Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 หลักธรรมาภิบาล

หน่วยที่ 3 หลักธรรมาภิบาล

Published by Pitawan1208, 2021-07-13 23:44:22

Description: หน่วยที่ 3

Search

Read the Text Version

วิชาชีวิตกบั สั งคมไทย (30000-1501) หน่วยที 3 หลกั ธรรมาภิบาล ครูตะวัน ชัยรัต

หลักธรรมาภิบาล Good Governance

หนวยที่ 3 หลกั ธรรมาภิบาล \"หลักธรรมาภบิ าล\" หรือ \"การบรหิ ารบา นเมอื งทีด่ ี\" หลักธรรมรัฐที่รจู ักกนั ในนาม \"Good Governance\" การปกครองทีเ่ ปน ธรรมไมใชแนวความคิดใหมท่ีเกิดขึน้ ใน สังคม เปน การสงั่ สมความรูท ่ีเปน วฒั นธรรมในการอยูรวม กนั เปนสังคมของมนษุ ย เปนหลกั การอยรู วมกนั ในบาน เมอื งและสังคมอยา งสงบสุข

ความหมายของหลักธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารกิจการบาน เมืองที่ดี มีพ้ืนฐานมาจากความรวมมือของสถาบัน ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงภาคประชาสังคม ที่จะชวยพัฒนาองคกรและสังคมทั้งระบบใหมี คุณภาพและมีประสิทธิภาพโดยยึดหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุมคา ถือเปนหลักการบริหารท่ีสําคัญ ของนักปกครอง ผูบริหารทุกระดับ ที่สามารถนาํ ไป เปนแนวทางในการบริหารจัดการองคกรของตนใหมี ประสิทธิภาพและกาวไปสูความสาํ เร็จพรอมๆ กัน

ความสาํ คัญของหลักธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล ประกอบดวยแนวทาง ปฏิบัติสําคัญ 3 ดานดังนี้ 1. การปฏิบัติตอพนักงาน 2. การปฏิบัติตอผูบริโภค 3. การปฏิบัติดานสังคมและสิ่งแวดลอม

1.การปฏิบัติตอพนักงาน ควรคํานึงโดยใช หลักธรรมาภิบาลในดาน คาจาง คาตอบแทน สวัสดิการ การขึ้นเงินเดือน ผลประโยชนท่ีควรไดรับ การพยาบาล สุขอนามัย การพัฒนาความรู และอาชีพ เปนตน

2. การปฏิบัติตอผูบริโภค โดยคาํ นึงถึง สุขอนามัย การควบคุมการผลิต คุณภาพมาตรฐาน ลักษณะสินคา ราคา เปนตน

3. การปฏิบัติดานสังคมและส่ิงแวดลอม โดยคาํ นึงการดูแลสภาพแวดลอม มลภาวะเปนพิษ การกาํ จัดของเสีย การทําลายเชื้อโรค ระบบน้ํา ระบบอากาศ ตอชุมชน แหลงโรงงานอุตสาหกรรม การเสียภาษี การเรียกเก็บในอัตราที่ถูกตอง เปนตน

องคประกอบของหลักธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล มีองคประกอบที่สําคัญ 6 ประการ ดังนี้ 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปรงใส 4. หลักความมีสวนรวม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุมคา

1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับและกติกาตางๆ ใหทันสมัย และไมเปนธรรม ตลอดจนเปนที่ยอมรับของสังคม และสมาชิก โดยมีการยินยอมพรอมใจและถือปฏบัติ รวมกันอยางเสมอภาคและเปนธรรม กลาวสรุปคือ สถาปนาการปกครองภายใตกฎหมาย มิใชกระทาํ กัน ตามอาํ เภอใจหรืออาํ นาจของบุคคล

2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมั่น ในความถูกตองดีงาม โดยการรณรงคเพ่ือสราง คานิยมท่ีดีงามใหผูปฏิบัติงานในองคกรหรือสมาชิก ของสังคมถือปฏิบัติ ไดแก ความซื่อสัตย สุจริต ความเสียสละ ความอดทน ขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย

3. หลักความโปรงใส คือ การทําใหสังคมไทย เปนสังคมที่เปดเผยขอมูลขาวสารอยางตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกตองไดโดยการ ปรับปรุงระบบและกลไกการทาํ งานขององคกรใหมี ความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสารหรือเปดให ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก ตลอดจนมี ระบบหรือกระบวนการตรวจสอบและประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเปนการสรางความไววางใจ ซ่ึงกันและกัน และชวยใหการทาํ งานของภาครัฐและ ภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรรัปชัน

4. หลักความมีสวนรวม คือ การทําใหสังคม ไทยเปนสังคมท่ีประชาชนมีสวนรวมรับรูและรวม เสนอความเห็นในการตัดสินใจสาํ คัญๆของสังคม โดยเปดโอกาสใหประชาชนมีชองทางในการเขามา มีสวนรวม ไดแก การประชาพิจารณ การแสดงความ คิดเห็น การแสดงประชามติหรืออื่นๆ และขจัดการ ผูกขาดทั้งโดยภาครัฐหรือโดยภาคธุรกิจเอกชน ซ่ึงจะชวยใหเกิดความสามัคคี และความรวมมือกัน ระหวางภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน

5. หลักความรับผิดชอบ คือ ผูนํา ผูบริหาร ขาราชการ ตองต้ังใจปฏิบัติภารกิจตามหนาท่ีอยาง เต็มกาํ ลังความสามารถ โดยมุงใหบริการแกผูมา รับบริการเพ่ืออาํ นวยความสะดวกตางๆ มีความรับผิดชอบตอความบกพรองในหนาท่ีการงาน ท่ีตนรับผิดชอบอยู และพรอมท่ีจะปรับปรุงแกไขได ทันทวงที

6. หลักความคุมคา คือ ผูนาํ ผูบริหาร ตองตระหนักวามีทรัพยากรคอนขางจํากัด ดังนั้นในการบริหารจัดการจาํ เปนจะตองยึดหลัก ความประหยัดและความคุมคา ซ่ึงจาํ เปนจะตอง ต้ังจุดมุงหมายไปที่ผูรับบริการหรือประชาชนโดย สวนรวม

หลักธรรมาภิบาลของประเทศในการบริหารที่ดี 1. ประสิทธิภาพ หมายถึง การปฏิบัติงาน ตองใชทรัพยากรอยางประหยัดตนทุน เสร็จตาม กาํ หนดระยะเวลา ภายในคุณภาพท่ีกาํ หนดไว เกิดผลิตผลท่ีคุมคาตอการลงทุนและเกิดประโยชน สูงสุดตอสวนรวม ปจจัยของประสิทธิภาพ จะมีอยู 3 อยาง ไดแก คาใชจาย เวลา และคุณภาพ ทั้งน้ีตองมีการลดขั้นตอนและระยะเวลาในการ ปฏิบัติงาน เพ่ืออาํ นวยความสะดวกและลดภาระคา ใชจาย ตลอดจนยกเลิกภารกิจท่ีลาสมัยและไมมี ความจาํ เปน

2. ประสิทธิผล หมายถึง การปฏิบัติงานตองมี วิสัยทัศนเชิงยุทธศาสตรเพื่อตอบสนองความตองการ ของผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย ปฏิบัติ หนาท่ีตามพันธกิจใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกร มีการวางเปาหมายการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและอยูใน ระดับท่ีตอบสนองตอความคาดหวังของผูรับบริการ สรางกระบวนการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ และมี มาตรฐาน มีการจัดการความเสี่ยงและมุงเนนผลการ ปฏิบัติงานเปนเลิศ มีการติดตามประเมินผลและ พัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานใหดีข้ึนอยางตอเน่ือง

ประสิทธิผล คือ การทํางานใหบรรลุเปาหมาย ในคุณภาพและปริมาณที่ตองการ ซ่ึงหมายถึง ผลสําเร็จ หรือการทํางานใหบรรลุเปาหมาย ในเชิง คุณภาพ เชิงปริมาณ หรือทําตามเปาหมายที่กาํ หนด ไว เปาหมายท่ีใชวัดประสิทธิผลก็มีอยู 2 อยาง ไดแก เปาหมายเชิงปริมาณ และ เปาหมายเชิงคุณภาพ

3. การตอบสนอง หมายถึง การปฏิบัติงาน ตองสามารถใหบริการไดอยางมีคุณภาพ สามารถ ดาํ เนินการแลวเสร็จในระยะเวลาที่กาํ หนด สรางความเช่ือม่ัน ไววางใจ รวมถึงตอบสนองตาม ความคาดหวัง ความตองการของผูรับบริการ และผูที่มีสวนไดสวนเสียท่ีมีความหลากหลาย และมีความแตกตางกันไดอยางเหมาะสม

4. ภาระรับผิดชอบ/สามารถตรวจสอบได หมายถึง การปฏิบัติงานตองสามารถตอบคําถามและ ช้ีแจงไดเมื่อมีขอสงสัย รวมท้ังตองมีการจัดวางระบบ การรายงานความกาวหนาและผลสัมฤทธิ์เปาหมาย ที่กําหนดไวตอสาธารณะเพ่ือประโยชนในการตรวจ สอบและการใหคุณใหโทษ ตลอดจนมีการจัดเตรียม ระบบการแกไขหรือบรรเทาปญหา หรือผลกระทบ ใดๆที่อาจจะเกิดข้ึน

5. เปดเผย/โปรงใส หมายถึง การปฏิบัติงาน ตองปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต ตรงไปตรงมา รวมทั้งตองการเปดเผยขอมูลขาวสารที่จําเปนและ เช่ือถือไดใหประชาชนไดรับทราบอยางสมํา่ เสมอ ตลอดจนวางระบบใหการเขาถึงขอมูลขาวสาร ดังกลาวเปนไปโดยงาย

6. หลักนิติธรรม หมายถึง การปฏิบัติงาน ตองใชอํานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ ในการปฏิบัติงานอยางเครงครัด ดวยความเปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติ และคาํ นึงถึงสิทธิเสรีภาพของผูรับ บริการหรือผูมีสวนไดสวนเสียฝายตางๆ

7. ความเสมอภาค หมายถึง การปฏิบัติงาน ตองใหบริการอยางเทาเทียมกันไมมีการแบงแยก เพศ อายุ เช้ือชาติ ศาสนา ภาษา สภาพทาง กายภาพหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง เศรษฐกิจและสังคม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษา อีกท้ังยังตองคํานึงถึงโอกาสความเทาเทียมกันของ การเขาถึงบริการสาธารณะของกลุมบุคคล ผูดอยโอกาสในสังคมดวย

8. การมีสวนรวม/การพยายามแสวงหา ฉันทามติ หมายถึง การปฏิบัติงานตองรับฟงความ คิดเห็นของผูรับบริการ รวมทั้งเปดโอกาสใหมีสวน รวมในการรับรู เรียนรู ทําความเขาใจ รวมแสดง ทัศนะ รวมเสนอปญญา ประเด็นท่ีสาํ คัญที่เกี่ยวของ รวมคิดแกไขปญหา รวมในกระบวนการตัดสินใจและ การดาํ เนินงาน รวมตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ทั้งน้ีตองมีความพยายามในการแสวงหาฉันทามติ หรือขอตกลงรวมกันระหวางกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเฉพาะกลุมที่ไดรับผลกระทบโดยตรงจะตองไมมี ขอคัดคานท่ีหาขอยุติไมไดในประเด็นสาํ คัญ

9. การกระจายอาํ นาจ หมายถึง การปฏิบัติ งานควรมีการมอบอํานาจและการความรับผิดชอบใน การตัดสินใจและการดําเนินการใหแกผูปฏิบัติงานใน ระดับตางๆ ไดอยางเหมาะสม รวมท้ังมีการโอนถาย บทบาทและภารกิจใหแกองคการอ่ืนๆ ในสังคม

10. คุณธรรม/จริยธรรม หมายถึง การปฏิบัติ งานตองมีจิตสาํ นึกความรับผิดชอบในการปฏิบัติ หนาท่ีใหเปนไปอยางมีศีลธรรม คุณธรรม และตรง ตามความคาดหวังของสังคม รวมทั้งยึดมั่นในคานิยม หลักของมาตรฐานจริยธรรมสําหรับผูดาํ รงตําแหนง ทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐประมวลจริยธรรม

ประโยชนของหลักธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล เปนสิ่งจําเปนสําหรับทุก องคกร ทําใหการบริหารงานภายในองคกรเปนไป อยางมีประสิทธิภาพ 1. ระบบการบริหารจัดการท่ีดี การบริหารงานภายในองคกรทําใหบุคลากร ทุกคน มีสวนรวมแสดงความคิดเห็น มีสิทธิและ เสรีภาพท่ีไดรับการคุมครองโดยเทาเทียมกันจาก ผูบังคับบัญชา โดยยึดหลักคุณธรรมทางสายกลางใน การปฏิบัติงาน

2. การบริหารจัดการท่ีโปรงใส ความโปรงใสเปนหัวใจสาํ คัญมากอยางหนึ่ง ของหลักธรรมาภิบาล ชวยใหบุคลากรทั้งภายในและ ภายนอกสามารถตรวจสอบซึ่งกันและกันได 3. ไดรับการยอมรับและนาเชื่อถือ การใชหลักธรรมาภิบาลในการปกครอง ทําใหบุคคลภายนอกเกิดความเลื่อมใส ศรัทธา เช่ือถือในการบริหารจัดการขององคกร 4. ไดรับประสิทธิภาพสูงสุดในการทาํ งาน บุคลากรมีความสุข มีคุณภาพ นาํ หลักธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารงานอยาง เครงครัด จะทาํ ใหบุคลากรทุกคนมีความสุขจากการ ปฏิบัติงานและใหความเปนธรรมเทาเทียมกันทุกคน สงผลใหมีความสุขในการทาํ งาน