หลกั การใหม่ตาม รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 2560 โดย ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ คณะนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 1
เน้อื หาของรฐั ธรรมนูญ สทิ ธิ+เสรภี าพของ กลไกในการใช้ ประชาชน อานาจรฐั การเมอื งของ การเมืองของ พลเมอื ง นกั การเมือง ฝ่ายนิติบัญญตั ิ ฝ่ายบริหาร ฝา่ ยตลุ าการ องคก์ รตาม รฐั ธรรมนญู 2
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 สรา้ ง สิทธ+ิ เสรีภาพ คุ้มครอง ปฏิรูป ลดเง่ือนไข สมั พันธภาพ นอกเหนือจาก สิทธิเสรภี าพ ประเทศ ความขดั แย้ง ทร่ี ฐั ธรรมนญู ใหก้ ับ ของ องค์กรตา่ งๆ บัญญัตไิ ว้ ประชาชน 3
สทิ ธิเสรีภาพของประชาชนตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 เน้ อื หา กลไกในการคมุ้ ครอง ก่อใหเ้ กิด ใหม้ ผี ล มที ้งั สิทธิ ศาล ศาล ศาล ผูต้ รวจการ กรรมการ หนา้ ที่แก่รฐั บงั คบั ทนั ที มนุษยชน ยตุ ิธรรม รฐั ธรรมนูญ ปกครอง แผ่นดิน สทิ ธิ ในการทาให้ แมย้ งั ไม่มี และสิทธิ สมั ฤทธ์ิผล กฎหมาย เสรีภาพของ มนุษยชน ชนชาวไทย 4
หนา้ ที่ของรฐั 5
หนา้ ทีข่ องรฐั รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กาหนด เร่ืองหน้าท่ขี องรัฐไว้เป็นคร้ังแรก เพ่ือกาหนดให้รัฐมีหน้าท่ตี ้องดาเนินการ ดูแลและจัดสวสั ดิการด้านต่าง ๆ ให้กบั ประชาชน เน่ืองจากเป็นมาตรการ พ้ืนฐานท่ีรัฐควรจะทาให้ กับประชน และท่ีผ่านมาในบางเร่ืองแม้ว่า รัฐธรรมนูญจะกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิในเร่ืองน้ัน ประชาชนก็จะมีแต่ สทิ ธแิ ต่มักไม่เกิดข้ึนจริงในทางปฏบิ ัติ จึงต้องบัญญัติให้เป็นหน้าท่ขี องรัฐ โดยตรง โดยกาหนดไว้แต่เร่ืองสาคัญ ๆ เท่าน้ัน เพ่ือบังคับให้รัฐทาตาม หน้าท่ที ่กี าหนดไว้โดยไม่ต้องพิจารณาว่าประชาชนจะมสี ทิ ธหิ รือไม่ 6
หนา้ ที่ของรฐั “หน้าท่ีของรัฐ” จะแตกต่างจาก “แนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐ” โดยบทบัญญัติในหมวดหน้าท่ขี องรัฐน้ันจะมีสภาพบังคับให้รัฐต้องทาตาม หน้าท่ี และเป็ นเหตุในการฟ้ องร้องของประชาชนให้รัฐดาเนินการตาม หน้าท่ีได้ ส่วนแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐน้ัน เป็ นเร่ืองทิศทางหรือ แนวทางในการดาเนินนโยบายของรัฐ หากรัฐไม่ดาเนินการกไ็ ม่เป็ นอาจ เป็นเหตแุ ห่งการฟ้ องร้องให้รัฐดาเนนิ การได้ 7
หนา้ ทีข่ องรฐั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 51 การใดท่รี ัฐธรรมนูญบัญญัติให้เป็นหน้าท่ขี องรัฐตาม หมวดน้ี ถ้าการน้ันเป็ นการทาเพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยตรง ย่อมเป็ นสิทธิของประชาชน และชุมชนท่ีจะติดตามและเร่งรัดให้รัฐ ดาเนินการ รวมตลอดท้งั ฟ้ องรอ้ งหน่วยงานของรัฐท่เี ก่ียวข้อง เพ่ือจัดให้ ประชาชน หรื อชุ มชนได้ รั บประโยชน์น้ั นตามหลั ก เกณฑ์แล ะวิธีก า ร ท่ี กฎหมายบญั ญัติ 8
หนา้ ที่ของรฐั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 52 รัฐต้องพิทกั ษ์รักษาไว้ซ่ึงสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธปิ ไตย บูรณภาพแห่งอาณาเขตและเขตท่ปี ระเทศไทยมีสทิ ธอิ ธปิ ไตย.... มาตรา 53 รัฐต้องดูแลให้ มีการปฏิบัติตามและบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เดก็ ทุกคนได้รับการศึกษาเป็ นเวลาสิบสอง ปี ต้งั แต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบงั คับอย่างมคี ุณภาพโดยไม่เกบ็ ค่าใช้จ่าย …. มาตรา 61 รัฐต้องจดั ให้มีมาตรการหรือกลไกท่มี ีประสทิ ธภิ าพในการคุ้มครอง และพิทกั ษ์สทิ ธขิ องผู้บริโภคด้านต่าง ๆ …. มาตรา 62 รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดเพ่ือให้ ฐานะ ทางการเงินการคลังของรัฐมีเสถียรภาพและม่ันคงอย่างย่ังยืนตามกฎหมายว่า ด้ วยวินัย การเงินการคลังของรัฐ.... 9
ระบบเลอื กต้งั 10
ระบบเลอื กต้งั เสยี งขา้ งมาก ระบบผสม สดั ส่วน รอบเดียว สองรอบ ใชเ้ ขตประเทศ แบ่งเป็ น เป็ นเขตเลอื กต้งั zone 11
ระบบเลือกต้งั ตามร่างรฐั ธรรมนูญใหม่ บตั รใบเดียว แบ่งเขต บญั ชีรายชื่อ 12
เปรียบเทียบระบบเลอื กต้งั ตาม 2540 / 2550 / 2560 สมาชิก ประเด็น 2540 2550 2560 500 จานวนรวม 500 500 เขตเลือกต้งั เขตละคน 400 เขต เขตละคน 375 เขต เขตละคน 350 เขต ส.ส. 100 คน 125 คน 150 คน ใชเ้ ขตประเทศ บญั ชีรายชือ่ ใชเ้ ขตประเทศ ใชเ้ ขตประเทศ (ใชบ้ ตั ร ใบเดียวกบั แบง่ เขต) ตอ้ งไดข้ ้นั ตา่ 5% คดิ จากสดั ส่วนคะแนน – ไม่มีจานวนข้นั ตา่ จานวน ส.ส. แบบแบ่งเขต จานวน 200 คน 150 คน 200 คน ทีม่ า เลอื กต้งั โดยตรง เลอื กต้งั โดยตรงผสม เลอื กต้งั ทางออ้ ม สรรหา (74 คน) ส.ว. ใชเ้ ขตจงั หวดั เป็ นเขต ส.ว. 76 คน เลอื กต้งั ใช้ เขตเลือกต้งั เลอื กต้งั ๆละหลาย เขตจงั หวดั เป็ นเขต - คน เลือกต้งั เขตละ 1 คน 13
การคิดคานวณจานวนสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร 1) นาคะแนนรวมท้งั ประเทศต้งั หารด้วยห้าร้อย 2) นาผลลัพธต์ าม 1) ไปหารคะแนนรวมของพรรคการเมืองแต่ละพรรค จานวน ท่ไี ด้ถอื เป็นจานวน ส.ส. ท่พี รรคการเมอื งน้นั จะพึงมไี ด้ 3) นาจานวน ส.ส. ท่พี รรคการเมอื งจะพึงมไี ด้ ลบด้วยจานวน ส.ส. แบบแบ่งเขต คอื จานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายช่ือท่พี รรคการเมอื งนน้ั จะได้รับ 4) ถ้าพรรคการเมืองใดมี ส.ส. แบบแบ่งเขตเท่ากับหรือสูงกว่าจานวน ส.ส. ท่ี พรรคการเมอื งน้ันจะพึงมีได้ ให้พรรคการเมอื งน้ันมี ส.ส. ตามจานวนท่ไี ด้รับจากการ เลือกต้ังแบบแบ่งเขต และไม่มีสิทธิได้รับ ส.ส. แบบบัญชีรายช่ือ และให้ นาจานวน ส.ส. แบบบญั ชีรายช่ือไปจดั สรรให้แก่พรรคการเมอื งอ่นื ตามอตั ราส่วน แต่ต้องไม่มผี ล ให้พรรคการเมืองใดดงั กล่าวมี ส.ส. เกนิ จานวนท่จี ะพึงมไี ด้ 5) เม่อื ได้จานวนบัญชีรายช่ือของแต่ละพรรคการเมืองแล้ว ให้ผู้สมัครตามลาดับ หมายเลขในบญั ชีรายช่ือ เป็นผ้ไู ด้รับเลือกต้งั เป็น ส.ส. 14
ทีม่ าของวุฒิสภา วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจานวน 200 คน ซ่ึงมาจากการเลือก กนั เองของบุคคลซ่ึงมีความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกนั หรือทางานหรือเคยทางานด้านต่าง ๆ ท่หี ลากหลาย ของสังคม โดยในการแบ่งกลุ่มต้องแบ่งในลักษณะท่ที าให้ประชาชนซ่ึงมี สทิ ธสิ มคั รรับเลือกทุกคน สามารถอยู่ในกล่มุ ใดกล่มุ หน่ึงได้
ที่มาของนายกรฐั มนตรี รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 88 วรรคหนึง่ ในการเลือกต้ังท่วั ไป ให้พรรคการเมืองท่ี ส่งผู้สมัครรับเลือกต้ังแจ้ งรายช่ือบุคคลซ่ึงพรรคการเมือ งน้ันมีมติว่ าจะ เสนอให้สภาผู้แทนราษฎรเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งต้ังเป็ น นายกรัฐมนตรีไม่เกนิ สามรายช่ือต่อคณะกรรมการการเลือกต้ังก่อนปิ ดการ รับสมัครรับเลือกต้ัง และให้คณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศรายช่ือ บุคคลดังกล่าวให้ประชาชนทราบ และให้นาความในมาตรา 87 วรรคสอง มาใช้บงั คบั โดยอนุโลม **ไม่ไดก้ าหนดใหต้ อ้ งเสนอชือ่ จาก ส.ส. ของพรรคการเมือง**
ที่มาของนายกรฐั มนตรี รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 159 วรรคหนึ่ง ให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาให้ความ เหน็ ชอบบุคคลซ่ึงสมควรได้รับแต่งต้ังเป็ นนายกรัฐมนตรีจากบุคคลซ่ึงมี คุณสมบัติและไม่มลี ักษณะต้องห้ามตามมาตรา 160 และเป็นผู้มชี ่ืออยู่ใน บัญชีรายช่ือท่พี รรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 เฉพาะจากบัญชีรายช่ือ ของพรรคการเมืองท่มี ีสมาชิกได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่ น้ อยกว่าร้ อยละห้ าของจานวนสมาชิกท้ังหมดเท่าท่ีมีอยู่ของสภา ผู้แทนราษฎร
ที่มาของนายกรฐั มนตรี นายกรั ฐมนตรี ต้ องมาจากผู้ ท่ีพรรคการเมืองเสนอรายช่ือต่ อ คณะกรรมการการเลือกต้ังในการเลือกต้ังท่ัวไปเพ่ือให้ประชาชน ได้ พิจารณาในการลงคะแนนเสยี งเลือกต้ังในคร้ังน้ัน โดยผ่านความเหน็ ชอบ ของสภาผู้แทนราษฎร รัฐธรรมนู ญไม่ ได้ กาหนดให้ ผู้ท่ีจะถูกเสนอช่ือเพ่ือพิจารณาให้ ความเหน็ ชอบแต่งต้ังเป็นนายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ดงั น้ัน นายกรฐั มนตรีมาจากคนนอกได้
มาตรการป้ องกนั การทุจริต 19
การกาหนดใหภ้ าครฐั และภาคประชาชน มหี นา้ ทีใ่ นการป้ องกนั ทจุ ริต 1. กาหนดให้ปวงชนชาวไทยมีหน้าท่ี “ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบทุกรูปแบบ”(มาตรา 50 (10)) 2. กาหนดให้รัฐมีหน้าท่ีต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึง อนั ตราย ท่เี กิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้งั ในภาครัฐและภาคเอกชน และ จัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือป้ องกันและขจัดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมท้ัง กลไกในการส่งเสริมให้ประชาชน รวมตัวกนั เพ่ือมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือช้ีเบาะแส โดยได้รับ ความคุ้มครองจากรัฐตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ (มาตรา 63) 3. กาหนดให้รัฐส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง เก่ียวกับหลักการสาคัญต่างๆ ในการปกครองประเทศ รวมท้ังการต่อตา้ นการ ทุจริตและประพฤติมิชอบด้วย (มาตรา 78) 20
การกาหนดลกั ษณะตอ้ งหา้ มเพอื่ ป้ องกนั มใิ หผ้ ูท้ ีเ่ คยกระทา การทจุ ริตเขา้ มาเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง ร่างรัฐธรรมนูญกาหนดให้บุคคลท่มี ีลักษณะดังต่อไปน้ี เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ ใช้ สิทธิสมัครรั บเลื อกต้ังเป็ นสมาชิ กสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 98 (2)(8)(9)(10)(11)(18)) สมาชิกวุฒิสภา (มาตรา 108 ข. (1)) และเป็น ลักษณะต้องห้ามในการเข้ารับตาแหน่งของรัฐมนตรี (มาตรา 160) (1) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (2) เคยถูกส่ังให้พ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะ ทุจริตต่อหน้าท่ี หรือถอื ว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมชิ อบในวงราชการ (3) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาส่งั ของศาลอนั ถึงท่สี ดุ ให้ทรัพย์สินตกเป็นของ แผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติ หรือเคยต้องคาพิพากษาอันถึงท่ีสุดให้ลงโทษจาคุก เพราะกระทาความผิด ตามกฎหมายว่าด้วยการป้ องกนั และปราบปรามการทุจริต 21
การกาหนดลกั ษณะตอ้ งหา้ มเพอื่ ป้ องกนั มิใหผ้ ูท้ ีเ่ คยกระทา การทจุ ริตเขา้ มาเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมอื ง (4) เคยต้องคาพิพากษาอันถึงท่สี ุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่รี าชการ หรือต่อ ตาแหน่งหน้าท่ใี นการยุติธรรม หรือกระทาความผดิ ตามกฎหมายว่าด้วยความผดิ ของพนักงานใน องค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพย์ท่ีกระทาโดยทุจริตตามประมวล กฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงนิ ท่เี ป็นการฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่า ด้วยยาเสพติดในความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า กฎหมายว่าด้ วยการพนัน ใน ความผิดฐาน เป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและปราบปรามการค้ ามนุษย์ หรือกฎหมาย ว่าด้วยการป้ องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ในความผดิ ฐานฟอกเงนิ (5) เคยต้องคาพิพากษาอนั ถงึ ท่สี ดุ ว่ากระทาการอนั เป็นการทุจริตในการเลือกต้ัง (6) เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุ การมีผลประโยชน์ในการพิจารณาร่างงบประมาณ รายจ่าย หรือ ถูกศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองส่งั ให้พ้ นจากตาแหน่ง และเพิกถอนสทิ ธสิ มัครรับเลือกต้ังเพราะเหตุทุจริต 22
การป้ องกนั การมีผลประโยชนใ์ นการพจิ ารณา ร่างงบประมาณรายจ่าย ในกรณีท่ี ส.ส. หรือ ส.ว. ไม่น้อยกว่าหน่ึงในสิบเหน็ ว่าการเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทาด้วยประการใด ๆ ท่ีมีผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิก วุฒิสภา หรือกรรมาธกิ ารมีส่วนไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในการใช้งบประมาณ รายจ่าย ให้เสนอความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้การเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทาดังกล่าวเป็ นอันส้ินผล ถ้าผู้กระทาเป็ น ส.ส. หรือ ส.ว. ให้ส้ินสุด สมาชิกภาพและให้เพิกถอนสทิ ธสิ มคั รรับเลือกต้ังของผู้น้ัน ในกรณที ่คี ณะรัฐมนตรีเป็นผู้กระทาการหรืออนุมัติให้กระทาการ หรือรู้ว่ามีการ กระทาดังกล่าวแล้วแต่มิได้ส่ังยับย้ัง ให้คณะรัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่งท้งั คณะและ ให้เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ังของรัฐมนตรีท่ีพ้นจากตาแหน่งน้ัน เว้นแต่จะ พิสจู น์ได้ว่าตนมิได้อยู่ในท่ปี ระชุมในขณะท่มี ีมติ และให้ผู้กระทาการดังกล่าวต้องรับ ผดิ ชดใช้เงินน้ันคนื พร้อมด้วยดอกเบ้ยี (มาตรา 144) 23
การป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตโดยคณะกรรมการ ป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ในกรณีท่ีมีเหตุอันควรสงสัยหรือมีการกล่าวหาว่าผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ หรือผู้ว่าการตรวจเงิน แผ่นดินผู้ใดกระทาการทุจริต ให้ ป.ป.ช. ไต่สวนข้อเทจ็ จริง และหากมีมติด้วย คะแนนเสยี งไม่น้อยกว่าก่งึ หน่ึง เหน็ ว่าผู้น้ันมีพฤติการณ์หรือกระทาความผิดตามท่ี ไต่สวน ให้ดาเนินการดังต่อไปน้ี (1) ถ้าเป็นกรณีฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏบิ ัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง ให้เสนอเร่ืองต่อศาลฎกี าเพ่ือวินิจฉัย (2) กรณีอ่ืนนอกจาก (1) ให้ส่งสานวนการไต่สวนไปยังอัยการสูงสุดเพ่ือ ดาเนินการฟ้ องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือดาเนินการอ่นื ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้ องกันและ ปราบปรามการทุจริต 24
การป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตโดยคณะกรรมการ ป้ องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เม่ือศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่ งทางการเ มือง ประทบั รับฟ้ อง ให้ผู้ถูกกล่าวหาหยุดปฏบิ ัตหิ น้าท่จี นกว่าจะมีคาพิพากษา และหากมี คาพิพากษาว่าผู้ถูกกล่าวหามีพฤติการณ์หรือกระทาความผิดตามท่ถี ูกกล่าวหา ให้ผู้ ต้องคาพิพากษาน้ันพ้นจากตาแหน่ง และให้เพิกถอนสทิ ธสิ มัครรับเลือกต้ังของผู้น้ัน และจะเพิกถอนสทิ ธเิ ลือกต้งั มีกาหนดเวลาไม่เกนิ สบิ ปี ด้วยหรือไม่กไ็ ด้ ผู้ใดถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกต้ังไม่ว่าในกรณีใด ผู้น้ันไม่มีสิทธิสมัครรับ เลือกต้ังหรือสมัครรับเลือกเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิก สภาท้องถ่นิ หรือผู้บริหารท้องถ่นิ ตลอดไป และไม่มีสทิ ธดิ ารงตาแหน่งทางการเมือง ใด ๆ (มาตรา 235) 25
การกาหนดคุณสมบตั ิผูบ้ ริหารองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ร่างรัฐธรรมนูญกาหนดให้ คุณสมบัติของผ้ ูมีสิทธิเลือกต้ังแล ะผ้ ูมีสิทธิสมัครรับ เลอื กต้งั และหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารเลอื กต้ังสมาชิกสภาท้องถ่ินและผู้บริหารท้องถ่นิ ให้เป็ นไปตามท่ีกฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินน้ันๆ บัญญัติ อย่างไรก็ ตาม รัฐธรรมนูญกาหนดให้ ต้องคานึงถึงเจตนารมณ์ในการป้ องกันและ ปราบปรามการทุจริตตามแนวทางที่บญั ญตั ิไวใ้ นรฐั ธรรมนูญดว้ ย (มาตรา 252) 26
ประเด็นเกีย่ วกบั การป้ องกนั การทุจริตในการปฏิรูปประเทศ ร่ างรัฐธรรมนูญกาหนดให้ มีการปฏิรูปประเทศด้ านการบริหารราช การ แผ่นดินโดยให้ มีการปรับปรุงระบบการจัดซ้ ือจัดจ้ างภาครัฐให้ มีควา มคล่ องตัว เปิ ดเผย ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้ องกันการทุจริตทุกข้ันตอน (มาตรา 258 (5)) 27
การแกไ้ ขเพิม่ เติมรฐั ธรรมนูญตามรฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ผูเ้ สนอขอ ผูม้ ีอานาจ เน้ ือหา ระยะเวลา คะแนนเสียง แกไ้ ข พจิ ารณา รฐั สภา แกไ้ ดย้ กเวน้ ใหร้ อเวลา -การเปลีย่ นแปลง 15 วนั ระหว่าง การปกครองระบอบ วาระที่สอง ครม. ส.ส. 1/5 ส.ส.+ส.ว.1/5 ประชาชน ประชาธิปไตยอนั มี 50,000 คน พระมหากษตั ริยท์ รง กบั สาม เป็ นประมุข วาระที่ 1 วาระที่ 2 วาระที่ 3 -การเปลีย่ นแปลง ไม่นอ้ ย เสยี ง ไม่นอ้ ย กว่ากงึ่ หนึง่ ขา้ งมาก กว่ากงึ่ รูปของรฐั หนงึ่ 28
การปฏิรูปประเทศ ดา้ นการเมือง ดา้ นกฎหมาย ดา้ นกระบวนการ ดา้ นอื่นๆ ยุติธรรม ดา้ นการบริหาร ดา้ นการศึกษา ดา้ นเศรษฐกจิ ราชการแผ่นดิน 29
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: