Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5 สันติวัฒนธรรม

หน่วยที่ 5 สันติวัฒนธรรม

Published by Pitawan1208, 2021-08-03 15:33:23

Description: หน่วยที่ 5

Search

Read the Text Version

วิชาชีวิตกบั สั งคมไทย (30000-1501) หน่วยที 5 สั นติวัฒนธรรม ครูตะวัน ชัยรัต

หนวยท่ี 5 สนั ติวฒั นธรรม มนุษยท กุ คนปรารถนาการอยูรวมกนั ในสังคม อยางเปนสขุ การท่ีจะพฒั นาสงั คมไทยใหสงบสุข ตอ งเปน สังคม สันตวิ ฒั นธรรม (Culture of peace) ยอมรบั ความแตกตา งที่เกดิ ข้ึน สรางกฎกติกาของสงั คม มหี ลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ใชหลกั ฉนั ทาคติ โดยเปน สังคมสนั ติวัฒนธรรมใหเปนสงั คมเดยี วกนั มากทสี่ ดุ

ความหมายของสันติวัฒนธรรม สันติวัฒนธรรม คือ การดาํ รงชีวิตรวมกันดวย ความเมตตา กรุณา บนพื้นฐานของการดํารงชีวิต อยูรวมกันอยางสันติสุข โดยมีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงามในบรรทัดฐานของ สังคมมนุษย ปฏิบัติหนาที่ตอกันปราศจากความ รุนแรง เพื่อนาํ ไปสูชีวิตที่สงบสุข นําความเจริญ งอกงามทั้งภายในและภายนอกของความเปนมนุษย ในสังคม

ลักษณะที่สะทอนความเปนสันติวัฒนธรรม 1. สถานการณของคุณคา ทัศนคติ พฤติกรรม และวิถีชีวิตที่ไมใชความรุนแรง 2. ความใกลชิด กลมกลืนกันของอัตลักษณ ทัศนคติ คุณคาความเช่ือ แบบแผนการใชชีวิต และ ความตองการเฉพาะตัวของแตละบุคคล 3. การปองกันกับการจัดการความขัดแยง ดวยวิธีคล่ีคลายเหตุ ปจจัยของปญหาโดยไมเผชิญ หนา 4. เปนภูมิคุมกันไมใชความรุนแรง

ความสําคัญของสันติวัฒนธรรม 1. สันติวัฒนธรรมเปนวัฒนธรรมท่ีมนุษยสราง ข้ึนในการดาํ รงชีวิตรวมกันของมนุษย 2. เพื่อลดปญหาปราศจากความรุนแรงตอกัน ในสังคมนําไปสูชีวิตท่ีสงบสุข 3. ดํารงชีวิตดวยความเมตตา กรุณา โดยมี ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม 4. เพื่อนําไปสูความเจริญงดงามท้ังภายในและ ภายนอกของความเปนมนุษย

การปฏิบัติเพื่อสรางสันติวัฒนธรรม การสรางสันติวัฒนธรรม เปนการสรางความ เปลี่ยนแปลงระดับบุคคล สรางจิตสํานึกคุณคาระดับ สังคมมนุษย โดยผานระบบการศึกษาสรางสันติภาพ สงเคราะหเพ่ือมนุษย ไมใชความรุนแรง 1. การศึกษาเพ่ือสันติภาพ ยอมรับความ แตกตาง เห็นคุณคาความหลากหลายทางความคิด และทางวัฒนธรรม รูจักใหอภัย เอ้ือเฟอเก้ือกูลกัน ดวยการแกสันติวิธีเปนหนทางไปสูสันติภาพ

2. ส่ือเพื่อสันติภาพ เปนสวนหนึ่งของ การศึกษาเพื่อสันติภาพ ควรลดอคติทางชาติพันธุ ศาสนา สีผิว โดยนําเสนอวิถีชีวิต ประเพณี ความเช่ือ รวมทั้ง สุข ทุกข ของสังคมมนุษย ติดตามขาวสารที่สงเสริมสันติวิธีและการรวมมือกัน ส่ือสําหรับเยาวชน ครอบครัว เปนอีกบทบาทหน่ึงใน การสงเสริมสันติวัฒนธรรม ครอบครัวเปนสถาบัน ทางจริยธรรมที่สาํ คัญ ครอบครัวเขมแข็งชวยให เยาวชนมีทัศนคติท่ีเก้ือกูลตอสันติภาพและสันติวิธี

3. การสงเคราะหเพ่ือนมนุษย ดวยความรัก และความเอื้อเฟอเก้ือกูลกัน คุณคาแสดงออกได ชัดเจน การเสริมสรางสันติวัฒนธรรมที่ดีท่ีสุด คือ การชวยเหลือเพื่อนมนุษยท่ีตกทุกขไดยาก เพื่อให เพ่ือนมนุษยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ชวยใหสังคมรมเย็น เปนสุข การชวยเหลือเพ่ือนมนุษยเปนเครื่องชี้วัด สําคัญประการหนึ่งวาไดลดละตัวตนมากนอยเพียงใด

4. การถอยหางความรุนแรงในสังคม ตั้งแตระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับ ประเทศ ปองกันระงับความรุนแรง ความรุนแรง เปนสิ่งท่ีสังคมมิอาจยอมรับได มนุษยจึงควรให ความสาํ คัญในการตอตานและขจัดความรุนแรง เชิงโครงสรางวัฒนธรรม

ตัวบงช้ีสังคมท่ีมีสันติวัฒนธรรม 1. มนุษยทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกัน 2. การศึกษาท่ีเทาเทียมกัน 3. การพัฒนามีสวนรวมโดยหลักธรรมาภิบาล 4. มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย 5. มีสถานภาพทางเพศ ชนชั้น เช้ือชาติ ศาสนา เทาเที่ยมกัน 6. มีอิสระ สิทธิ เสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น 7. ความอดทนกันไดเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน 8. ความม่ันคงปลอดภัยของสังคมมนุษย 9. ความสุขสมบูรณสวยงามของธรรมชาติ อนุรักษส่ิงแวดลอม

แนวคิดการสรางสันติวัฒนธรรม 1. สังคมตามลักษณะความสัมพันธ ของสมาชิก มนุษยกับธรรมชาติมีความสัมพันธกัน อยางแนนแฟน ต้ังแตมนุษยปรากฏบนพ้ืนโลก มนุษยเปนองคประกอบหนึ่งของธรรมชาติและอาศัย ธรรมชาติเปนปจจัยในการดํารงชีวิต มนุษยกับ ธรรมชาติเปนสวนหนึ่งของกันและกัน มนุษยจึงถูก ควบคุมโดยธรรมชาติ สัมพันธในลักษณะปรับตัวเขา กับธรรมชาติดวยสันติวัฒนธรรม

2. สรางความสัมพันธกับเพื่อนมนุษย การสรางความสัมพันธอันดีกับผูอ่ืนไดนั้น ควรท่ีจะ เรียนรูถึงธรรมชาติความตองการของบุคคลโดยทั่วไป หากตองการใหผูอ่ืนเกิดความพึงพอใจ ก็ควรทํา ในส่ิงที่บุคคลอื่นตองการ การทําในสิ่งท่ีผูอื่นไม ตองการไมชวยในการสรางสัมพันธอันดีใหเกิดขึ้นได จึงควรพิจารณาวาบุคคลน้ันมีความตองการในส่ิงใด ถาใหตรงตามความตองการก็จะเกิดความพึงพอใจ เปนเง่ือนไขที่สําคัญในการสรางมนุษยสัมพันธ

วิธีสรางมนุษยสัมพันธสที่ดีตอเพ่ือนรวมงาน 1. เริ่มตนทักทายกอน 2. มีความจริงใจตอเพื่อนรวมงาน 3. ไมนินทาเพื่อนแมจะเปนที่ถูกใจของคู สนทนา 4. ไมซัดทอดความผิดใหเพ่ือน 5. ยกยองชมเชยเพื่อนในโอกาสอันควร (ชมมากกวาติ หากติควรติเพื่อการสรางสรรค) 6. ใหความชวยเหลือกิจการงานของเพื่อนดวย ความเต็มใจ 7. ใหเพ่ือนรับทราบเรื่องที่ตองรับผิดชอบหรือ เก่ียวของ 8. หลีกเลี่ยงการทาํ ตัวเหนือเพื่อน

9. ทําตนใหเสมอตนเสมอปลาย 10. เอื้อเฟอเผ่ือแผตอเพื่อนฝูง 11. ออกไปพบปะสังสรรคบางตามโอกาส อันสมควร 12. ชวยเหลือเพ่ือน เปนท่ีพ่ึงในยามทุกขใจ 13. ใหเกียรติและรับฟงความคิดเห็นของ เพ่ือน 14. เก็บรักษาความลับของเพื่อน รักษาสัจจะ 15. แนะนาํ เพื่อนไปในทางที่ดี ไมนําพาไป สูทางเสื่อม

ในทางพุทธศาสนาไดกลาวถึง เพื่อนแท มี 4 จําพวก คือ จาํ พวกที่ 1 เพื่อนมีอุปการะ มี 4 ลักษณะคือ 1) ปองกันเพื่อนผูประมาทแลว 2) ปองกันทรัพยสมบัติของเพื่อนผูประมาท แลว 3) เมื่อมีภัยเปนท่ีพ่ึงได 4) เม่ือมีธุระชวยออกทรัพย ออกแรง มากกวาออกปาก

จาํ พวกที่ 2 เพ่ือนรวมทุกขรวมสุข มี 4 ลักษณะคือ 1) ขยายความลับของตนแกเพ่ือน 2) ปดความลับของเพ่ือน 3) ไมละทิ้งเพื่อนยามวิบัติ 4) แมชีวิตก็อาจสละแทนได

จําพวกที่ 3 เพื่อนแนะนาํ ประโยชน มี 4 ลักษณะคือ 1) หามไมใหทาํ ชั่ว 2) แนะนาํ ใหต้ังอยูในความดี 3) ใหฟงส่ิงท่ียังไมเคยฟง 4) บอกทางสวรรคให

จําพวกที่ 4 เพ่ือนมีความรักใคร มี 4 ลักษณะคือ 1) เม่ือมีทุกขก็ทุกขดวย 2) เม่ือมีสุขก็สุขได 3) โตเถียงคนที่ติเตียนเพ่ือน 4) รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพ่ือน

หนาที่ของคนท่ีควรปฏิบัติตอเพ่ือน ตามหลักที่พระพุทธเจาตรัสไว 5 ประการ มี 4 ลักษณะคือ 1) การใหปน 2) การกลาวถอยคําอันเปนท่ีรัก 3) ประพฤติสิ่งที่เปนประโยชนแกเพ่ือน 4) ความเปนผูมีตนเสมอ 5) ไมแกลงกลาวใหคลาดเคลื่อนจากความจริง

3. สรางอิสรภาพในชีวิตตนเอง อิสรภาพ คือ ส่ิงที่ทุกคนฝนถึงและเปนสิ่งที่ ทุกคนควรไดรับมัน คือการท่ีอยากจะทําอะไรก็ไดทาํ เพราะไมมีใครอยากถูกบังคับ ไมอยากถูกจํากัด อิสรภาพของตนเอง ท้ังอิสรภาพทางความคิด อิสรภาพทางการกระทาํ หรือการแสดงออก อิสรภาพ ทางการเงิน และอิสรภาพดานเวลา

หลักธรรมเพื่อใหเปนที่รักของคนท่ัวไป สังคหวัตถุ 4 ประกอบดวย ทาน , ปยวาจา , อัตถจริยา , สมานัตตตา (โอบออมอารี วจีไพเราะสงเคราะห ปวงชน วางตนเหมาะสม) 1. ทาน คือ การให การเสียสละ แบงปน แกผูอื่น 2. ปยวาจา คือ พูดจาดวยถอยคาํ สุภาพ นุมนวล เหมาะแกบุคคล เวลา สถานที่ พูดในสิ่งท่ี เปนประโยชน พูดในทางสรางสรรค และเกิดกําลังใจ

3. อัตถจริยา คือ การทาํ ตนใหเปนประโยชน ตามกาํ ลังสติปญญา ความรู ความสามารถ กาํ ลังทรัพย และเวลา 4. สมานัตตตา คือ การทําตนใหเสมอตน เสมอปลาย วางตนเหมาะสมกับฐานะ ตําแหนง หนาที่การงาน ไมเอาเปรียบผูอื่น รวมทุกขรวมสุข สมา่ํ เสมอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook