Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 นันทนาการกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต

หน่วยที่ 2 นันทนาการกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Published by Pitawan1208, 2021-06-30 15:39:12

Description: หน่วยที่ 2 วิชานันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

Search

Read the Text Version

วิชานันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต รหัสวิชา 30000-1610 หนวยที่ 2 นันทนาการกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ครูตะวัน ชัยรัต วิทยาลัยสารพัดชางเชียงใหม

หนว ยท่ี 2 นันทนาการและการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กจิ กรรมนนั ทนาการเปนกจิ กรรมหนึง่ ท่ีสามารถพฒั นามนษุ ยท ้ังทางดานรา งกายและ จิตใจ ตัง้ แตเปนเยาวชน จนเจรญิ เติบโตเปน ประชากรทด่ี ขี องประเทศชาติ การเขา รวม กิจกรรมนนั ทนาการจะทาํ ใหพฒั นาคณุ ภาพ ชีวิตของตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม

ความหมายของคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวติ QUALITY OF LIFE คือ การดาํ รงชีวติ ของมนษุ ยในระดบั ท่เี หมาะสม ตามความจาํ เปน พืน้ ฐานในสงั คมหนงึ่ ในชวง เวลาหนง่ึ ๆ องคป ระกอบของความเปน พ้ืนฐาน ทเ่ี หมาะสม มอี าหารท่เี พยี งพอ มีเครอื่ งนงุ หม มที ีอ่ ยอู าศัยทเ่ี หมาะสม มสี ุขภาพรา งกายและ สขุ ภาพจติ ที่ดี ไดร บั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มีความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยสิน รวมทง้ั ไดร ับการบรกิ ารพนื้ ฐานที่จาํ เปน ท้ังทาง เศรษฐกิจและสังคม เพื่อประกอบการดาํ รงชพี อยางยุตธิ รรม

UNESCO ไดใ หค วามหมายของ “คุณภาพชวี ติ ” เปนความรสู ึกของการอยู อยางพอใจตอองคป ระกอบตางๆ ของชีวิตท่ีมี สวนสาํ คัญมากทีส่ ดุ ของบุคคล กลา วโดยสรปุ “คณุ ภาพชีวิต” หมายถึง การดํารงชวี ติ ในสภาพแวดลอมทดี่ ี มคี วามสุข มคี วามสมบรู ณท ง้ั รางกายและจิตใจ สามารถ ปรับตวั ใหเ ขา กบั สภาพแวดลอมและสงั คมท่ี ตนอยูไดอ ยา งดี ขณะเดยี วกนั ก็สามารถเผชิญ ปญ หาตางๆ ไดอ ยา งเหมาะสม รวมท้งั สามารถ ใชศักยภาพสวนบุคคลสรางสรรคพ ัฒนาตนเอง และสงั คมใหอ ยูร ว มกันไดอยา งสันตสิ ุข

กจิ กรรมนนั ทนาการถอื เปนสว นสําคญั ท่ีสามารถพัฒนาคุณภาพชวี ิตได ทั้งในดาน สขุ ภาพ บุคลกิ ภาพ และลักษณะนิสยั ตลอดจนชว ยพฒั นาเยาวชนและสงั คมได ดังน้ี 1. สามารถแกไขปญ หาไดอยา งมี ประสทิ ธิภาพ 2. มีแรงจูงใจในการทําางานใหสาํ เร็จ 3. มีคานยิ มทดี่ ี 4. มเี หตุผลเชงิ จริยธรรม 5. มคี วามเขาใจในพฤติกรรมของมนุษย 6. มีสุขภาพและสมรรถภาพดี 7. มคี วามคาดหวงั ในอนาคต

พฤติกรรมท่ีเกิดจากกจิ กรรมนนั ทนาการ นันทนาการเปนกระบวนการท่ีจะใช กจิ กรรมในเวลาวางชวยพฒั นาคุณภาพชวี ิต ของบุคคลในสังคม ซ่ึงถือเปน ปจจัยที่สาํ คญั และจาํ เปนอยางหนงึ่ ของชวี ติ ซ่ึงโดยปกติ บุคคลจะใชเ วลาในการปฏบิ ตั หิ นา ทใี่ นการ ศกึ ษาเลาเรยี นหรือทาํ งาน 8-10 ชว่ั โมง ตอจากนั้นจะใชเวลาปฏิบตั ิภารกิจในชวี ิต ประจําวนั เชน รบั ประทานอาหาร พกั ผอ น และเวลาทเี่ หลือจงึ เปนชว งเวลาวาง ซึ่งโดย สว นใหญแ ตละบคุ คลจะมีเวลาวา ง 2-4 ช่วั โมง ตอ วนั

กจิ กรรมนนั ทนาการจงึ มีบทบาทสําคญั ทีจ่ ะชว ยพฒั นาคณุ ภาพชีวติ พัฒนาอารมณ และจติ ใจ หากกลาวโดยสรุปแลว การเขารว ม กจิ กรรมนนั ทนาการจะทาํ ใหเ กดิ พฤติกรรม ดังน้ี 1. พฤติกรรมพื้นฐานทางสงั คม (SOCIAL BEHAVIORS) เปน การสรา ง มนุษยสมั พันธข องชุมชน เชน กิจกรรมเตนราํ งานเลี้ยงสงั สรรค 2. พฤตกิ รรมเกีย่ วขอ งผกู พัน (ASSOCIATIVE BEHAVIORS) เปน การ สง เสริมผูท่มี สี ว นรว มหรอื สมาชกิ กลุมใหมี ความผูกพัน สนใจรว มงานกนั ในชมุ ชน เชน ชมรมทองเท่ียวไทย กลุม อนรุ ักษโ บราณวัตถุ

3. พฤติกรรมแขงขนั (COMPETITIVE BEHAVIORS) เปนการชว ย สง เสรมิ สภาพการณก ารแขงขัน การประกวด หรอื ทดสอบความสามารถ กิจกรรมสราง แรงจงู ใจใฝส ัมฤทธข์ิ องมนษุ ย เชน เกม กฬี า การประกวดความสามารถตา งๆ 4. พฤติกรรมเสี่ยงอันตราย ทักษะความสามารถ (RISK EHAVIORS) โดยธรรมชาตมิ นุษยต องการกจิ กรรมทเ่ี สย่ี ง อนั ตราย และทา ทายความสามารถ หรอื พิสูจนความสามารถเพือ่ ความเปนเลศิ เชน กระโดดรม ปนเขา ลอ งแกง แขงเรอื

5. พฤติกรรมบกุ เบิกคน หา (EXPLORATORY BEHAVIORS) เปนกจิ กรรมท่ีสง เสรมิ การบกุ เบกิ คนหา ไดแ ก การทอ งเที่ยว การเดนิ ปา การตัง้ คายพกั แรม การไตเขา การผจญภยั ใตน ้ํา 6. พฤติกรรมทดแทน (สงเสรมิ ) (VICARIOUS BEHAVIORS) เปน กจิ กรรมท่ี ชวยเสริมสรางความรสู ึกและประสบการณ ทดแทนได เชน กจิ กรรมประเภทอา น พดู เขยี นในวรรณกรรม รายการโทรทัศน การจดั รายการวิทยุ นาฏศลิ ปแ ละศิลปกรรม

7. พฤติกรรมท่ีมสี ิ่งกระตุน ทาง ประสาทสมั ผสั (SENSORY STIMULATION) เปนกจิ กรรมทางสงั คมและนนั ทนาการพเิ ศษ ตา งๆ สว นใหญจ ะสง เสรมิ กิจกรรมสังสรรค กจิ กรรมทมี่ ีสิ่งกระตนุ ทางประสาทสัมผสั เชน ดนตรี เกม กฬี า 8. พฤตกิ รรมการแสดงออกทางรางกาย (PHYSICAL EXPRESSION) เปน กจิ กรรม ประเภทเกมกฬี า กจิ กรรมเขา จังหวะ แอโรบกิ การเตน ลลี าศ ระบํา ราํ ฟอ น



2. กิจกรรมนันทนาการกลางแจง หรือ กิจกรรมนอกเมือง เปนกจิ กรรมทีม่ ีความหลาก หลายซึ่งจะชว ยสง เสริมใหบ ุคคลมโี อกาสใกลช ดิ ธรรมชาติ สภาพแวดลอม สง เสริมใหเกดิ การ พฒั นาการเจริญเติบโตทางดา นรางกาย จติ ใจ อารมณ สงั คม และสตปิ ญ ญา แหลงนันทนาการกลางแจง เชน สนามกีฬา สระวา ยนํ้า คายลกู เสอื ฟารม เลีย้ งสัตว โบราณสถาน พพิ ธิ ภณั ฑ สวนสตั ว หรือ ศนู ยช มุ ชน

3. กิจกรรมนนั ทนาการการบรกิ ารอาสา สมัคร เปนกิจกรรมท่ีสง เสรมิ ในเร่อื งคุณธรรม จรยิ ธรรม การใหแ ละการรบั การรวมมือของ ชุมชน อาสาสมัครเปน การใหบ ริการโดย ปราศจากคา ตอบแทน เปน การเสริมสรางทักษะ และสรา งคณุ ภาพชวี ิต อกี ทง้ั ยงั เปน การพฒั นา ชมุ ชนและประเทศชาตโิ ดยอาศัยแรงงาน ความรวมมือของกลุมหนว ยงานเอกชน ชมุ ชน และองคก รธุรกจิ ท่ีจะตองจัดบริการชมุ ชน

รูปแบบกิจกรรมนันทนาการบริการ อาสาสมัคร เชน 1. การพฒั นาชุมชน วดั โรงเรียน โบราณ สถาน โบราณวัตถุ 2. กิจกรรมลกู เสอื 3. กีฬาทจ่ี ดั โดยสโมสร สมาคมกฬี า 4. กจิ กรรมศลิ ปะชุมชน ศิลปหตั ถกรรม พน้ื บาน 5. ศนู ยเ ยาวชนสง เสริมพฒั นาเยาวชน การบรกิ ารอาสาสมคั รชมุ ชน 6. สมาคมและมลู นธิ ิทเ่ี ปนองคกรเอกชน อาสาสมคั ร เชน สมาคม Y.M.C.A.

หลักการเลือกเขา รว มกิจกรรมนนั ทนาการ โดยมหี ลกั การในการเลือกเขา รว ม กจิ กรรมดังนี้ 1. ความชน่ื ชอบและความสนใจ ผทู จ่ี ะเขา รว มกิจกรรมนนั ทนาการควรเลอื ก เขารว มในกิจกรรมทต่ี นเองมคี วามชื่นชอบและ สนใจ จะทาํ ใหส ามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมไดอยาง ตอ เนื่อง มคี วามสุขเกดิ ความพงึ พอใจ ไมเ บื่อ หนา ยไดโ ดยงาย เชน หากช่นื ชอบและสนใจ ประวัติศาสตรก เ็ ขา รวมในกจิ กรรมเท่ยี วชม แหลงโบราณสถาน เปนตน

2. ความรู ความสามารถ และความถนัด ผูทจี่ ะเขา รว มกิจกรรม นันทนาการควรเลอื กทต่ี นเองมคี วามรู ความสามารถ และมีความถนัดจะทําาให ประกอบกจิ กรรมน้ันๆ ไดอ ยา งเตม็ ที่และ ประสบผลสาํ เรจ็ เชน หากมคี วามสามารถทาง ดานศิลปะก็เขารวมกิจกรรมสอนศลิ ปะเด็กใน ชุมชน เปน ตน

3. สุขภาพ ผทู จี่ ะเขา รวมกจิ กรรม นันทนาการควรเลอื กเขา รว มในกจิ กรรมที่ เหมาะสมกบั สขุ ภาพของตนเอง จะชวยสง เสริม ใหมีสขุ ภาพดีทัง้ ทางรา งกายและจิตใจ แตใ น ทางตรงกนั ขาม หากเลือกเขารวมในกจิ กรรมที่ ไมเหมาะสมกบั สขุ ภาพของตนเองก็จะทาํ ให เสยี สุขภาพหรอื เกดิ อันตรายได เชน หากมโี รค ประจําตัวกค็ วรเลือกเขา รวมกจิ กรรม นันทนาการทไี่ มต อ งออกแรงมากจนเกนิ ไป ควรเปน กจิ กรรมเบาๆ ผอ นคลายความ ตึงเครยี ด เชน เขา รวมชมรมศลิ ปหัตถกรรม พื้นบา น เปนตน

4. เพศและวัย ผูที่จะเขารว มกจิ กรรม นนั ทนาการควรเลอื กเขา รวมในกจิ กรรมที่ เหมาะสมกับเพศและวัยของตนเอง เชน เพศชายเปน เพศท่ีมีความแข็งแรง ชอบกจิ กรรม ทีท่ าทายผาดโผน กค็ วรเลอื กกจิ กรรม เชน เดนิ ปา แขงขนั กีฬาฟุตบอลของชมุ ชน อาสาสมัครชวยกอสรา งศูนยเ ยาวชนในชุมชน เปน ตน สว นเพศหญงิ เปนเพศท่ีมีความ เรียบรอ ยนุม นวล ละเอยี ดออ น ก็ควรเลอื ก กจิ กรรม เชน ประดษิ ฐดอกไม อาสาสมคั รใน ศูนยดูแลเด็กเลก็ ในชมุ ชน เปนตน

5. สังคมและวัฒนธรรม ผูทจี่ ะเขา รว ม กิจกรรมนันทนาการควรเลือกเขา รวมใน กจิ กรรมท่เี หมาะสมและคํานงึ ถึงสภาพสังคม และวฒั นธรรมประเพณขี องทอ งถน่ิ หรอื ชมุ ชน นั้นๆ เชน เขา รวมอาสาสมคั รทําความสะอาด วัดก็ควรแตงกายใหเ รยี บรอย มดิ ชดิ ทะมัดทะแมง เปนตน

6. สภาพแวดลอ ม เวลา และสถานที่ ผทู ่จี ะเขา รว มกิจกรรมนันทนาการควรเลอื ก เขารวมในกจิ กรรมท่ีถกู จัดขน้ึ ในสภาพแวดลอม เวลา และสถานทท่ี เ่ี หมาะสม ไมเปนอุปสรรค ตอการปฏบิ ัติกจิ กรรมหรอื เปนอันตรายตอ สุขภาพ เชน แขงขนั กีฬากลางแจงในชว งเวลา ที่แดดไมร อนจัด ลอ งแพในฤดรู อนที่ไมม พี ายุฝน หรอื น้ําปา ไหลหลาก

7. คาใชจ า ย ผูทีจ่ ะเขา รวมกจิ กรรม นนั ทนาการควรเลือกเขารว มกิจกรรม นนั ทนาการที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกจิ หรอื ฐานะความเปนอยูของตนเองและครอบครัวเพอ่ื ความสะดวกในการเขา รวมและประโยชนท จี่ ะ ไดร บั เปนสําคัญ เนื่องจากบางกจิ กรรมมีคาใช จา ยสงู เชน การทัศนศกึ ษาตา งประเทศ การ เลนกฬี ากอลฟ การเลนไวโอลิน หรอื เปย โน โดยปรบั เปลีย่ นกิจกรรมนนั ทนาการใหมีความ สอดคลอ งกับสภาพเศรษฐกจิ ของตนเอง เชน การทองเท่ียวในประเทศ เปน ตน

8. ความพรอมของเครอื่ งมอื และ อปุ กรณ ผทู ีจ่ ะเขา รว มกจิ กรรมนันทนาการ ควรเลอื กเขา รวมกจิ กรรมนันทนาการโดย พจิ ารณาในเรือ่ งของเครื่องมือและอุปกรณที่ ตอ งใชเ พอื่ ประกอบกิจกรรมดว ย ทัง้ น้เี พ่ือความ สะดวกและปลอดภยั ในการปฏบิ ัติ เชน การลอ งแกง จาํ เปน ตอ งสวมใสเสือ้ ชชู ีพเพ่ือ ปอ งกันอบุ ตั ิเหตจุ ากการจมน้าํ ในกรณีท่เี กดิ เหตุ ฉุกเฉนิ การเลน เคร่ืองเลนท่ีตองคาดเข็มขดั นิรภยั เปน ตน

9. ประโยชนตอ ตนเองและสวนรวม ผูทจ่ี ะเขา รวมกิจกรรมนันทนาการควรเลอื ก เขารว มกิจกรรมนนั ทนาการที่มปี ระโยชนท ง้ั ตอ ตนเองและสังคมสว นรวมดว ย เชน กิจกรรม อาสาสมคั รชวยเหลอื พัฒนาชุมชน กิจกรรม บําเพ็ญประโยชนชว ยดแู ลคนชรา อาสาสมัคร ทําความสะอาดสถานที่สาธารณะในชมุ ชน อาสาสมคั รชว ยเกบ็ ขยะในงานกจิ กรรมทจ่ี ัดขึ้น ของชุมชน เปน ตน

10. ความปลอดภัยในดา นตางๆ ผทู จ่ี ะเขา รวมกิจกรรมนันทนาการควรเลอื ก เขารวมกจิ กรรมนันทนาการทม่ี คี วามปลอดภัย มีการปอ งกันอันตรายอยางรดั กุมและขณะ ปฏบิ ตั กิ ต็ อ งไมประมาทดว ย เชน ในกจิ กรรม การปนผาจาํ ลองจะตอ งไดรบั การฝก ฝนและ ดแู ลอยางใกลช ดิ จากผูฝกสอนและจะตองมีการ สวมใสเครือ่ งมือและอุปกรณป อ งกนั ทีไ่ ด มาตรฐานและปลอดภยั เปนตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook