลไม4.เคี้ยวอาหารใหละเอียดกอนกลืน ไมกัดอาหารที่แข็งเกินไป5.ไมออกกําลังกายหลังรับประทานอาหารเสร็จใหมๆ6.ขับถายทุกวันและฝกเปนประจํา7.ทําจิตใจใหราเริง ไมเครงเครียดจนเกินไป20
ผูจัดทํานางสาวชอจิต จันทากลุมสาระวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโรงเรียวัดตําหนักใต วิลาศโอสถานนทนุเคราะห()สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1สํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: