Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EBOOK

EBOOK

Published by abcozz2011, 2019-02-09 03:14:38

Description: คู่มือพระสอนศีลธรรม

Keywords: SINLATHUM

Search

Read the Text Version

จากการเปน็ พระสอนศีลธรรม 40 คู่มอื พระสอนศลี ธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 41

42 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 43

44 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 45

46 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 47

48 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 49

50 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 51

๐๘๗ ๔๙๖ ๘๒๔๐ 52 ค่มู ือพระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 53

54 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 55



๕ส่วนที่ ลักษณะของพระสอนศีลธรรม พ่ึงประสงค์

ลักษณะเปน็ เครื่องหมายหรือคุณสมบตั ทิ ี่พระสอนศลี ธรรมตอ้ งมี นอกเหนือจากวนิ ัยหรอื ศีลของ พระภกิ ษทุ พี่ ระสอนศลี ธรรมยดึ ถอื แลว้ นน้ั เรยี กวา่ ครธุ รรม ครธุ รรมเปน็ สงิ่ ทจี่ ำ� เปน็ มากสำ� หรบั การดำ� เนนิ อาชีพผ้ทู ี่เปน็ ครูอันเปน็ อาชีพที่มเี กียรติ เป็นอาชีพที่คนทวั่ ไปยกยอ่ ง และถือว่าเป็นอาชีพทีส่ ำ� คัญในการ พฒั นาสงั คมหรอื ประเทศชาติ ครทู ่ีขาดครุธรรมจะเปรียบเสมอื นเรอื ที่ขาดหางเสอื ดงั นั้น การจะพาศิษย์ ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางอยา่ งถกู ตอ้ งย่อมเป็นสิง่ ท่ีท�ำไดย้ ากอยา่ งแนน่ อน ท่านพุทธทาสกล่าวอยู่เสมอว่า “ธรรม” คือ หน้าท่ี ผู้ท่ีมีธรรมะคือผู้ที่ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างดีแล้ว ครธุ รรมจงึ เป็น “หน้าทส่ี �ำหรับคร”ู ซึ่งครูสว่ นใหญ่ทกุ คนยอ่ มทราบดีว่า “หน้าท่ีของครู กค็ อื การอบรม สั่งสอนศิษย์” แต่การอบรมสั่งสอนศิษย์ของครูแต่ละคนก็มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน ครูบางคนก็อาจจะ คดิ วา่ หนา้ ทข่ี องครู คอื สอนวชิ าการทตี่ นไดร้ บั มอบหมายใหส้ อน แตอ่ กี หลายๆ คนกค็ ดิ วา่ ครคู วรทำ� หนา้ ที่ สอนคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์นอกเหนือจากการสอนวิชาการ ความคิดที่แตกต่างกันไม่ใช่เรื่องแปลกใน สังคมมนษุ ย์ ดังนน้ั จงึ เป็นหนา้ ทีข่ องครูท่ีจะตอ้ งพิจารณาเลอื กหน้าท่ที ่ตี นเหน็ วา่ ถกู ต้องสมบูรณ์ทส่ี ุดของ การมีอาชีพครู เพราะความเป็นจริงนั้น ครูมิได้สอนแต่หนังสืออย่างเดียว แต่ต้องสอนคนให้เป็นบัณฑิต ทส่ี มบูรณด์ ้วย นอกจากนี้ ทา่ นพทุ ธทาส ยงั ไดก้ ลา่ วถงึ ลกั ษณะของครใู นอดุ มคตนิ นั้ ตอ้ งเปน็ ครทู เี่ ปน็ ผนู้ ำ� ในทาง วัตถุ คอื รจู้ ักการแสวงหาไมท่ ำ� ให้เกิดทกุ ข์แกต่ นและผอู้ ืน่ เดอื นร้อน และเปน็ ผู้น�ำในทางวญิ ญาณ ในคัมภีร์พระไตรปิฎก ปรากฏในทุติยมิตตสูตร สูตรท่ีว่าด้วยองค์แห่งมิตร สูตรท่ี ๒ มีใจท่ี พระพุทธเจ้าไดต้ รัสแก่เหล่าพระภกิ ษุ มคี วามวา่ ภิกษทุ ั้งหลาย มติ รประกอบดว้ ยองค์ ๗ ประการ เปน็ ผูค้ วรเสพ ควรคบ ควรเขา้ ไปนงั่ ใกล้ แมจ้ ะถกู ขบั ไล่กต็ าม องค์ ๗ ประการ อะไรบา้ งคือ ๑. เปน็ ทร่ี ักเปน็ ทพ่ี อใจ ๒. เปน็ ทีเ่ คารพ ๓. เปน็ ทย่ี กยอ่ ง ๔. เปน็ นกั พดู ๕. เปน็ ผู้อดทนตอ่ ถอ้ ยคำ� ๖. เป็นผู้พูดถ้อยค�ำลึกซึ้งได้ ๗. ไมช่ ักน�ำในอฐานะ ภิกษุทั้งหลาย มิตรประกอบประกอบด้วยองค์ ๗ ประการ เป็นผู้ควรเสพ ควรคบ ควรเข้าไป นั่งใกล้ แม้จะถกู ขับไล่ก็ตาม มติ รเป็นทร่ี กั เป็นทเ่ี คารพ เป็นทย่ี กยอ่ ง เปน็ นกั พดู เป็นผ้อู ดทนต่อถอ้ ยค�ำ พดู ถอ้ ยคำ� ลึกซึง้ ได้ ไมช่ ักนำ� ไปในอฐานะ ในโลกน้ี ฐานะเหล่านี้มีอยู่ในบุคคลใด บุคคลนั้น จัดว่าเป็นมิตรผู้มุ่งประโยชน์และอนุเคราะห ์ ผตู้ อ้ งการจะคบมิตร ควรคบมติ รเชน่ น้ัน แม้จะถกู ขบั ไล่ก็ตามฯ 58 คู่มอื พระสอนศลี ธรรม

พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (๒๕๕๙ : ออนไลน)์ ได้สรปุ หลักกลั ยาณมิตรธรรม ๗ (องคค์ ุณของกลั ยาณมติ ร, คุณสมบตั ิของมิตรดหี รอื มติ รแท้ คอื ท่านทคี่ บหรือเข้าหาแล้วจะเปน็ เหตุให้ เกิดความดีงามและความเจริญ ในที่น้มี งุ่ เอามติ รประเภทครหู รอื พี่เล้ียงเป็นสำ� คัญ ๑. ปโิ ย น่ารัก ในฐานเป็นทสี่ บายใจและสนทิ สนม ชวนให้อยากเขา้ ไปปรึกษา ไตถ่ าม ๒. ครุ น่าเคารพ ในฐานประพฤตสิ มควรแก่ฐานะ ใหเ้ กดิ ความรู้สกึ อบอุ่นใจ เป็นท่ีพึง่ ใจ ๓. ภาวนีโย น่าเจริญใจหรือน่ายกย่อง ในฐานทรงคุณคือความรู้และภูมิปัญญาแท้จริง ท้ังเป็น ผูฝ้ ึกอบรมและปรบั ปรงุ ตนอยูเ่ สมอ ควรเอาอยา่ ง ทำ� ให้ระลกึ และเอย่ อ้างดว้ ยซาบซึ้ง ๔. วตฺตา จ รู้จักพดู ให้ไดผ้ ล รูจ้ กั ชีแ้ จงใหเ้ ขา้ ใจ รวู้ ่าเมื่อไรควรพูดอะไรอย่างไร คอยใหค้ ำ� แนะนำ� ว่ากล่าวตักเตอื น เป็นทป่ี รกึ ษาท่ีดี ๕. วจนกขฺ โม อดทนตอ่ ถอ้ ยคำ� คอื พรอ้ มทจี่ ะรบั ฟงั คำ� ปรกึ ษาซกั ถามคำ� เสนอแนะวพิ ากษว์ จิ ารณ์ อดทน ฟังไดไ้ มเ่ บือ่ ไมฉ่ นุ เฉยี ว ๖. คมภฺ ีรญฺจ กถํ กตฺตา แถลงเร่ืองลำ�้ ลกึ ได้ สามารถอธิบายเร่ืองยุ่งยากซบั ซ้อน ใหเ้ ข้าใจ และให้ เรียนรเู้ ร่ืองราวทล่ี กึ ซง้ึ ยง่ิ ข้ึนไป ๗. โน จฏฺาเน นิโยชเย ไม่ชักน�ำในอฐานคือไม่แนะน�ำในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูงไปในทาง เสื่อมเสีย พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) (๒๕๔๑ : ๑๑๑-๑๑๒) ได้กล่าวถึงคุณธรรมของครูว่ามี ๓ ประการ คือ ๑. ครูต้องมี ปัญญา ร้วู ่าอะไรคอื ส่งิ ที่ดี เพื่อครูจะไดท้ �ำให้ถูกดี ถึงดีและพอดี ๒. ครูต้องมี วิสุทธิ คือความบริสุทธ์ิใจในวิชาชีพ ครูสอนเด็กเพ่ือประโยชน์ของเด็กเป็นที่ตั้ง ไม่ใช่ว่ามุ่งหน้าเพื่อกอบโกยอามิสสินจ้างอย่างเดียว งานครูเป็นอาชีพไม่ใช่ธุรกิจ ความแตกต่างระหว่าง อาชพี และธุรกจิ อยู่ตรงทวี่ า่ ธรุ กจิ มุ่งกอบโกยกำ� ไรนักธุรกิจลงทนุ ใหน้ อ้ ยท่สี ดุ เพ่ือกอบโกยกำ� ไรตอบแทน ใหม้ ากทส่ี ุด สว่ นอาชีพมุ่งใหก้ ารบรกิ ารอาชีพนัน้ เป็นการใช้ความเชีย่ วชาญหรือความรคู้ วามสามารถเพ่อื ให้บริการแกส่ งั คม ๓. ครูต้องมี กรุณา คือความเห็นอกเห็นใจใคร่จะช่วยเหลือศิษย์ที่ก�ำลังอยู่ในความมืดให้พบ แสงสวา่ งแห่งปัญญา ครูมคี วามรกั ใหก้ ับศษิ ย์ แมบ้ างคร้ังจะต้องลงโทษบ้างกท็ ำ� ดว้ ยความรกั และหวังดี คุณธรรมท่ใี ชใ้ นการปฏบิ ัติงาน คณุ ธรรม หมายถงึ สภาพคณุ งามความดีความประพฤติทด่ี กี ารทำ� ให้เกดิ คุณงามความดี อปุ นสิ ัย อันดีงาม ซ่ึงเป็นคุณสมบัติท่ีอยู่ภายในจิตใจของบุคคล ได้แก่ ความเมตตากรุณา ความซ่ือสัตย์ สุจริต ความเสียสละ ความเออ้ื เฟ้ือ ความกตัญญคู วามพากเพียร ความเหน็ อกเหน็ ใจ ความละอาย ตอ่ ความช่วั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั 59

และความม่งุ มนั่ กลา้ หาญที่จะกระทำ� ความดีในการกระท�ำความดีนน้ั จะต้องมงุ่ กระทำ� ทัง้ กายและใจ เพอ่ื ให้เกิดความสุขแก่ตนเองและผู้ร่วมงาน เน่ืองจากคุณธรรมเป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับ สภาพคุณงามความดี คนทด่ี ีจึงตอ้ งเข้าใจหลักการพื้นฐานของคุณงามความดี หลักการพ้นื ฐานของ ความจรงิ เปน็ สัจธรรม และ หลกั การประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องมนษุ ยท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั คณุ คา่ ของความดงี าม เพอื่ จะไดใ้ ชด้ ลุ ยพนิ จิ ในการปฏบิ ตั ิ ตนคุณธรรมท่ใี ช้ในการพัฒนาตนเอง พฒั นาคน และพัฒนางาน ทจี่ ะน�ำเสนอท่ีส�ำคญั ดงั นี้ ๑. โลกบาลธรรม หมายถึง ธรรมท่ีคุ้มครองโลก เป็นธรรมที่ใช้ปกครอง ควบคุมจิตใจมนุษย์ ไว้ให้อยู่ในความดี มิให้ละเมิดศีลธรรม ให้อยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข ไม่เดือดร้อน สับสน วุ่นวาย ซึ่ง ประกอบด้วย ๒ ประการ คอื ๑.๑ หริ ิ ได้แก่ ความละอายแก่ใจตนเองในการทำ� ความชั่ว ๑.๒ โอตตัปปะ ได้แก่ ความเกรงกลัวบาป เกรงกลัวต่อการท�ำความชั่วและผลของกรรมชั่ว ที่ได้กระทำ� ข้ึน ๒. ธรรมที่ทำ� ให้งาม ประกอบด้วย ๒ ประการ คือ ๒.๑ ขนั ติได้แก่ ความอดทน คอื อดทนตอ่ ความทุกข์อดทนต่อความล�ำบาก อดทนต่อ ความ โกรธ ความหนักเอาเบาสู้เพอื่ ให้บรรลุจดุ หมายท่ดี ีงาม ๒.๒ โสรัจจะ ได้แก่ ความสงบเสง่ียม ความมีอัธยาศัยงดงาม รักความประณีต และรักษา อากัปกริ ยิ าใหเ้ หมาะสมเรยี บรอ้ ย เปน็ ลกั ษณะอาการทตี่ อ่ เน่ืองจากความมีขนั ติ ๓. ธรรมท่ีทำ� ให้งานสำ� เร็จ คอื อิทธิบาท ๔ ประกอบด้วย ๓.๑ ฉันทะ ได้แก่ การสร้างความพอใจในการทำ� งาน ๓.๒ วิริยะ ได้แก่ ความเพียรพยายามท�ำงานตามบทบาทหนา้ ท่ี ๓.๓ จติ ตะ ได้แก่ การเอาใจฝกั ใฝ่ ไมท่ อดทิ้งธุระ ๓.๔ วมิ งั สา ไดแ้ ก่ การหมน่ั ตริตรอง พิจารณาแก้ไขปรับปรงุ งานท่ีต้องปฏิบตั ิอยู่เสมอ ๔. สังคหวัตถุ เป็นหลกั ธรรมแหง่ การสงเคราะห์ช่วยเหลอื เป็นคุณธรรมในการยดึ เหน่ยี ว จติ ใจ ของผอู้ ืน่ ไว้หลกั การสงเคราะห์ชว่ ยเหลอื ๔ ประการ ไดแ้ ก่ ๔.๑ ทาน ไดแ้ ก่ การแบ่งปนั เออ้ื เฟ้อื เผ่ือแผ่กัน ๔.๒ ปยิ วาจา ไดแ้ ก่ การพูดจาด้วยถ้อยค�ำที่สภุ าพ เปน็ ที่นยิ มนับถอื ๔.๓ อตั ถจริยา ไดแ้ ก่ การประพฤติที่เปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ้อู นื่ ๔.๔ สมานตั ตา ไดแ้ ก่ ความมตี นเสมอ ไม่ถอื ตัว รว่ มทุกขร์ ว่ มสุข ๕. พรหมวหิ าร เป็นหลักธรรมของพรหมธรรมประจ�ำใจอนั ประเสริฐของผู้ใหญ่ ธรรมประจ�ำใจ ของผมู้ คี ุณความดียิ่งใหญ่ ประกอบด้วย ๕.๑ เมตตา ได้แก่ ความตอ้ งการทีจ่ ะให้ผูอ้ นื่ เปน็ สขุ 60 คมู่ อื พระสอนศลี ธรรม

๕.๒ กรุณา ไดแ้ ก่ ความต้องการท่ีจะใหผ้ อู้ ่นื พ้นทกุ ข์ ๕.๓ มทุ ติ า ไดแ้ ก่ ความพลอยยนิ ดีเมื่อผูอ้ ื่นได้ดเี ห็นผู้อ่ืนประสบความสำ� เร็จกย็ นิ ดี ๕.๔ อุเบกขา ได้แก่ ความวางใจเป็นกลาง ไม่เอนเอยี งด้วยความชอบหรือชงั ความวางใจ เฉย ไดไ้ ม่ยินดยี นิ ร้าย เพ่ือใชป้ ญั ญาพจิ ารณาเห็นผลอันเกิดขน้ึ อนั สมควรแกเ่ หตุ ๖. สปั ปรุ สิ ธรรม เป็นธรรมของคนดีประกอบดว้ ย ๗ ประการ คอื ๖.๑ ธมั มญั ญตา ความเป็นผูร้ จู้ กั เหตุ ๖.๒ อัตถญั ญตา ความเป็นผู้รูจ้ กั ผล ๖.๓ อตั ตัญญตา ความเปน็ ผ้รู จู้ กั ตน ๖.๔ มัตตัญญตา ความเปน็ ผรู้ ู้จกั ประมาณ ๖.๕ กาลัญญตา ความเปน็ ผู้รจู้ กั กาล ๖.๖ ปริสญั ญตา ความเป็นผรู้ ู้จักชุมชน ๖.๗ ปุคคลัญญตา ความเป็นผรู้ ู้จักบคุ คล ๗. ฆราวาสธรรม เป็นธรรมของผูค้ รองเรอื น ประกอบดว้ ย ๗.๑ สจั จะ ความซอ่ื สตั ย์ต่อกัน ๗.๒ ทมะ ความฝึกฝนปรับปรุงตนให้รขู้ ่มใจ ควบคมุ อารมณ์ควบคุมตนเอง และปรับตัว ให้ เข้ากับงานและสิ่งแวดล้อม ๗.๓ ขันติความอดทนตอ่ การปฏบิ ตั ิงานตามหนา้ ท่ี ๗.๔ จาคะ ความเสยี สละ เผือ่ แผ่ แบง่ ปนั มีน�ำ้ ใจ ๘. กาลามสตู ร เปน็ สตู รหนงึ่ ในคมั ภรี ต์ กิ นบิ าตองั คตุ ตรนกิ าย ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ตรสั สอน ประชาชน ชาวกาลามะ แหง่ เกสปุตตนิคม ในแควน้ โกศลไม่ใหเ้ ชือ่ ถอื งมงายไรเ้ หตผุ ล ตามหลัก ๑๐ ประการ คือ ๘.๑ อย่าเชอื่ โดยไดย้ นิ ไดฟ้ งั ตามกนั มา ๘.๒ อย่าเชื่อโดยเห็นเปน็ ของเกา่ เลา่ สืบกนั มา ๘.๓ อย่าเชื่อโดยมขี ่าวลอื ๘.๔ อยา่ เชอ่ื โดยอ้างตำ� รา ๘.๕ อยา่ เชื่อโดยนึกเอาเอง ๘.๖ อย่าเชือ่ โดยนยั คาดคะเน ๘.๗ อย่าเช่อื โดยตรกึ ตรองตามอาการ ๘.๘ อย่าเชอื่ โดยเพราะเห็นว่าเข้ากับทฤษฎขี องตน ๘.๙ อย่าเชอื่ เพราะเห็นวา่ ผู้พดู ควรเชอื่ ๘.๑๐ อย่าเช่ือเพราะเห็นว่าเป็นครูของเขา การจะเช่ือในส่ิงใดนั้นต้องพิจารณาให้เห็นด้วย ปญั ญาธรรมแลว้ จงึ ถอื ปฏบิ ตั ติ ามน้นั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั 61

๙. คุณธรรม ๔ ประการ ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรง มีพระราชด�ำรัสแก่ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรีเน่ืองในงานเฉลิมฉลอง สมโภช กรงุ รัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๕ ความวา่ ๙.๑ การรักษาความสัตย์ความจริงใจต่อตนเองท่ีจะประพฤติปฏิบัติแต่ส่ิงท่ีเป็นประโยชน์ และเปน็ ธรรม ๙.๒ การรู้จักขม่ ใจตนเองฝกึ ใจตนเองใหป้ ระพฤติอยูใ่ นความสตั ยค์ วามดนี ้ัน ๙.๓ ความอดทน อดกลั้น และอดออมท่ีจะไม่ประพฤติปฏิบัติล่วงความสัตย์สุจริต ไม่ว่าจะ ดว้ ยเหตปุ ระการใด ๙.๔ การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพื่อ ประโยชน์สว่ นใหญ่ของบา้ นเมือง 62 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

ภาคผนวก



ภาคผนวก ๑ คณะกรรมการบริหารโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน ๑.๑ คณะกรรมการอ�ำนวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 65

66 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 67

๑.๒ คณะกรรมการด�ำเนนิ งานโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น 68 คมู่ อื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 69

70 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

ภาคผนวก ๒ การบริหารโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั 71

ภาคผนวก ๓ โครงสรา้ งหน่วยงาน และโครงสรา้ งการบริหาร ๓.๑ โครงสรา้ งหนว่ ยงาน 72 ค่มู อื พระสอนศีลธรรม

๓.๒ โครงสรา้ งการบริหาร มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 73

ภาคผนวก ๔ หน่วยงานเครือข่ายผู้สนบั สนนุ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีศึกษานิเทศน์และสถานศึกษา/ 74 คู่มือพระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 75

76 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

ภาคผนวก ๕ ฐานขอ้ มูลพระสอนศีลธรรม สว่ นกลาง และส่วนภูมิภาค มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย 77

78 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 79

80 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

ภาคผนวก ๖ ทอ่ี ยู่ / ตดิ ตอ่ ศนู ยอ์ ำ� นวยการโครงการพระสอนศลี ธรรมในโรงเรยี น สว่ นภมู ภิ าค ๒๖ ศนู ย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 81

82 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 83

84 คู่มอื พระสอนศีลธรรม

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 85

ปฏิทินกิจกรรม ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย SSS กิจกรรมคัดเลือกพระสอนศีลธรรมดีเด่นประจ�ำจังหวัด กิจกรรมโครงงานคุณธรรมอัตลักษณ์วิถีพุทธ กิจกรรมการประกวดมนต์หมู่สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย กิจกรรมประกวดกล่าวค�ำอาราธนาและถวายทานในพุทธศาสนพิธี SSS ท่านสามารถติดต่อเราได้ท่ีนี่ :- ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม อาคารมหาจุฬาบรรณาคาร ช้ัน ๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๗๙ หมู่ ๑ ต�ำบลล�ำไทร อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐ โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๘๔ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๘๔ เว็บไซต์ www.krupra.net หรือ facebook ส�ำนักงานพระสอนศีลธรรม เพื่อติดตามการเคล่ือนไหวของส�ำนักงานพระสอนศีลธรรมและดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ อีเมล์ [email protected] ใช้ติดต่อและส่งเอกสารงานท่ัวไป [email protected] ใช้ส�ำหรับส่งแบบรายงานผลการสอนประจ�ำปี (เอกสารหมายเลข ๔) ของพระสอนศีลธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook