Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

Description: รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

Keywords: รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

Search

Read the Text Version

ก รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

ก คำนำ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดทารายงานสถานการณ์ ทางด้านสังคมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 256๔ โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อให้มขี ้อมูลสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด ที่ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายท่ีสามารถใช้ประโยชน์ในการช่วยเหลือ จัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยใ์ นจังหวดั แผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสงั คม และความม่ันคงของมนุษย์ในจังหวัด ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมได้อย่างแท้จริง และให้หน่วยงานระดับกระทรวงนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ แนวโน้ม และกาหนดนโยบาย และแผนงานในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาสังคมภาพรวมต่อไป โดยแยกเป็นสถานการณ์เชิงกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กและเยาวชน ครอบครัว คนพิการ ผู้สูงอายุ และคนไร้ท่ีพ่ึง/คนขอทาน สถานการณ์เชิงประเด็น ได้แก่ สถานการณ์การค้ามนุษย์ ความรุนแรงในครอบครัว การให้การบริการของศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน ๑๓๐๐ และการแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 256๔ ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน และผู้สนใจท่ัวไป ในการวิเคราะห์และเฝ้าระวังสถานการณ์ทางสังคม ตลอดจนกาหนดนโยบายให้สอดคล้อง กับสภาพปญั หาของกล่มุ เปา้ หมาย เพื่อปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาทางสังคมที่เกดิ ขนึ้ ต่อไป สานักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวดั เชียงใหม่ สิงหาคม 256๔ รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

สำรบัญ ข เรอ่ื ง หน้ำ คานา ก สารบญั ข สารบัญ (ตาราง) ง สารบญั (แผนภาพ) ฉ สารบัญ (แผนภูมิ) ช สว่ นท่ี 1 บทนำ ๑ ๑ 1.1 หลักการและเหตผุ ล ๒ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ ๒ ๑.3 วธิ ดี าเนนิ งาน 2 ๑.4 ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ 3 ส่วนที่ 2 ขอ้ มูลทั่วไปจงั หวดั เชียงใหม่ 4 2.1 ท่ตี ้ังและอาณาเขต 5 2.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ 5 ๒.3 ลักษณะภูมอิ ากาศ 6 2.4 ข้อมูลการปกครอง 7 ๒.5 ด้านประชากร 12 2.6 ดา้ นศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมและข้อมลู ชาติพันธ์ุ 13 2.7 ด้านสาธารณสุข 15 2.8 ด้านการศึกษา 20 2.๙ ด้านแรงงาน 24 ๒.๑๐ ดา้ นทอี่ ยู่อาศัย 24 2.11 ด้านเศรษฐกิจและรายได้ 28 2.12 ด้านภาคเี ครือข่าย 29 ส่วนท่ี 3 สถำนกำรณ์ทำงสังคมของจังหวดั เชียงใหม่ 29 3.1 กลมุ่ เด็ก 30 ๓.๒ กลมุ่ เยาวชน 30 3.๓ กลุ่มสตรี 31 3.๔ กล่มุ ครอบครวั 32 3.๕ กล่มุ ผสู้ งู อายุ 33 3.6 กลมุ่ คนพิการ 35 3.7 กลุม่ ผ้ดู อ้ ยโอกาส 37 ส่วนท่ี 4 สถำนกำรณเ์ ชิงประเด็นทำงสังคมจังหวดั เชยี งใหม่ 37 4.1 สถานการณก์ ารค้ามนษุ ย์ 41 4.๒ สถานการณค์ วามรุนแรงในครอบครัว 45 4.๓ การใหบ้ รกิ ารของศูนยช์ ่วยเหลอื สงั คมสายดว่ น ๑๓๐๐ รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

สำรบัญ (ตอ่ ) ค เรื่อง หน้ำ สว่ นท่ี 5 กำรวิเครำะห์และจัดลำดบั ควำมรนุ แรงของสถำนกำรณ์ทำงสงั คมจังหวัด 48 48 5.1 สถานการณเชิงกลุมเป้าหมายในพื้นทจ่ี งั หวัด 48 ๕.1.๑ กลมุ่ เดก็ 49 ๕.1.2 กลุ่มเยาวชน 50 ๕.1.3 กลมุ่ สตรี 50 ๕.1.๔ กลุ่มครอบครัว 51 ๕.1.๕ กลุ่มผสู้ งู อายุ 52 ๕.1.๖ กลุ่มคนพิการ 52 ๕.1.๗ กลุ่มผูด้ ้อยโอกาส 53 ๕.๒ การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวัดเชยี งใหม่ 57 สว่ นท่ี 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 58 ๕.๑ บทสรุปสถานการณส์ าคัญของจังหวดั 58 ๕.๒ ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย 58 ๕.๓ ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏิบตั ิระดบั จังหวดั ภำคผนวก รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

ง สำรบัญ (ตำรำง) เรื่อง หน้ำ ตารางที่ ๒.๑ แสดงท่ีตงั้ และอาณาเขตพืน้ ทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่ 4 ตารางท่ี ๒.๒ แสดงจานวนเขตการปกครองพื้นท่ีจงั หวัดเชียงใหม่ 6 ตารางที่ ๒.3 แสดงจานวนแบ่งเขตการปกครองตามรายอาเภอ 6 ตารางที่ 2.4 แสดงสถติ ิประชากร 7 ตารางท่ี 2.5 แสดงจานวนประชากรแยกตามชว่ งอายุ จาแนกตามเพศ และจังหวดั เชียงใหม่ 7 ตารางท่ี ๒.6 สถิติจานวนประชากรและบา้ น พนื้ ที่จงั หวดั เชียงใหม่ ขอ้ มูล ปี 2563 10 ตารางที่ 2.7 แสดงจานวนกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ 13 ตารางที่ ๒.8 แสดงจานวนหนว่ ยบริการสาธารณสขุ ภาครัฐและภาคเอกชน จงั หวัดเชียงใหม่ 13 ตารางท่ี ๒.9 แสดงบริการด้านสาธารณสุข 14 ตารางที่ ๒.10 แสดงจานวนประชากรต่อแพทยร์ ายจังหวัด 14 ตารางที่ 2.11 อตั ราการเกิด- การตาย และอัตราการเพิ่มตามธรรมชาติ ปี พ.ศ. 2557 – 2563 15 ตารางที่ ๒.12 แสดงสาเหตุการตาย ๕ อันดบั แรกจากโรคตา่ งๆ จงั หวดั เชียงใหม่ 15 ตารางที่ 2.13 แสดงประเภทการจดั ศึกษา 15 ตารางที่ 2.14 จานวนนักเรียนนกั ศึกษาในระบบ จาแนกตามระดับช้นั ปี พ.ศ. ๒๕๖2 16 ตารางที่ 2.15 สถานศึกษาในระบบนอกระบบ จาแนกรายสังกดั รายจังหวัดปีการศึกษา 2563 16 ตารางที่ 2.16 ข้อมูลจานวนสถานศกึ ษา นักเรียน/นักศึกษา ครู/อาจารย์ หอ้ งเรียน แต่ละสังกัด ปี 17 การศึกษา 2563 ตารางที่ 2.17 ข้อมูลจานวนนกั เรยี นพิการ จาแนกตามประเภทความพกิ าร 18 ตารางท่ี 2.18 ข้อมูลจานวนนกั เรียนออกกลางคันจาแนกตามประเภทและสงั กดั 19 ตารางที่ 2.19 คะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี 19 พ.ศ. 2559 – 2561 ตารางที่ 2.20 ค่าเฉลย่ี เชาวน์ปญั ญา (IQ) ของเด็กนักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 (คะแนน) ปี 20 พ.ศ. 2559 ตารางท่ี 2.21 ภาวการณ์มงี านทาของประชากรในจังหวดั เชยี งใหม่ ไตรมาส 4 (ตลุ าคม – ธันวาคม 20 ๒๕๖๓) ตารางที่ 2.22 ประชากรจังหวัดเชยี งใหม จาแนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน 21 ตารางที่ 2.23 ผูมงี านทาจังหวัด เชยี งใหมจาแนกตามอาชีพและเพศ ไตรมาส 4 ป 2563 22 ตารางท่ี 2.24 จานวนคนต่างด้าวทไี่ ดร้ บั อนญุ าตทางานคงเหลือ พ.ศ.255๙-256๓ ของจังหวดั 24 เชียงใหม่ ตารางท่ี ๒.25 แสดงจานวนชมุ ชนผู้มรี ายไดน้ อ้ ยของจังหวัด พ.ศ. 2563 24 ตารางที่ 2.26 แสดงการขยายตัวของผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั 25 ตารางที่ ๒.27 แสดงผลิตภณั ฑ์จงั หวดั ต่อหวั (GPP per capita) ปี ๒๕๖2 25 ตารางที่ ๒.28 แสดงรายได้โดยเฉลยี่ ต่อเดือนต่อครัวเรือนของจังหวัด พ.ศ.๒๕๕๘ –๒๕๖๒ 27 รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

จ สำรบญั (ตำรำง) ต่อ เร่อื ง หน้ำ ตารางที่ ๒.29 แสดงหน้สี ินเฉลีย่ ต่อครัวเรอื น จาแนกตามวตั ถุประสงค์ของการกยู้ ืม พ.ศ. ๒๕๕๘ – 27 ๒๕๖๒ ตารางท่ี 2.30 แสดงจานวนองค์กรภาคีเครือขา่ ย 28 ตารางที่ 3.๑ แสดงสถานการณ์เดก็ จาแนกตามจงั หวัด 29 ตารางที่ 3.๒ แสดงสถานการณ์เยาวชน จาแนกตามจงั หวดั 30 ตารางท่ี 3.๓ แสดงสถานการณ์กลมุ่ สตรี จาแนกตามจังหวัด 30 ตารางที่ 3.๕ แสดงสถานการณ์ผสู้ ูงอายุ จาแนกตามจังหวัด 32 ตารางที่ 3.๖ แสดงสถานการณค์ นพิการ จาแนกตามจงั หวัด 33 ตารางที่ 3.7 แสดงจานวนคนพิการจาแนกตามสาเหตุความพิการ แยกรายจังหวดั 33 ตารางที่ 3.8 แสดงประเภทคนพกิ าร 34 ตารางที่ 3.9 แสดงสถานการณก์ ลมุ่ ผู้ด้อยโอกาส จาแนกตามจงั หวดั 35 ตารางท่ี 3.10 แสดงสถานการณก์ ลุม่ คนไรท้ ี่พึ่งปี พ.ศ. 25๖๐ – 256๔ 35 ตารางที 3.11 แสดงผลการดาเนินงานคนขอทานปี พ.ศ. 25๖๐ – 256๔ 36 ตารางที่ 4.1 จานวนผูต้ ้องหาคดีค้ามนุษย์ในจังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2560 – 2563 จาแนกตาม 38 สญั ชาติและเพศ ตารางที่ 4.2 จานวนผู้เสียหายจากคดีค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2560 – 2563 จาแนกตาม 38 สญั ชาติและเพศ ตารางท่ี 4.3 จานวนผู้ประสบปัญหาแจ้งเหตุ ขอรับคาปรึกษา ขอรับความช่วยเหลือและคุ้มครอง 41 สวสั ดภิ าพ กรณี ความรนุ แรงในครอบครวั ตารางท่ี 4.4 แสดงจานวนข้อมูลผู้ถกู กระทาความรุนแรงในครอบครวั 41 ตารางที่ 4.5 แสดงจานวนขอ้ มูลผู้กระทาความรุนแรงในครอบครวั 44 ตารางที่ 4.6 แสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างผกู้ ระทาความรุนแรงกบั ผู้กระทาความรุนแรง ปี 42 พ.ศ.2564 ตารางที่ 4.7 รูปแบบความรนุ แรงในครอบครัว 42 ตารางท่ี 4.8 สถานการณ์ความเข้มแข็งของครอบครวั ในพื้นท่จี งั หวัดเชยี งใหม่ 44 ตารางที่ ๔.9 แสดงผลการดาเนินงานตามกรอบ 7 มติ ิ (มาตรฐาน ๑๓๐๐) 46 ตารางท่ี ๕.1.๑ แสดงผลการจัดลาดับของสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั กล่มุ เด็ก 48 ตารางที่ ๕.1.๒ แสดงผลการจดั ลาดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมจังหวดั กล่มุ เยาวชน 49 ตารางท่ี ๕.1.๓ แสดงผลการจัดลาดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด กล่มุ สตรี 49 ตารางท่ี ๕.1.๔ แสดงผลการจัดลาดับความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมครอบครัว 50 ตารางที่ ๕.1.๕ แสดงผลการจัดลาดบั ความรุนแรงของสถานการณท์ างสงั คมจังหวัด กลุ่มผสู้ งู อายุ 51 ตารางท่ี ๕.1.๖ แสดงผลการจดั ลาดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมจงั หวดั กลุ่มคนพิการ 52 รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

ฉ สำรบญั (แผนภำพ) หน้ำ 34 เรือ่ ง 37 แผนภาพที่ 3.1 แสดงขอ้ มูลคนพกิ ารระดบั อาเภอ 44 แผนภาพที่ 3.2 แสดงสถานการณ์กลุ่มคนไร้ท่ีพึ่งและขอทาน 46 แผนภาพที่ 4.1 แสดงการขับเคลือ่ นงานปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาความรุนแรงในครอบครวั 47 แผนภาพที่ 4.2 แสดงขน้ั ตอนการใหบ้ ริการสายด่วน ๑๓๐๐ 54 แผนภาพที่ 4.3 แสดงสถิตกิ ารให้บริการศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม สายด่วน ๑๓๐๐ แผนภาพท่ี 5.1 แสดงสถานการณก์ ารระบาด Covid-๑๙ จงั หวดั เชยี งใหม่และแสดงการบรหิ าร 56 การฉีดวคั ซนี จังหวัดเชียงใหม่ แผนภาพท่ี 5.2 การให้ความช่วยเหลอื ผูไ้ ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ของทีม One home เชียงใหม่ รายงานสถานการณส์ งั คมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

ช สำรบัญ (แผนภูม)ิ เรอ่ื ง หน้ำ แผนภมู ิที่ 2.๑ แสดงจานวนประชากรจงั หวัดเชียงใหม่ปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ 8 แผนภูมทิ ่ี ๒.2 แสดงจานวนประชากรในเขตพ้นื ที่จงั หวดั เชียงใหม่ 9 แผนภูมทิ ่ี 2.3 แสดงคะแนนเฉลีย่ การทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 19 2559 – 2561 แผนภูมิท่ี 2.4 ตาแหนงงานวาง 23 แผนภูมิท่ี 2.5 จานวนแรงงานตางดาวเขามาทางานในจังหวัดเชียงใหมอยางถูกตองตาม 23 กฎหมาย แผนภูมทิ ่ี 2.6 แสดงหน้ีสินเฉลี่ยตอ่ ครวั เรอื นจาแนกตามวตั ถุประสงค์ของการกูย้ ืม พ.ศ. ๒๕๖2 27 แผนภมู ทิ ่ี 4.1 แสดงจานวนคดคี ้ามนุษยจ์ ังหวัดเชยี งใหม่ ระหว่างปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ 37 รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๑ สว่ นท่ี 1 บทนำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มีสาระสาคัญเก่ียวข้องกับการบูรณาการ โดยกาหนดว่า “ในกรณีที่ภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วน ราชการหรือเป็นภารกิจท่ีใกล้เคียงหรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องน้ันกาหนดแนวทางปฏิบัติ ราชการ เพื่อให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ” (มาตรา 10 วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจท่ีมี ความสาคัญหลายเรื่อง แต่ยังเกิดปัญหาความซ้าซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆ ภารกิจ เป็นผลให้เป็นการ สิน้ เปลืองทรพั ยากรเป็นอยา่ งมาก การปฏริ ูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชงิ ยุทธศาสตร์” สู่ “ระบบงบประมาณเชิงพื้นที่” (Arae-Based Budgeting : ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของการทางบประมาณ แบบมีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมกี ารฟังเสยี งประชาชนในพ้ืนท่ี มีกระบวนการทาแผนพัฒนา จากล่างขึ้นบนตั้งแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานทั้งภูมิภาคและท้องถ่ินร่วมกันกลั่นกรอง ทาให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพ้ืนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึง่ เป็นท้ังกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธผิ ลการใชง้ บประมาณแผ่นดิน การมสี ว่ นร่วมของประชาชนใน การบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและธรรมาภิบาล การควบคุมพฤติกรรมนักการเมืองโดย ประชาชนในพื้นที่และการบูรณาการการทางานของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยู่ในพื้นท่ีร่วมกัน ซึ่งตามแผนปฏิรปู กาหนดใหเ้ รมิ่ ต้ังแต่ปงี บประมาณ ๒๕๔๘ สานักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวัดเชยี งใหม่ในฐานะหน่วยงานด้านสังคมทส่ี าคัญ ในการขับเคล่ือนงานด้านสังคม พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิแก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น เด็ก เยาวชน สตรี คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น เพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการด้านสังคมจากหน่วยงานรัฐ และ ภาคเอกชน และสามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิศรีรวมท้ังผลักดันให้เกิดการป้องกันและแก้ไขปัญหา สังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพ่ือมุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพ้ืนฐานความรับผิดชอบร่วมกัน สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้จัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม จังหวัดเชียงใหม่ ประจาปีพ.ศ. 256๔ ขึ้น เพื่อรวบรวม วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคมในจังหวัด ประกอบด้วยสถิติการให้บริการที่เป็นปัจจุบัน ทนั ต่อสถานการณ์ ครอบคลมุ ทั้งข้อมูลเชิงกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูล เชิงประเด็น ข้อมูลจากระบบสารสนเทศของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ข้อมูลด้าน สังคมจากหน่วยงานแวดล้อมกระบวนงาน ข้อมูลที่บ่งชี้ถึงสถานการณ์ทางสังคมตัวชี้วัดท่ีเป็นสากล รวมทั้ง สถานการณ์ทางสังคมอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง และข้อเสนอแนะในการปูองกัน แก้ไขปัญหาท้ังในเชิงนโยบายและ ปฏิบตั ิอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล “ข้อมูลทางสังคม” หมายถึง ข้อมูลท่ีบ่งช้ีลักษณะของกลุ่มเป้าหมายที่ต้องให้การคุ้มครองเพ่ือสร้าง ความม่ันคงในชีวิตท่ีสามารถใช้ประโยชน์ในการป้องกัน และแก้ไขความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสังคม รวมถึง ข้อมูลสถานการณ์ของประเด็นปญั หาทางสังคมสาคัญท่เี กิดข้ึนในรอบปี “รายงานสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัด” หมายถึง การรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคม ในจังหวัด ประกอบด้วย สถิติการให้บริการเป็นปัจจุบัน ทันต่อสถานการณ์ ครอบคลุมทั้งข้อมูลเชิง กลมุ่ เป้าหมาย ขอ้ มูลเชงิ ประเด็น ข้อมูลจากระบบสารสนเทศของ พม. ขอ้ มลู ด้านสังคมจากหน่วยงานแวดล้อม รายงานสถานการณ์สังคมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๒ กระบวนงาน ข้อมูลบ่งช้ีถึงสถานการณ์ทางสังคม ตัวชี้วัดที่เป็นสากล รวมทั้งสถานการณ์ทางสังคมอ่ืนๆ ท่เี กี่ยวข้อง และขอ้ เสนอแนะในการปอ้ งกันแก้ไขปัญหาท้ังในเชงิ นโยบายและปฏิบตั ิ ๑.๒ วตั ถุประสงค์ ๑.๒.๑ เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมท่ีเกิดข้ึนในเขตพืน้ ท่ีจงั หวัด เชยี งใหม่ ๑.๒.๒ เพื่อคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ จังหวัด.เชียงใหม่ ๑.๒.๓ เพอื่ เสนอแนะแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาทางสังคมในพื้นที่จังหวดั เชียงใหม่ 1.3 วธิ ีดำเนนิ งำน ๑) ประชุมช้ีแจงแนวทางและกาหนดรูปแบบการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมในระดับจังหวัด ประจาปี ๒๕๖๔ ๒) สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ัดทารายงานสถานการณ์ทางสงั คมในระดบั จังหวดั ๓) นาเสนอรายงานให้สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 เพ่ือนาข้อมูลไปจัดทารายงาน สถานการณท์ างสังคมระบบกล่มุ จงั หวัดและขับเคล่ือนโครงการระดบั จงั หวัดกลุ่มจังหวัด ๔) ประชุมถอดบทเรียนการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสงั คมจังหวัด ประจาปี ๒๕๖๔ ๕) เผยแพร่และประชาสัมพันธก์ ารนาไปใชป้ ระโยชนผ์ ่านช่องทางต่างๆ 1.4 ผลท่ีคำดวำ่ จะไดร้ ับ 1) มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัดที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถใช้ประโยชน์ในการ ปอ้ งกัน และแกไ้ ขปัญหาสังคม 2) หน่วยงานระดับท้องถ่ินและระดับจังหวัด สามารถนาข้อมูลในพ้ืนที่ไปใช้ในการกาหนด นโยบาย แผนงาน โครงการในการคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพื้นท่ี และหน่วยงานระดับ กระทรวง สามารถนาข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา ทางสังคมท่ีสาคัญและ กาหนดนโยบายแผนงานในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาสังคมภาพรวมตอ่ ไป รายงานสถานการณส์ งั คมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓ สว่ นท่ี 2 ข้อมลู ทว่ั ไปของจังหวดั เชียงใหม่ ประวตั ิเมอื งเชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่ มีช่ือท่ีปรากฏในตานานว่า \"นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่\" เป็นราชธานีของอาณาจักร ลา้ นนาไทยมาต้งั แต่พญามังรายไดท้ รงสร้างขึ้น เมอ่ื พ.ศ.1839 และเมืองเชยี งใหม่ไดม้ ีวิวฒั นาการสืบเนื่องกัน มาในประวัติศาสตร์ตลอดมา เชียงใหม่มีฐานะเป็นนครหลวงอิสระ ปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ.1839 -2100) ในปีพ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเอกราชให้แก่กษัตริย์พม่า ชื่อบุเรงนอง และได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่านานร่วมสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช และพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงช่วยเหลอื ล้านนาไทยภายใต้การนาของ พระยากาวิละและพระยาจ่าบ้านในการทาสงครามขับไล่พม่าออกไปจากเชียงใหม่และเมืองเชียงแสนได้สาเร็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถาปนาพระยากาวิละเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ ในฐานะเมือง ประเทศราชของไทย และมีเช้ือสายของพระยากาวิละ ซึ่งเรียกว่าตระกูลเจ้าเจ็ดตน ปกครองเมืองเชียงใหม่ เมืองลาพูนและเมืองลาปางสืบต่อมาจนกระทั่งในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพ ระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ปฏิรูปการปกครอง หัวเมืองประเทศราช ได้ยกเลิกการมีเมืองประเทศราชในภาคเหนือ จัดตั้งการ ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า มณฑลพายัพ และเม่ือปีพ.ศ.2476 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวได้ปรับปรุงการปกครองเป็นแบบจังหวัด เชียงใหม่จึงมีฐานะเป็นจังหวัดจนถึงปัจจุบัน ทั้งน้ี ในการประชุมคณะรัฐมนตรคี ร้ังที่ 18/2554 เมื่อวันอังคารท่ี 3 พฤษภาคม 2554 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้ ความเห็นชอบใหจ้ ังหวัดเชียงใหม่เป็น “นครท่เี ป็นที่สุดแห่งความสง่างามทางวัฒนธรรม” (Chiang Mai : The Most Splendid City of Culture) และในปี พ.ศ.2559 จะถือเป็นปีครบรอบการสถาปนาเมืองเชียงใหม่ อายคุ รบ 720 ปี รวมระยะเวลาของเชียงใหมจ่ นถึงปัจจบุ ัน พ.ศ.2564 อายุ 724 ปี คำขวัญจงั หวัดเชียงใหม่ “ดอยสุเทพเปน็ ศรี ประเพณีเป็นสงา่ บุปผชาตลิ ว้ นงามตา นามลา้ ค่านครพงิ ค์” ตรำประจำจังหวดั รูปช้ำงเผือกหันหน้ำตรงในเรือนแก้ว ความหมาย ช้างเผือก หมายถึง ช้างที่เจ้า ผู้ครองนครเชยี งใหม่ นาทูลเกล้าถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย และได้ขนึ้ ระวางเปน็ ช้างเผอื กเอก ในรชั กาลพระองค์ เรือนแกว้ หมายถงึ ดินแดนที่ พระพุทธศาสนาได้ตั้งมัน่ เจริญรงุ่ เรือง จนเคยเปน็ สถานทีส่ าหรับสงั คายนา (คือการ ชาระความถูกตอ้ ง) พระไตรปฏี ก เมื่อพุทธศักราช 2020 ต้นไมป้ ระจำจงั หวดั “ตน้ ทองกวาว” ดอกไม้ประจำจังหวดั “ดอกทองกวาว” รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔ ๒.1 ที่ตง้ั และอำณำเขต ตำรำงที่ ๒.๑ แสดงท่ตี งั้ และอาณาเขตพ้ืนที่จังหวดั เชียงใหม่ จังหวัด พ้ืนที่ ไร่ จำนวนประชำกร ควำมหนำแน่น ตำรำงกิโลเมตร (คน) ของประชำกร (ตร.กม./คน) เชยี งใหม่ 20,107.057 13,865,388.61 1,784,370 88.74 ทม่ี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมลู ณ วันท่ี 20 สิงหาคม 2564 จงั หวัดเชียงใหม่ต้ังอยทู่ างทิศเหนือของประเทศไทย เส้นรุง้ ที่ 16 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา ตะวันออก สูงจากระดับน้าทะเลปานกลางประมาณ 1,027 ฟุต (310เมตร) ห่างจากกรุงเทพมหานคร 696 กิโลเมตร โดยมีส่วนกว้างท่ีสุดจากทิศตะวันออกถึงตะวันตก กว้างประมาณ 138 กิโลเมตร และส่วนที่ ยาวท่สี ดุ คือ จากทศิ เหนือถงึ ทศิ ใต้ ยาวประมาณ 320 กิโลเมตร (ยาวมากที่สดุ ของประเทศ) 2.1.1 อำณำเขต ทิศเหนือ รัฐฉานของสหภาพเมียนมาร์ โดย มีสันปันน้าของดอยคา ดอยปกเกล้า ดอย หลักแต่ง ดอยถ้าป่อง ดอยถ้วย ดอยผาวอก และ ดอยอ่างขาง อันเป็นส่วนหน่ึงของทิวเขาแดนลาว เป็นเส้นก้ันอาณาเขตทิศใต้ อาเภอสามเงา อาเภอ แม่ระมาด และอาเภอท่าสองยาง (จังหวัดตาก) มี ร่องน้าแม่ต่ืนและสันปันน้า ดอยเร่ียม ดอยหลวง เป็นเสน้ กนั้ อาณาเขต ทิศตะวันออก ติดอาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียง ป่าเป้า(จังหวัดเชียงราย) อาเภอเมืองปาน อาเภอ เมืองลาปาง (จังหวัดลาปาง) อาเภอบ้านธิ อาเภอ เมืองลาพูน อาเภอป่าซาง อาเภอเวียงหนองล่อง อาเภอบ้านโฮ่ง และอาเภอล้ี (จังหวัดลาพูน) ส่วน ท่ีติดจังหวัดเชียงรายและลาปาง มีร่องน้าลึกของ แมน่ ้ากก สนั ปันนา้ ดอยซาง ดอยหลุมขา้ ว ดอยแม่ วัวน้อย ดอยวังผา และดอยแม่โต เป็นเส้นกั้น อาณาเขต ส่วนที่ติดจังหวดั ลาพูนมีดอยขุนห้วยหละ ดอยช้างสงู และรอ่ งน้าแมป่ ิงเป็นเส้นกนั้ อาณาเขต ทศิ ตะวนั ตก ติดอาเภอปาย อาเภอเมืองแมฮ่ ่องสอน อาเภอขนุ ยวม อาเภอแม่ลาน้อย อาเภอแม่ สะเรียง และอาเภอสบเมย (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) มีสันปันน้าดอยก่ิวแดง ดอยแปรเมือง ดอยแม่ยะ ดอยอังเกตุ ดอยแมส่ ุรนิ ทร์ ดอยขุนยวม ดอยหลวง และรอ่ งแมร่ ิด แมอ่ อย และสนั ปันนา้ ดอยขนุ แม่ตน่ื เปน็ เส้นกั้นอาณาเขต รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๕ พ้ืนท่ชี ำยแดน จงั หวัดเชยี งใหม่ มชี ายแดนติดต่อกบั ประเทศพมา่ เพยี งประเทศเดียว และมพี ้ืนทีต่ ิดต่อใน 5 อาเภอ ได้แก่ 1) อาเภอแม่อาย : 4 ตาบล ได้แก่ ตาบลแม่อาย ตาบลมะลิกา ตาบลแม่สาว และตาบลท่า ตอนเมือง ท่ตี ดิ ต่อ คอื เมืองยอน รฐั ฉาน 2) อาเภอฝาง : 2 ตาบล ได้แก่ ตาบลม่อนป่ิน และตาบลแม่งอน เมืองท่ีติดต่อ คือ บ้านโป่ง ปา่ แขม เมืองตว่ น รฐั ฉาน 3) อาเภอเชยี งดาว : 1 ตาบลไดแ้ ก่ ตาบลเมืองนา เมอื งทตี่ ดิ ตอ่ คอื บา้ นนา้ ยุม เมืองตว่ นรฐั ฉาน 4) อาเภอเวียงแหง : 3 ตาบล ได้แก่ ตาบลเปียงหลวง ตาบลเมืองแหง และตาบลแสนไห เมอื งที่ติดตอ่ คอื บ้านบางใหมส่ งู บ้านปางเสือเฒ่า บ้านกองเฮอื บนิ เมอื งต่วน รัฐฉาน 5) อาเภอไชยปราการ : 1 ตาบล ได้แก่ ตาบลหนวงบัว เมืองที่ติดต่อ คือ บ้านโป่งป่าแขม เมืองต่วน รฐั ฉาน 2.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ จังหวัดเชียงใหม่มีพ้ืนที่ 20,107.057 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 13,865,388.61 ไร่ มีพื้นท่ีกว้างใหญ่เป็นอันดับที่ 1 ของภาคเหนือ และเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปมีสภาพพ้ืนที่เป็นภูเขาและป่าไม้มีที่ราบอยู่ตอนกลางตามสองฟากฝั่งแม่น้าปิง จาแนกเป็น พื้นที่ป่าไม้ 69.92% (8,787,656 ไร่) พื้นที่ทางการเกษตร 12.82% (1,835,425 ไร่) พื้นที่ อยู่อาศยั และอืน่ ๆ 17.26% (2,167,971 ไร่) มีภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์สูงประมาณ 2,565.3355 เมตร อยู่ในเขตอาเภอ จอมทอง นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีก 3 หลายแห่ง เช่น ดอยผ้าห่มปก สูง 2,285 เมตร ดอย หลวงเชียงดาว สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพสูง 1,601 เมตร สภาพพืน้ ท่แี บง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คอื - พื้นที่ภูเขา ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ร้อยละ 80 ของพนื้ ที่จังหวดั เป็นพื้นทปี่ ่าตน้ นา้ ลาธาร ไมเ่ หมาะสมตอ่ การเพาะปลูก - พ้ืนที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา กระจายอยู่ทั่วไประหว่างหุบเขาทอดตัวในแนวเหนือ - ใต้ ได้แก่ ทีร่ าบลมุ่ น้าสาละวิน ลุ่มนา้ กก-โขง และล่มุ นา้ ปิงเปน็ พน้ื ทท่ี ม่ี ีความอุดมสมบรู ณเ์ หมาะสมต่อการเกษตร ทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดเชียงใหม่มีป่าไม้หลายประเภท ประกอบด้วย ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่า เบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าเต็งรงั ผสมป่าสนเขา และป่าแดง เป็นต้น พืน้ ที่ป่าไม้ ประกอบดว้ ย ป่าธรรมชาติ สวนป่า และป่าฟ้ืนฟูตามธรรมชาติ โดยมีพื้นท่ีป่าไม้อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ 12,222,395 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 69.93 ของพ้ืนท่ีท้ังจังหวัด แบ่งเป็นป่าสงวนแห่งชาติ จานวน 25 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 14 แห่ง เขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง วนอุทยานแห่งชาติ 2 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง และ จังหวัดเชียงใหม่ยังเป็น จังหวัดที่ถือได้ว่ามีพ้ืนท่ีเขตเมืองใกล้กับเขตอุทยานแห่งชาติมากท่ีสุดในประเทศอีกด้วย อุทยานแห่งชาติใน จังหวัดเชียงใหม่ 13 อุทยาน แม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าปิง และมีแหล่งน้าขนาดใหญ่ 2 แห่ง คือ เข่ือนแม่กวง อดุ มธารา อาเภอดอยสะเกด็ และเข่อื นแม่งดั สมบรู ณ์ชล อาเภอแม่แตง ๒.3 ลักษณะภมู ิอำกำศ เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีสภาพอากาศค่อนข้างเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิ เฉล่ียท้ังปี 25.4 องศา เซลเซียส โดยมีค่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดเฉล่ีย 20.1 องศาเซลเซียส รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๖ มีปริมาณน้าฝนเฉล่ีย 1,100 - 1,200 มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหม่อยู่ภายใต้อิทธิพลมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสมุ ตะวนั ตก-เฉยี งใต้และลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือแบง่ ภมู ิอากาศออกเปน็ 3 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดูฝน เริม่ ตั้งแต่กลางเดอื นพฤษภาคมถงึ เดือนตุลาคม ฤดูหนาว เรมิ่ ต้ังแตเ่ ดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ฤดรู อ้ น เริ่มตั้งแตเ่ ดอื นกุมภาพันธ์ถงึ กลางเดอื นพฤษภาคม 2.4 ข้อมูลกำรปกครอง ตำรำงท่ี ๒.๒ แสดงจานวนเขตการปกครองพน้ื ท่จี ังหวัดเชียงใหม่ จงั หวัด อำเภอ ตำบล หมบู่ ำ้ น อบจ. เทศบำล เทศบำล เทศบำล (หนว่ ย:แหง่ ) นคร เมอื ง ตำบล อบต. เชยี งใหม่ 25 204 2,066 1 1 4 116 89 ท่มี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, วนั ที่ 20 สิงหาคม 2564 จงั หวัดเชียงใหมแ่ บ่งเขตการปกครองออกเป็น 25 อาเภอ 204 ตาบล 2,066 หมูบ่ ้าน และองค์การ บริหารส่วนจงั หวัด จานวน 1 แห่ง เทศบาลนคร จานวน 1 แหง่ เทศบาลเมือง จานวน 4 แห่ง เทศบาลตาบล จานวน 116 แห่ง และองคก์ ารบริหารส่วนตาบล จานวน 89 แห่ง และมีหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ี ประกอบด้วย หน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง จานวน 166 หนว่ ยงาน หนว่ ยงานบรหิ ารราชการสว่ นภูมิภาค จานวน 34 หน่วยงาน หนว่ ยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จานวน 211 แหง่ ตำรำงท่ี ๒.3 แสดงจานวนแบ่งเขตการปกครองตามรายอาเภอ ลำดบั ช่ืออำเภอ จำนวน หมบู่ ำ้ น ชุมชน อบจ. เทศบำล เทศบำล เทศบำล อบต. ตำบล นคร เมอื ง ตำบล 1 เมอื งเชยี งใหม่ 16 78 7 1 1 5 8 1 2 จอมทอง 6 103 - - - - 61 3 แมแ่ จม่ 7 104 - - - - 26 4 เชยี งดาว 7 83 - - - - 72 5 ดอยสะเก็ด 14 112 - - - - 13 1 6 แม่แตง 13 119 - - - - 48 7 แม่ริม 11 92 - - - - 65 8 สะเมิง 5 45 - - - - 14 9 ฝาง 8 119 - - - - 37 10 แมอ่ าย 7 93 - - - - 16 11 พร้าว 11 109 - - - - 64 12 สนั ปา่ ตอง 11 120 - - - - 58 13 สันกาแพง 10 100 - - - - 54 รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๗ ลำดับ ชอ่ื อำเภอ จำนวน หมู่บำ้ น ชมุ ชน อบจ. เทศบำล เทศบำล เทศบำล อบต. ตำบล นคร เมอื ง ตำบล 14 สันทราย 15 หางดง 12 125 - - - - 10 - 16 ฮอด 11 109 - - - - 83 17 ดอยเต่า 6 61 - - - - 34 18 อมก๋อย 6 43 - - - - 15 19 สารภี 6 95 - - - - 16 20 เวียงแหง 12 106 - - - - 11 1 21 ไชยปราการ 3 23 - - - - -3 22 แมว่ าง 4 44 - - - - 22 23 แม่ออน 5 58 - - - - 15 24 ดอยหลอ่ 6 49 - - - - -6 25 กัลยาณิวฒั นา 4 54 - - - - 31 3 22 - - - - -3 2.5 ดำ้ นประชำกร จังหวัดเชียงใหม่ มีประชากรรวมทั้งสิ้น 1,784,370 คน แยกเป็นชาย 862,874 คน หญิง 921,496 คน (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 256๓) อาเภอท่ีมีประชากรมากท่ีสุด ได้แก่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จานวน 229,111 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 12.84 ของประชากรทัง้ หมด รองลงมาได้แก่ อาเภอสนั ทราย จานวน 138,563 คน คิดเป็นร้อยละ 7.77 และอาเภอที่มีประชากรน้อยที่สุด ได้แก่ อาเภอกัลยาณิวัฒนา จานวน 12,699 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.71 ตำรำงที่ 2.4 แสดงสถิติประชากร หมายถึงจานวนประชากรได้เพมิ่ ขน้ึ เมอื่ เทียบกับปกี อ่ น หมายถงึ จานวนประชากรได้ลดลงเม่อื เทยี บกับปกี อ่ น หมายถึงจานวนประชากร เทำ่ เดมิ เมอื่ เทยี บกบั ปกี ่อน อนั ดับ อำเภอ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ๒๕๖๓ 2562 2561 2560 2559 2558 2557 1 เมืองเชียงใหม่ 229,111 233,632 234,870 234,649 234,837 235,589 ๒๓๔,๒๔๔ 2 สนั ทราย 138,563 135,964 134,574 133,063 131,414 130,251 ๑2๗,๐๖๒ 3 ฝาง 122,607 120,759 119,635 118,324 118,075 117,589 ๑๑๒,๘๔๗ 4 เชียงดาว 98,938 96,494 93,128 92,588 91,829 91,457 ๘๓,๓๙๙ 5 แมร่ ิม 94,258 94,337 94,260 93,185 91,558 90,706 ๘๘,๘๓๕ 6 หางดง 90,966 90,128 88,926 87,890 86,435 85,175 ๘๓,๓๑๐ 7 สนั กาแพง 88,234 87,640 86,457 85,563 84,327 82,906 ๘๑,๑๔๔ 8 สารภี 86,936 85,565 84,626 83,504 82,247 81,156 ๗๙,๙๙๖ 9 แมแ่ ตง 81,272 80,303 76,512 75,790 75,699 75,893 ๗๕,๐๔๔ 10 แม่อาย 78,113 78,565 78,423 78,300 77,778 77,533 ๗๓,๕๓๗ 11 สันปา่ ตอง 74,540 75,097 75,233 75,416 75,290 75,329 ๗๕,๓๙๐ 12 ดอยสะเกด็ 74,980 74,172 73,220 72,571 72,064 71,316 ๗๐,๒๑๔ ทมี่ า : ที่ทาการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2563 รายงานสถานการณ์สังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๘ อันดับ อำเภอ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ๒๕๖๓ 2562 2561 2560 2559 2558 2557 13 จอมทอง 66,248 66,729 66,729 66,792 66,811 66,738 ๖๖,๕๓๑ 14 อมกอ๋ ย 61,909 63,610 63,224 62,833 62,317 61,899 ๖๑,๐๗๖ 15 แม่แจ่ม 59,918 60,179 60,180 59,728 59,515 59,145 ๕๘,๖๙๘ 16 ไชยปราการ 50,364 49,239 48,882 46,013 45,962 45,954 ๔๔,๗๖๐ 17 พร้าว 48,264 48,514 51,771 49,120 49,258 49,463 ๔๙,๓๒๔ 18 เวยี งแหง 53,924 52,030 46,517 45,149 44,563 44,305 ๒๗,๕๒๗ 19 ฮอด 43,437 43,756 43,930 43,849 43,803 43,809 ๔๓,๘๐๙ 20 แม่วาง 31,919 31,883 31,827 31,834 31,625 31,695 ๓๑,๔๗๒ 21 ดอยเต่า 27,279 27,395 27,404 27,406 27,393 27,458 ๒๗,๔๐๖ 22 ดอยหลอ่ 25,160 25,689 25,919 26,052 25,931 26,041 ๒๖,๐๘๓ 23 สะเมิง 23,641 23,780 23,737 23,690 23,642 23,580 ๒๓,๓๘๖ 24 แมอ่ อน 21,090 21,184 21,315 21,266 21,296 21,287 ๒๑,๒๘๑ 25 กัลยาณวิ ัฒนา 12,699 12,610 12,443 12,265 12,093 11,968 ๑๑,๙๐๘ รวม 1,784,370 1,779,254 1,763,742 1,746,840 1,735,762 1,728,242 ๑,๖๗๘,๒๘๔ เมื่อเปรียบเทียบจานวนประชากรจังหวัดเชียงใหม่ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๓ พบว่าจานวนประชากรเพ่ิมขึ้นโดย ในปี ๒๕๖๐ มีจานวนประชากร 1,746,840 ราย ปี ๒๕๖๑ จานวนประชากร 1,763,742 ราย ปี ๒๕๖๒ จานวนประชากร 1,779,254 ราย และปี ๒๕๖๓ มีจานวนประชากร 1,784,370 ราย ตามแผนภมู ทิ ่ี 2.1 แผนภมู ิที่ 2.1 แสดงจานวนประชากรจังหวดั เชียงใหมป่ ี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ ตำรำงเปรียบเทียบ จำนวนประชำกรจังหวดั เชยี งใหม่ ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 1,746,840 1,763,742 1,779,254 1,784,370 2560 2561 2562 2563 ท่ีมา : ทที่ าการปกครองจังหวดั เชยี งใหม่ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2563 รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๙ ตำรำงที่ ๒.5 แสดงจานวนประชากรแยกตามช่วงอายุ จาแนกตามเพศ และจงั หวัดเชยี งใหม่ (หน่วย : คน) จำนวนประชำกรจงั หวัดเชียงใหม่ 1,784,370 คน เปน็ ชำย 862,874 คน เป็นหญิง 921,496 คน อำยุ ๐-๑๗ ปี อำยุ ๑๘ – ๒๕ ปี อำยุ ๒๖ – ๕๙ ปี อำยุ ๖๐ ปขี ึ้นไป ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม ชำย หญงิ รวม ชำย หญงิ รวม 177,805 168,481 346,236 94,906 93,289 188,195 426,123 460,328 886,451 164,040 199,448 363,488 รอ้ ยละ 19.04 10.55 49.68 20.37 อันดบั 3 เด็ก อนั ดับ 4 เยาวชน อันดบั 1 วัยแรงงาน อันดับ 2 ผู้สูงอายุ ท่มี า : ระบบสถิติทางการทะเบยี น กรมการปกครอง ปี 2563 จังหวัดเชียงใหม่ มีประชากรรวมทั้งสิ้น 1,784,370 คน แยกเป็นชาย 862,874 คน เป็นหญิง 921,496 คน มีประชากรช่วงอายุ 26 – 59 มากท่ีสุด จานวน 886,451 คน คิดเป็นร้อยละ 49.68 รองลงมา ได้แก่ ประชากรช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 363,488 คน คิดเป็นร้อยละ 20.37 ช่วงอายุ 0 - 17 ปี จานวน 346,236 คน คิดเป็นร้อยละ 19.40 และช่วงอายุที่มีประชากรน้อยสุด ได้แก่ ช่วงอายุ 18 - ๒๕ ปี จานวน 188,195 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.55 หากประชากรแยกชว่ งอายุ คิดจากประชากรทม่ี ีสัญชาติไทยและอยู่ในทะเบียนบา้ น จะพบว่า จานวน 1,623,419 คน แยกเปน็ ชาย 780,217 คน หญงิ 843,202 คน แผนภูมทิ ่ี ๒.2 แสดงจานวนประชากรในเขตพ้นื ท่ีจงั หวดั เชยี งใหม่ ปีระมดิ ประชำกร 164,040 60+ 199,448 จำนวน 426,123 26-59 460,328 ชาย หญงิ 94,906 18-25 93,289 177,805 0-17 168,431 อำยุ รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๑๐ ตำรำงที่ ๒.6 สถิตจิ านวนประชากรและบา้ น พ้นื ทจี่ ังหวัดเชียงใหม่ ขอ้ มลู ปี 2563 พ้นื ที่ ชำย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) บ้ำน (หลัง) 835,977 ยอดรวมท้ังหมด 862,874 921,496 1,784,370 90,147 43,174 ท้องถิ่นเทศบาลนครเชยี งใหม่ 57,313 65,314 122,627 40,555 37,559 อาเภอหางดง 35,444 39,820 75,264 27,851 25,432 อาเภอฝาง 55,506 56,609 112,115 24,369 22,383 อาเภอแม่ริม 41,656 43,154 84,810 22,382 22,364 อาเภอแมอ่ าย 33,747 33,732 67,479 21,860 19,855 อาเภอสนั ปา่ ตอง 28,172 31,623 59,795 17,996 15,526 อาเภอแมแ่ ตง 29,875 30,135 60,010 15,144 13,995 อาเภอสันกาแพง 20,207 22,577 42,784 13,842 12,944 อาเภออมก๋อย 30,686 30,145 60,831 11,531 11,522 อาเภอสารภี 21,693 24,611 46,304 11,389 11,293 อาเภอดอยสะเก็ด 22,251 24,119 46,370 11,264 10,832 อาเภอจอมทอง 28,057 28,919 56,976 10,016 9,783 อาเภอแม่แจ่ม 29,072 28,219 57,291 9,622 9,486 อาเภอพร้าว 18,434 18,873 37,307 9,414 9,411 ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลสนั ทรายหลวง 12,882 15,455 28,337 9,198 9,153 ท้องถนิ่ เทศบาลเมืองแมโ่ จ้ 10,691 12,576 23,267 9,034 8,989 ทอ้ งถ่ินเทศบาลเมอื งแม่เหยี ะ 8,934 10,721 19,655 8,888 ท้องถิ่นเทศบาลเมอื งต้นเปา 8,790 10,473 19,263 อาเภอไชยปราการ 17,255 17,280 34,535 อาเภอดอยหลอ่ 12,229 12,931 25,160 อาเภอเชยี งดาว 13,010 13,579 26,589 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลสเุ ทพ 8,477 8,631 17,108 อาเภอเมืองเชยี งใหม่ 6,615 7,426 14,041 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลปา่ แดด 8,096 9,471 17,567 อาเภอสันทราย 9,462 10,695 20,157 อาเภอแมว่ าง 13,602 13,738 27,340 อาเภอฮอด 12,631 12,932 25,563 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลฟา้ ฮา่ ม 3,237 3,728 6,965 อาเภอเวียงแหง 27,193 26,731 53,924 อาเภอแม่ออน 10,455 10,635 21,090 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลเมืองนะ 18,324 19,024 37,348 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลหนองจ๊อม 7,792 9,319 17,111 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลสนั ปูเลย 7,689 8,904 16,593 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลสันกาแพง 8,187 9,463 17,650 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลชา้ งเผอื ก 4,227 4,759 8,986 รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๑๑ พืน้ ท่ี ชำย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) บำ้ น (หลัง) ท้องถนิ่ เทศบาลตาบลหนองผึ้ง 7,200 8,380 15,580 8,718 อาเภอดอยเต่า 11,502 11,484 22,986 8,684 ทอ้ งถิน่ เทศบาลตาบลสันนาเมง็ 5,853 6,921 12,774 8,138 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลไชยปราการ 7,545 8,284 15,829 6,594 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลปา่ ไผ่ 6,473 7,178 13,651 6,053 อาเภอสะเมงิ 9,302 8,967 18,269 6,038 ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลหนองป่าครง่ั 3,375 3,948 7,323 6,035 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลแม่รมิ 4,416 5,032 9,448 5,752 ทอ้ งถิ่นเทศบาลเมืองเมืองแกนพฒั นา 6,247 6,632 12,879 5,691 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลหนองหอย 3,544 4,267 7,811 5,443 ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลทา่ ศาลา 3,251 3,777 7,028 5,433 ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลยางเนิง้ 4,723 5,658 10,381 5,388 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลบ้านกลาง 4,828 5,456 10,284 5,320 ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลสนั มหาพน 3,962 4,421 8,383 4,984 ท้องถนิ่ เทศบาลตาบลแม่อาย 5,153 5,481 10,634 4,853 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลจอมทอง 4,294 4,978 9,272 4,522 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลปงิ โคง้ 7,555 6,452 14,007 4,468 อาเภอกัลยาณิวฒั นา 6,552 6,147 12,699 4,250 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลเวยี งฝาง 4,098 4,481 8,579 3,937 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลแม่แฝก 4,255 4,806 9,061 3,889 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลบวกคา้ ง 4,067 4,470 8,537 3,874 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลเจดียแ์ มค่ รัว 3,839 4,227 8,066 3,862 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลบอ่ หลวง 6,096 6,030 12,126 3,829 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลหางดง 3,344 3,925 7,269 3,813 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลเชิงดอย 3,692 4,028 7,720 3,617 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลหนองตองพฒั นา 3,932 4,501 8,433 3,521 ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลท่าข้าม 2,759 2,989 5,748 3,461 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลสนั พระเนตร 2,816 3,323 6,139 3,322 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลชมภู 3,602 3,927 7,529 3,067 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลท่งุ ข้าวพวง 5,454 5,388 10,842 3,033 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลเวียงพร้าว 2,234 2,587 4,821 2,810 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลสันป่าตอง 2,049 2,412 4,461 2,745 ทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลสารภี 3,367 3,775 7,142 2,667 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลแมป่ ัง๋ 3,046 3,090 6,136 2,605 ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลสะเมิงใต้ 2,689 2,683 5,372 2,531 ท้องถนิ่ เทศบาลตาบลเชยี งดาว 1,869 2,105 3,974 2,300 รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๑๒ พื้นท่ี ชำย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) บ้ำน (หลัง) ท้องถิ่นเทศบาลตาบลแมว่ าง ท้องถน่ิ เทศบาลตาบลดอยสะเกด็ 2,152 2,427 4,579 2,186 ทอ้ งถ่ินเทศบาลตาบลเมืองงาย ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตาบลทา่ เด่ือ-มืดกา 2,015 2,282 4,297 2,128 ท้องถิ่นเทศบาลตาบลแม่แจ่ม ท้องถ่นิ เทศบาลตาบลพระธาตปุ ่กู ่า 1,795 2,031 3,826 1,931 ทอ้ งถิน่ เทศบาลตาบลบา้ นแม่ข่า ทอ้ งถ่ินเทศบาลตาบลอมก๋อย 2,091 2,202 4,293 1,859 1,296 1,331 2,627 1,606 1,157 1,195 2,352 1,103 942 971 1,913 889 552 526 1,078 825 ท่ีมา : ระบบสถติ ทิ างการทะเบยี น กรมการปกครอง ปี 2563 จากจานวนประชากร จานวน 1,784,370 คน แยกเป็นชาย 862,874 คน หญิง 921,496 คน พบว่าในเขตพื้นท่ีท้องถิ่นเทศบาลนครเชียงใหม่ มีจานวนบ้านมากที่สุด จานวน 90,147 หลัง และรองลงมา ได้แก่ อาเภอหางดง จานวน 43,174 หลัง อาเภอฝาง จานวน 40,555 หลัง ส่วนจานวนบ้านท่ีมีน้อยที่สุด จานวน 825 หลัง คอื พื้นท่ีทอ้ งถ่ินเทศบาลตาบลอมกอ๋ ย 2.6 ดำ้ นศำสนำ ประเพณี วฒั นธรรมและข้อมลู ชำตพิ นั ธุ์ จังหวัดเชียงใหม่เป็นนครแห่งวัฒนธรรมท่ีรุ่งเรืองและมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 724 ปี มีศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีที่มีเอกลักษณ์มีภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ถ่ายทอดสู่งานหัตกรรมท่ีมีคุณค่า รวมท้ังมีความ หลากหลายของชาติพันธ์ุชนเผ่าท่ีมีวัฒนธรรมโดดเด่นและหลากหลายถึง 13 ชนเผ่า เป็นชาวเขา 7 เผ่า และ เปน็ ชนกลมุ่ นอ้ ย 5 กลุ่ม 2.๖.1 ศำสนำ ประชากรจังหวัดเชียงใหม่มีผู้นับถือ ศาสนาพุทธ จานวน 1,633,355 คน (คิดเป็นร้อยละ 91.80 ของประชากรจังหวัดเชียงใหม่) มีผู้นับถือ ศาสนาคริสต์ จานวน 99,637 คน (คิดเป็นร้อยละ 5.60 ของประชากรจังหวัดเชียงใหม่) มีผู้นับถือ อิสลาม จานวน 20,817 คน (คิดเป็นร้อยละ 1.17 ของประชากรจังหวัดเชียงใหม)่ 2.๖.2 ภำษำ ภาษาราชการท่ีใช้ในจังหวัดเชียงใหม่ ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และมีภาษาท้องถ่ิน ซึ่งเรียกว่า “ภาษาคาเมือง” ซึ่งแต่ละท้องถ่ินของภาคเหนอื มีลักษณะของภาษาทคี่ ล้ายๆกัน จะแตกต่างกันเฉพาะสาเนียง และศัพท์บางคา 2.๖.๓ ประเพณี วฒั นธรรม เมืองเชียงใหม่มีประวัตศิ าสตร์ที่ยาวนาน คนเชียงใหม่ได้สัง่ สมวัฒนธรรมประเพณีสืบทอดมาจาก บรรพบุรุษอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่มีความผูกพันกับพุทธศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม ประเพณี ที่สาคัญ ได้แก่ ปีใหม่เมือง (สงกรานต์) จัดขึ้นระหว่างวันท่ี 13-15 เมษายนของทุกปี เป็นประเพณีท่ีสาคัญ แบ่งเป็น วันที่ 13 เป็นวันสังขารล่อง มีขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ และพิธี สรงน้าพระ วันที่ 14 เป็นวันเน่า ชาวบ้านจะ เตรียมข้าวของไปวัดและรดน้าดาหัวผู้ใหญ่วันต่อไป และ วันท่ี 15 เมษายน ประเพณีรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ และ มีการเล่นสาดน้าตลอดช่วงเทศกาล ประเพณีย่ีเป็ง จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทงของทุกปี ราวเดือนพฤศจิกายน มีการตกแต่ง บ้านเรือนและสถานท่ีต่างๆ ด้วยโคมชนิดต่างๆ มีการปล่อยโคมลอย มีการลอยกระทง ประกวด กระทงและนางนพมาศ ประเพณีเข้าอินทขิล จัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน ท่ีวัดเจดีย์หลวง เป็น รายงานสถานการณ์สังคมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๑๓ การบชู า เสาหลักเมืองโดยการนาดอกไมธ้ ปู เทียนมาใส่ขันดอก เทศกาลรม่ บ่อสร้าง จัดขึ้นในเดอื นมกราคมของ ทุกปี ท่ีศูนย์หัตถกรรมทาร่มบ่อสร้าง อาเภอ สันกาแพง มีกาไรแสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์พ้ืนบ้าน มีการ แสดงทางวัฒนธรรม ขบวนแห่ ประเพณี พื้นบ้าน มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ จัดข้ึนในอาทิตย์แรกของเดือน กุมภาพนั ธข์ องทุกปี บรเิ วณ สวนสาธารณะบวกหาด มขี บวนรถบปุ ผาชาติ และนางงามบุปผาชาติ ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธ์ิ จดั ขึ้นในเดอื นเมษายน ในวันท่ี 15 เปน็ ต้นไปของทุกปี ท่บี ริเวณ ตัวเมือง จอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆ กว่า 40 ขบวน แห่ไปตามเมืองจอมทอง อาเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตานานเกิดขึ้นท่ี อาเภอจอมทอง ถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทยและแหง่ เดยี วในโลก ประเพณแี ห่ไมค้ ้าโพธ์ิ กลายเป็นต้นแบบ ของการแห่ไมค้ า้ สะหลีของชาวล้านนา จนได้รบั ความนิยมไปท่วั ภาคเหนือ 2.6.4 กลมุ่ ชำตพิ นั ธุ์ ตำรำงท่ี 2.7 แสดงจานวนกลุ่มชาติพันธุ์ ลำดบั กล่มุ ชำตพิ ันธ์ุ จำนวน (คน) ๑ กะเหรย่ี ง ๑๔๖,๔๓๕ ๒ ลาหู่ ๔๖,๓๙๐ ๓ มง้ ๒๖,๙๖๔ ๔ ลีซู ๒๐,๑๗๘ ๕ อาขา่ ๙,๘๗๕ ๖ ลวั ะ ๒,๕๓๗ ๗ เมี่ยง ๑,๑๔๙ ๘ อน่ื ๆ ๙๕,๕๙๐ รวม ๓๔๙,๑๑๘ ทม่ี า : ศนู ยพ์ ัฒนาราษฎรบนพนื้ ท่สี งู จงั หวัดเชยี งใหม่ ปี 2563 กลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรกลุ่มชาติพันธ์ุ จานวน 349,118 คน เป็นชาย 174,557 คน หญิง 174561 คน คิดเป็นร้อยละ 21.58 ของประชากรท้ังหมด โดยแยกเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุ ดังนี้ จานวนประชากรมากสุด กะเหร่ียง จานวน 146,435 คน รองลงมา ลาหู่ จานวน 46,390 คน และม้ง จานวน 26,964 คน ลีซู จานวน 20,178 คน อาขา่ จานวน 9,875 คน ลวั ะ จานวน 2,253 คน และจานวน ท่ีมปี ระชากรน้อยสดุ เม่ยี ง จานวน 1,149 คน (ไม่ระบุชาตพิ ันธุ์ จานวน 95,590 คน) 2.๗ ด้ำนสำธำรณสขุ ตำรำงที่ ๒.8 แสดงจานวนหน่วยบริการสาธารณสุข ภาครฐั และภาคเอกชน จังหวดั เชยี งใหม่ (หน่วย:แห่ง) โรงพยำบำลสงั กัดภำครัฐ (แห่ง) โรงพยำบำลสงั กดั เอกชน จังหวัด รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อืน่ ๆ (แหง่ ) เชียงใหม่ 1 2 21 268 94 14 ท่ีมา HDC Report สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเชียงใหม่ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564 หมำยเหตุ รพศ. = โรงพยาบาลศูนย์/รพท. = โรงพยาบาลทั่วไป/รพ.สต. = โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล /รพช. = โรงพยาบาลชมุ ชน/อ่นื ๆ รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๑๔ จังหวัดเชียงใหม่ มีโรงพยาบาลสังกัดภาครัฐ ท้ังหมดจานวน 386 แห่ง แยกเป็น โรงพยาบาลศูนย์ จานวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทวั่ ไป จานวน 2 แหง่ โรงพยาบาลชุมชนจานวน 21 แห่ง โรงพยาบาลสง่ เสริม สุขภาพตาบลจานวน 268 แหง่ อ่ืนๆ จานวน 94 แหง่ และโรงพยาบาลสงั กัดเอกชน 14 แหง่ ตำรำงท่ี ๒.9 แสดงบรกิ ารด้านสาธารณสขุ ลำดับท่ี สงั กัด จำนวน (แห่ง) เตยี ง ๑ สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 24 1,199 ๒ นอกสงั กดั สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 5 999 ๓ สังกดั กระทรวงอนื่ ๆ 4 1,132 ๔ เอกชน 15 1,669 รวม 48 4,999 ท่มี า : สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั เชยี งใหม่ ขอ้ มลู ณ พฤษภาคม 2563 จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนสถานบริการ ท้ังหมด 48 แห่ง โดยมีเตียงรม 4,999 เตียง แยกได้เป็น สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 24 แห่ง มี 1,199 เตียง เอกชน จานวน 15 แห่ง มี 1,669 เตยี ง นอกสังกดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ จานวน 5 แห่ง มี 999 เตียง และสังกดั กระทรวงอ่ืนๆ จานวน 4 แห่ง มี 1,132 เตยี ง ตำรำงท่ี ๒.10 แสดงจานวนประชากรต่อแพทย์ในจังหวดั เชยี งใหม่ บุคลำกร สงั กัดสำนกั งำน อัตรำส่วน โรงพยำบำลรฐั นอก โรงพยำบำล รวม อัตรำสว่ น สำธำรณสขุ ปลัดกระทรวง ตอ่ ประชำกร สังกดั สำนักงำน เอกชน ต่อ สำธำรณสุข ปลดั กระทรวง ประชำกร อตั รำส่วน สำธำรณสขุ แพทย์ 592 1:4,119 432 364 1,388 1,282 ทันตแพทย์ 153 1:11,629 153 27 333 5,343 เภสชั กร 252 1:7,06 121 164 537 3,313 พยาบาลวิชาชพี 2,779 1:640 2,171 1,390 6,340 281 ท่มี า : สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั เชยี งใหม่ ขอ้ มูล ณ พฤษภาคม 2563 สาหรับบุคลากรทางด้านสาธารณสุข สามารถจาแนกตามวิชาชีพ โดยสรุป คือ มีพยาบาลวิชาชีพมาก ท่ีสุด จานวน 6,340 คน อัตราต่อประชากร คือ 1 ต่อ 281 คน มีเภสัชกร จานวน 537 คน อัตราต่อ ประชากร คือ 1 ต่อ 3,313แพทย์ จานวน 1,388 คน อัตราต่อประชากร คือ 1 ต่อ 1,282 มีทันตแพทย์ จานวน 333 คน อัตราต่อประชากร คือ 1 ต่อ 5,343 รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๑๕ ตำรำงที่ 2.11 อตั ราการเกิด - การตาย และอัตราการเพม่ิ ตามธรรมชาติ ปี พ.ศ. 2557 – 2563 ปี พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 อตั ราการเกิด 1/ 10.14 10.40 10.40 10.28 9.99 9.60 8.86 อัตราการตาย 2/ 8.55 8.43 9.03 8.54 8.52 9.16 8.74 อตั ราการเพม่ิ ตามธรรมชาติ 3/ 1.58 1.97 1.37 1.74 1.47 0.44 0.12 1/ อัตราเกดิ ตอ่ ประชากร 1,000 คน 2/ อัตราตายต่อประชากร 1,000 คน 3/ อัตราการเพมิ่ ตามธรรมชาติต่อประชากร 1000 คน ท่มี า : กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสขุ ข้อมูล ณ 28 เมษายน 2564 อัตราการเกิด - การตาย และอัตราการเพิ่มตามธรรมชาติ ปี พ.ศ. 2557 – 2563 พบว่า มีอัตรา การเกดิ การตาย และอัตราการเพิ่มตามธรรมชาตมิ ีแนวโนม้ ลดลงตอ่ เนือ่ ง ตำรำงท่ี ๒.12 แสดงสาเหตุการตาย ๕ อนั ดับแรกจากโรคต่างๆ จังหวดั เชียงใหม่ (หน่วย:คน) จงั หวัด โรคโลหติ จำงอ่ืนๆ โรคปอดบวม กำรบำดเจบ็ ระบุเฉพำะ โรคหลอดลมอกั เสบ โรคตอ้ กระจก อนื่ ๆ , ไมร่ ะบเุ ฉพำะ ถุงลมโปง่ พองและ และควำม และหลำยบริเวณใน ปอดชนดิ อดุ ก้ันแบบ ผดิ ปกตขิ องเลนส์ รำ่ งกำย เรอ้ื รังอน่ื อ่ืน ๆ เชียงใหม่ 6,814 6,364 5,928 5,540 3,672 ทมี่ า : สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั เชยี งใหม่ ระบบ HDC ขอ้ มูล วนั ที่ 23 สงิ หาคม 2564 สาเหตุการเสียชีวิต ๕ อันดับแรกจากโรคต่างๆ จังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลจากสานักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า อนั ดบั 1 ได้แก่ โรคโลหิตจางอนื่ ๆจานวน 6,814 คน อันดบั 2 โรคปอดบวม จานวน 6,364 คน อันดับ 3 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ , ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย จานวน 5,928 คน อันดับ 4 โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพองและปอดชนิดอุดก้ันแบบเร้ือรังอื่น จานวน 5,540 คน และอนั ดับท่ี 5 โรคตอ้ กระจกและความผดิ ปกติของเลนสอ์ นื่ ๆ จานวน 3,672 คน 2.๘ ด้ำนกำรศึกษำ จังหวัดเชียงใหม่มีสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 รวมทั้งสิ้น 735 แห่ง โดยแยกเป็นระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา โดยมีครู/อาจารย์ รวมท้ังสิ้น 24,339 คน และ มจี านวนนักเรียน/นกั ศึกษารวมทงั้ สนิ้ 276,472 คน ตำรำงท่ี ๒.13 แสดงประเภทการจัดศกึ ษา ลำดับท่ี ประเภทกำรจดั กำรศึกษำ สถำนศกึ ษำ ครู/อำจำรย์ นักเรียน (แห่ง) (คน) (คน) ๑ ระดบั ประถมศึกษา (สพฐ.) 671 9,793 129,456 ๒ ระดับมัธยมศกึ ษา (สพฐ.) 34 2,443 38,208 ๓ อาชีวศึกษา (รฐั และเอกชน) 18 1,613 23,005 ๔ อุดมศกึ ษา (ศธ.และอน่ื ๆ) 12 10,490 85,803 รวม 735 24,339 276,472 ทีม่ า : สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั เชียงใหม่ ขอ้ มลู ปกี ารศึกษา 2563 รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๑๖ ประเภทการจัดการศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ ระดับประถมศึกษา (สปฐ) จานวนสถานศึกษา 671 แห่ง ครู/อาจารย์ จานวน 9,793 คน นักเรียน จานวน 129,456 คน ระดับมัธยมศึกษา (สพฐ) จานวน สถานศึกษา 34 แห่ง ครู/อาจารย์ จานวน 2,443 คน นักเรียน จานวน 38,208 คน ระดับอาชีวศึกษา (รฐั และเอกชน) จานวนสถานศกึ ษา 18 แหง่ คร/ู อาจารย์ จานวน 1,613 คน นักเรยี น จานวน 23,005 คน ระดับอุดมศึกษา (ศธ.และอื่นๆ) จานวนสถานศึกษา 12 แห่ง ครู/อาจารย์ จานวน 10,490 คน นักเรียน จานวน 85,803 คน ตำรำงท่ี 2.14 จานวนนักเรียนนักศกึ ษาในระบบ จาแนกตามระดับชนั้ ปี พ.ศ. ๒๕๖2 (หน่วย:คน) จังหวดั ระดับกำรศกึ ษำ (คน) ป.ตรี รวม อนบุ ำล ประถม ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. ปวส. เชียงใหม่ 47,071 132,206 66,424 43,252 15,531 8,771 81,623 394,878 ที่มำ : ข้อมูลพน้ื ฐานด้านการศกึ ษาจงั หวัดเชียงใหม่ ปกี ารศึกษา 2562 การศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ในปีการศึกษา พ.ศ. 2562 มีจานวนนักเรียนและนักศึกษาทั้งหมด รวม 394,878 คน โดยแยกเป็น อนุบาล จานวน 47,071 คน ประถมศึกษา 132,206 คน มัธยมต้น 66,424 คน มัธยมปลาย 43,252 คน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 15,531 คน ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) จานวน 8,771 คน และระดับปริญญาตรี จานวน 81,623 คน ตำรำงท่ี 2.15 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จาแนกรายสังกดั รายจังหวัด ปีการศึกษา 2563 (หน่วย:จานวน:แหง่ ) รำยกำรสถำนศึกษำ (แหง่ ) ในระบบ ท้องถิน่ นอกระบบ รวม สพฐ. เอกชน อำชวี ศกึ ษำ อดุ มศึกษำ สำนักพทุ ธ ฯ กศน. 686 142 8 18 74 28 336 1,292 ท่มี า : ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2564 สถานศึกษาในระบบและนอกระบบ จาแนกรายสังกัด รายจังหวัด ปีการศึกษา 2563 รวมท้ังหมด มี 1,292 แห่ง โดยแกเป็น สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จานวน 686 แห่ง โรงเรยี นเอกชน จานวน 142 แห่ง ระดับอาชีวศึกษา จานวน 8 แห่ง ระดับอุดมศึกษา จานวน 18 แห่ง โรงเรียนในสังกัด ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น จานวน 74 แหง่ โรงเรยี นในสงั กดั สานกั พุธทพระศาสนา จานวน 28 แหง่ และการศกึ ษา นอกระบบ จานวน 336 แห่ง รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๑๗ ตำรำงที่ 2.16 ข้อมูลจานวนสถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา ครู/อาจารย์ ห้องเรียน แต่ละสังกัด ปีการศึกษา 2563 ในจังหวัดเชียงใหม่ หนว่ ยงำน/ผู้จดั จำนวน จำนวน นกั เรยี น (คน) คร/ู อำจำรย์ สถำนศกึ ษำ ห้องเรียน (คน) สังกัดกระทรวงศกึ ษำธิกำร (สพฐ.) สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้ืนฐำน 842 8,823 127,769 12,688 1) สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา - สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 86 966 21,002 1,536 - สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา เขต 2 132 1,294 23,201 1,915 - สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา เขต 3 156 1,953 41,215 2,608 - สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา เขต 4 93 872 15,641 1,152 - สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา เขต 5 97 1,163 14,394 1,284 - สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา เขต 6 100 997 15,003 1,298 - สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 34 34 1,169 38,208 2,443 2) การจดั การศึกษาทางเลอื ก - โดยครอบครวั 127 127 161 127 - โดยองคก์ รตา่ งๆ 8 8 229 8 3) สานกั งานบริหารการศึกษาพเิ ศษ - ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 8 1 31 606 71 - โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 4 107 3,062 133 - โรงเรียนเฉพาะความพกิ าร 4 136 1,047 113 สำนักงำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร 638 2,926 89,210 5,469 1) สานกั คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช) - กลมุ่ โรงเรยี นสามญั ศึกษา 128 2,174 65,668 3,619 - กลุม่ โรงเรียนนานาชาติ 22 264 4,333 750 2) สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย (กศน) - กศน.จังหวดั เชียงใหม่ 488 488 19,209 758 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ (สอศ) 18 839 23,005 1,613 - ภาครัฐ 8 508 14,431 1,083 - ภาคเอกชน 10 331 8,574 530 สำนกั งำนตำรวจแห่งชำติ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน - โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน 16 123 1,554 147 ข้ึนตรงต่อนำยกรัฐมนตรี - โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม 28 221 3,726 321 กระทรวงมหำดไทย กรมส่งเสรมิ ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น - โรงเรียนสังกัด อบจ./อบต./เทศบาล 78 648 16,722 700 - ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ /ปฐมวัย 2 – 5 ปี 613 613 19,457 - กระทรวงกำรท่องเที่ยวและกีฬำ - มหาวิทยาลัยการกีฬาแหง่ ชาติ 1 9 213 23 - มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตเชียงใหม่ 1 56 1,218 82 รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๑๘ หน่วยงำน/ผู้จดั จำนวน จำนวน นกั เรียน (คน) ครู/อำจำรย์ สถำนศึกษำ หอ้ งเรียน (คน) กระทรวงกำรอุดมศกึ ษำ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) 12 66 85,883 10,391 - โรงเรยี นสาธิต 3 66 2,218 112 - มหาวิทยาลยั 9 - 83,665 10,279 กระทรวงวัฒนธรรม สถาบนั นณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ - วทิ ยาลัยนาฎศลิ ป์ 1 22 679 63 กระทรวงสำธำรณสุข วทิ ยาลยั พยาบาล 1 8 613 63 รวมทั้งส้นิ 2,249 14,354 415,049 31,560 ที่มา: ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั เชยี งใหม่ จานวนสถานศึกษาในจังหวัดเชยี งใหม่ มีท้ังสิ้นจานวน 2,249 แหง่ มีจานวนหอ้ งเรียน 14,354 หอ้ ง มนี กั เรียนทัง้ หมด 415,049 คน และมคี รู/อาจารย์ 31,560 คน ตำรำงที่ 2.17 ขอ้ มูลจานวนนักเรยี นพกิ าร จาแนกตามประเภทความพกิ าร ทีม่ า: ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 สานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั เชยี งใหม่ ข้อมูลจานวนนักเรยี นพิการจาแนกตามประเภทความพิการในสถานศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งหมด มี 9 ประเภทความพิการ จานวนนักเรียนพกิ าร รวมทงั้ ส้นิ จานวน 10,908 คน สงู สดุ เปน็ ประเภทความพิการ ทางการเรยี นรู้ จานวน 8,415 คน พกิ ารทางสติปญั ญา 1,141 คน และออทสิ ตกิ 320 คน ตามลาดบั รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๑๙ ตำรำงที่ 2.18 ข้อมลู จานวนนกั เรยี นออกกลางคนั จาแนกตามประเภทและสังกัด ท่มี า: ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดเชยี งใหม่ ตำรำงท่ี 2.19 คะแนนเฉลยี่ การทดสอบ O-Net ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2559 – 2561 จงั หวดั ปกี ำรศกึ ษำ 2561 2559 2560 ระดบั ประเทศ 34.48 33.23 35.02 เชยี งใหม่ 37.25 36.08 37.85 ท่ีมา : สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) คะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2559 – 2561 ในปี 2559 ในจังหวัดเชียงใหม่ มีระดับคะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 37.25 มากกว่าระดับประเทศ ที่มีร้อยละ 34.48 ในปี 2560 ในจังหวัดเชียงใหม่ มีระดับคะแนนคิดเป็นร้อยละ 36.08 มากกว่าระดับประเทศ ที่มีร้อยละ 33.23 ในปี และในปี 2561 ในจังหวัดเชียงใหม่ มีระดับคะแนนคิดเป็นร้อยละ 37.85 มาก กว่า ระดบั ประเทศ ทมี่ รี ้อยละ 35.02 แผนภมู ทิ ี่ 2.3 แสดงคะแนนเฉล่ียการทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ.2559 – 2561 กราฟแสดงคะแนนเฉลยี่ การทดสอบ O-Net ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๓ รายปี 40 30 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2559 ระดบั ประเทศ จังหวดั เชียงใหม่ รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๒๐ ตำรำงท่ี 2.20 คา่ เฉลี่ยเชาวน์ปญั ญา (IQ) ของเด็กนักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (คะแนน) ปี พ.ศ. 2559 จังหวดั คำ่ เฉลีย่ เชำวนป์ ัญญำ (IQ) ระดับประเทศ 98.23 จงั หวัดเชียงใหม่ 101.35 ทม่ี า : กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข สืบค้นขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564 จากการสารวจระดับสติปัญญานักเรียนไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศ ในปี 2559 โดยใช้ เคร่ืองมือ Standard Progressive Matrices (SPM parallel version: update 2003) พบระดับเชาวน์ ปัญญา (Intelligent Quotient : IQ) เฉลี่ยเท่ากับ 98.23 ถือเป็นระดับสติปัญญาท่ีอยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่ค่อน ไปทางต่ากว่าค่ากลางของมาตรฐานสากลในยุคปัจจุบัน (IQ=100) ในระดับจังหวัดเชียงใหม่ พบระดับเชาวน์ ปญั ญา (Intelligent Quotient : IQ) เฉลี่ยเทา่ กับ 109.17 2.๙ ดำ้ นแรงงำน ตำรำงท่ี 2.21 ภาวการณม์ ีงานทาของประชากรในจงั หวัดเชยี งใหม่ ไตรมาส 4 (ตุลาคม – ธนั วาคม ๒๕๖๓) (หนว่ ย:คน) จังหวดั กำลังแรงงำนในปจั จุบัน กำลังแรงงำน ผไู้ ม่อย่ใู นกำลังแรงงำน ผู้มงี ำนทำ ผูว้ ำ่ งงำน ท่ีรอฤดูกำล ทำงำนบำ้ น เรียนหนังสอื อ่นื ๆ เชยี งใหม่ 1,033,678 16,029 373 72,849 110,611 218,926 ทมี่ า : สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ ข้อมลู ณ วนั ที่ 20 สิงหาคม 2564 การมีงานทาไตรมาส 4 ป 2563 (เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563) ผูมีงานทาในจังหวัด เชียงใหม จานวน 1,033,678 คน ผู้วางงาน จานวน 16,029 คน หรือมีอัตราการวางงาน รอยละ 1.53 ซ่ึงชะลอตัวจากไตรมาสกอนหนา ซึ่งมีผูวางงาน จานวน 31,550 คน หรือมีอัตราการวางงานรอยละ 3.29 กาลงั แรงงานทรี่ อฤดกู าล จานวน 373 คน ผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน ได้แก่ ทางานบ้าน จานวน 72,849 คน เรียนหนังสือจานวน 110,611 คน และอื่นๆ จานวน 218,926 คน รายละเอยี ดแยกเพศ ตามตารางท่ี 2.22 โดยอาชีพที่มผี ูทางานมากที่สดุ 5 อันดบั แรกคอื (1) ผูปฏิบตั ิงานที่มฝี มือในดานการเกษตรและ การประมง อัตรารอยละ 30.47 หรือจานวน 315,002 คน (2) พนักงานบริการและพนักงานในรานคาฯ อัตรา รอยละ 18.42 หรือจานวน 190,360 คน (3) อาชีพ ขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการให บริการ อัตรารอยละ 14.87 หรือจานวน 153,696 คน (4) ผูปฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือ และ ธุรกิจการคาที่เกี่ยวของ อัตรารอยละ 14.49 หรือจานวน 149,769 คน และ (5) ผูประกอบวิชาชีพดาน ตาง ๆ อตั รารอยละ 5.65 หรอื มจี านวน 58,399 คน รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๒๑ ตำรำงที่ 2.22 ประชากรจังหวัดเชยี งใหม จาแนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน สถำนภำพแรงงำน ชำย หญิง รวม อำยุ 15 ปข้ึนไป 703,286 749,180 1,452,466 1. กำลังแรงงำนรวม 555,100 494,980 1,050,080 1.1 ผมู ีงานทา 549,126 484,552 1,033,678 1.2 ผวู างงาน 5,974 10,055 16,029 1.3 กาลังแรงงานที่รอฤดูกาล - 373 373 2. ผูไมอยูในกำลงั แรงงำน 148,186 254,200 402,386 2.1 ทางานบาน 3,998 68,851 72,849 2.2 เรยี นหนงั สอื 47,097 63,515 110,611 2.3 อ่ืน ๆ 97,092 121,834 218,926 ทม่ี า : สานกั งานสถิตจิ ังหวัดเชยี งใหม ปี 2563 สถานภาพแรงงานอายุ 15 ปขึ้นไปในจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนรวม 1,452,466 คน เป็น หญิงมากกว่าชาย เป็นหญิงจานวน 749,180 คน เป็นชายจานวน 703,286 คน โดยเปน็ กาลังแรงงานรวม 1,050,080 คน และผูไมอยูในกาลังแรงงานจานวน 402,386 คน 2.9.1 อัตรำกำรกำรมงี ำนทำ อัตราการจ้างงานเป็นตัวชี้วัดที่แสดงให้เห็นภาวะการมีงานทาในตลาดแรงงานของจังหวัด เชียงใหม่ ว่ามีสัดส่วนมากน้อยเพียงใด ในไตรมาส 4 ปี 2563 พบว่าอัตราการจ้างงานในจังหวัดอยู่ที่ร้อยละ 64.82 ใกล้เคียงกับไตรมาสท่ีแลว้ ท่ีอย่ทู ี่ร้อยละ 61.43 และเพิ่มข้นึ จากไตรมาสเดียวกันปีก่อนทีอ่ ยู่ที่รอ้ ยละ 59.58 อตั ราการจ้างงานในภาคเกษตรจงั หวดั เชยี งใหม่ สานักงานสถิติจังหวัดเชียงใหม่ ได้ดาเนินการสารวจภาวการณ์มีงานทาของประชากรในช่วง ไตรมาส 4 ปี 2563 (เดอื นตลุ าคม - ธนั วาคม 2563) พบว่า - มปี ระชากรอายุต้ังแต 15 ปข้ึนไป จานวน 1,452,466 คน ร้อยละ 98.44 ผู้วา่ งงาน จานวน 16,029 คน คิดเป็นร้อยละ 1.53 และกาลงั แรงงาน ทรี่ อฤดูกาล จานวน 373 คน ร้อยละ 0.04 - เพศชาย มีอัตราการจ้างงานมากกว่าเพศหญิง เพศชาย ร้อยละ 53.12 เพศหญิง ร้อยละ 46.88 ของจานวนกาลังแรงงาน จาแนกตามเพศท้ังหมด และเมื่อพิจารณาในภาพรวมจะพบวาอัตราการมี งานทา ซ่ึงคานวณจากสัดสวนผูมีงานทาตอผูอยูในกาลังแรงงานมีอัตรารอยละ 98.44 นั่นหมายความวาผูอยู ในกาลงั แรงงาน จานวน 100 คน จะมงี านทาประมาณ 98 - 99 คน ซ่งึ อัตราการจางงานในภาพรวมไตรมาส นี้มีสัดสวนขยายตวั เพิ่มขึ้นจากไตรมาสกอน - ในดานสถานภาพการทางานของผูมีงานทาจังหวัดเชียงใหม พบวา สวนใหญเปนลูกจางเอก ชน กลาวคือ รอยละ 37.98 หรือจานวน 392,599 คน รองลงมาทางานสวนตัว มีอัตรารอยละ 31.06 หรือจานวน 321,052คน และชวยธุรกิจครัวเรือน รอยละ 20.54 หรือจานวน 212,369คน สวนผูมีงาน ทาทมี่ ีสถานภาพเปนนายจางมเี พียง รอยละ 2.30 หรอื มีจานวน 23,750 คน 2.9.2 ผมู งี ำนทำจงั หวัดเชียงใหม โดยสรุปในภาพรวมจะพบว่าอัตราการมีงานทาหรือการส่วนรวมในกาลังแรงงานของจังหวัด เชียงใหม่จะมีลักษณะการเคลื่อนย้ายแรงงานแบบเป็นวัฏจักรหรือวงจร ท้ังนี้ เพราะพ้ืนที่จังหวัดเป็นเขต เกษตรกรรม ประชากรซ่ึงเป็นกาลังแรงงานของจังหวัดจะอาศัยอยู่ในภาคส่วนของเกษตรกรรมเพ่ือช่วย รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๒๒ ครัวเรือนในการทาการเกษตรเป็นส่วนใหญ่เมื่อหมดฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตก็จะเคลื่อนย้ายไปหางานทาใน ภาคอตุ สาหกรรมในจงั หวดั อ่ืน ๆ และจะเคลอื่ นย้ายกลับมาภาคเกษตรกรรมอีกคร้ังในฤดูเพาะปลูก วนเวียนใน ลักษณะเช่นนีอ้ ย่างเป็นวฏั จักรทุกปี จึงอาจสง่ ผลต่อการขาดแคลนแรงงานในบางฤดูกาล ตำรำงท่ี 2.23 ผูมงี านทาจงั หวัด เชียงใหมจาแนกตามอาชพี และเพศ ไตรมาส 4 ปี 2563 (เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563) ประเภทอำชพี ชำย หญงิ รวม 1) ผบู ญั ญตั กิ ฎหมาย ขาราชการระดับอาวโุ ส และผูจดั การ 16,760 21,629 38,389 2) ผปู ระกอบวิชาชพี ดานตางๆ 21,305 37,094 58,399 3) ผปู ระกอบวิชาชีพดานเทคนคิ สาขาตางๆ และอาชีพทีเ่ ก่ยี วของ 20,420 20,410 40,831 4) เสมยี น 11,325 27,633 38,958 5) พนกั งานบริการและพนักงานในรานคาและตลาด 65,627 124,733 190,360 6) ผปู ฏิบัตงิ านทีมฝี มอื ในดานการเกษตรและการประมง 188,528 126,474 315,002 7) ผปู ฏิบัติงานดานความสามารถทางฝมือและธุรกจิ การคาท่ีเก่ียวของ 108,885 40,884 149,769 8) ผูปฏบิ ตั ิการโรงงานและเครื่องจักรและผูปฏบิ ตั ิงาน 35,442 12,831 48,273 ดานการประกอบ 9) อาชพี ขนั้ พ้นื ฐานตางๆ ในดานการขายและการใหบริการ 80,832 72,864 153,696 รวม 549,126 484,552 1,033,678 2.9.3 กำรบรกิ ำรจัดหำงำนในประเทศ การบริการจัดหางานในประเทศ ในชวงไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) นายจาง/สถานประกอบการ ลงทะเบียนแจงความประสงคขอจางแรงงาน ณ สานักงานจัดหางาน จังหวัดเชียงใหมจานวน 1,205 อัตรา มีผูมาลงทะเบียนแจงความประสงคขอรับการจางงาน จานวน 883 คน ในจานวนน้ีมีผูไดรับการบรรจุเขาทางาน จานวน 521 คน สวนตาแหนงงานวางตามระดับการศึกษา ท่ีตองการสูงสุดคือ ระดับปริญญาตรีอยู ที่รอยละ 27.14 (จานวน 327 อัตรา) รองลงมาเป น ระดับ มัธยมศึกษา อยูท่ีรอยละ 22.82 (จานวน 275 อัตรา) สาหรับอาชีพที่มีตาแหนงงานวางมากที่สุด คือ ชางเทคนคิ และผูปฏิบัติงานท่ีเก่ียวของ มีตาแหนง งานวาง 299 อัตรา หรอื รอยละ 24.81 ของตาแหนงงาน วางทั้งหมด สวนการบรรจุงานมากท่สี ุด คือ ตาแหนงพนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด บรรจุ งาน 272 อัตรา หรอื รอยละ 52.21 2.9.4 อตั รำกำรจำงแรงงำนตำงดำว อัตราการจางแรงงานตางดาว ตอจานวนผูมีงานทาท้ังหมด คิดเปนรอยละ 11.28 หมายถึง ผูมีงานทาทุก ๆ 100 คน จะมีการจางแรงงานตางดาวประมาณ 11 - 12 คน และอัตราการจางแรงงาน ตางดาว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กมั พูชา) ตอจานวนผูมงี านทาท้ังหมดอยูทรี่ อยละ 4.52 แสดงวา ผูมีงานทา ทุกๆ 100 คน จะเปนการจางแรงงานตางดาวสัญชาติเมียนมา ลาว กัมพูชา 4 - 5 คน (สานักงานจัดหางาน จงั หวัดเชยี งใหม่,2563) สาหรับตาแหนงงานวางไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) พบวานาย จาง/สถานประกอบการตองการจางงานโดยไมระบุเพศ จานวน 818 อัตรา หรือรอยละ 67.88 การที่ ตาแหนงงานวาง เกือบท้ังหมดไมไดระบุเพศ แสดงใหเห็นวาสถานประกอบการหรือนายจาง พิจารณาเห็นวา งานโดยทว่ั ไป ไมวาชายหรอื หญิงก็สามารถทาไดเชนกัน หรอื ไมมีความแตกตางในเรอื่ งเพศ ในอกี ประการหนึ่ง นายจางพิจารณา เห็นวาการไมระบุจะมผี ลดใี นดานโอกาสการคัดเลือกมากกวาการระบุเพศ รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๒๓ 2.9.5 ตำแหนง่ งำนวำ่ ง แผนภมู ทิ ่ี 2.4 ตาแหนง่ งานว่าง 269 อตั รำ 118 อตั รำ 818 อัตรำ ทม่ี า : สานกั งานจัดหางานจงั หวดั เชียงใหม่ ข้อมูล ปี 2563 ไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) พบวานายจ้าง/ สถานประกอบการ ตองการจ้างงานเพศชาย จานวน 269 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 22.32% เพศหญิง 118 อัตรา คิดเป็นร้อยละ 9.79 % และไมระบุเพศจานวน 818 อัตรา หรือ รอยละ 67.88 แสดงใหเห็นวาสถานประกอบการหรือ นายจ้าง พิจารณาเห็นวางานโดยทั่วไป ไมวาชายหรือหญิงก็สามารถทาไดเชนกัน หรือไมมีความแตกตาง ในเร่ืองเพศ ในอีกประการหนึ่งนายจ้างพิจารณา เห็นวาการไมระบุจะมผี ลดีในดานโอกาสการคัดเลือกมากกวา การระบเุ พศ 2.9.6 แรงงำนต่ำงด้ำว รายงานสถานการณและดัชนีชี้วัดภาวะแรงงานจังหวัดเชียงใหมของสานักงานแรงงานจังหวัด เชยี งใหม่ ปี 2564 พบว่า จานวนแรงงานตางดาวท่ีเขามาทางานในจังหวัดเชยี งใหมอยางถูกตองตามกฎหมาย ณ เดือนมีนาคม 2564 มีจานวนทั้งสิ้น 118,357 คน โดยเปนแรงงานตางดาว มติครม. 20 ส.ค. 62 จานวน 62,370 คน (รอยละ 52.70) รองลงมาเปนชนกลุมนอย จานวน 32,214 คน (รอยละ 27.22) แรงงานตางดาว มติครม. 3 สัญชาติจานวน 14,803 คน (รอยละ 12.51) มาตรา 59 (ชั่วคราวท่ัวไป) จานวน 4,509 คน (รอยละ 3.81) นาเขาแบบ MOU มีจานวน 3,856 คน (รอยละ 3.26) และ มาตรา 12 สงเสรมิ การลงทนุ (BOI) จานวน 605 คน (รอยละ 0.51) แผนภูมิท่ี 2.5 จานวนแรงงานตางดาวเขามาทางานในจงั หวดั เชียงใหมอยางถกู ตองตามกฎหมาย ท่ีมา : สานกั งานจัดหางานจงั หวัดเชียงใหม่ ข้อมลู ณ เดอื นมีนาคม 2564 รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๒๔ 2.9.7 กำรเลกิ จ้ำงแรงงำน สถานประกอบกิจการท่ีเลิกกิจการและลูกจางที่ถูกเลิกจางในจังหวัดเชียงใหมในไตรมาส 1 ปี 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) พบวา สถานประกอบการที่เลิกกิจการ มีจานวน 589 แหง ลูกจางถูกเลิกจางจานวน 2,219 คน สวนใหญเปนสถานประกอบการขนาดเล็ก 1 - 4 คน มีจานวน 779 แหง มีลกู จางถกู เลกิ จาง จานวน 779 คน ตำรำงที่ 2.24 จานวนคนต่างดา้ วทีไ่ ดร้ ับอนญุ าตทางานคงเหลอื พ.ศ.255๙-256๓ ของจังหวัดเชยี งใหม่ (หนว่ ย: คน) จังหวัด 255๙ 2560 2561 256๒ 256๓ เชียงใหม่ 74,198 93,718 75,614 119,264 116,505 ทีม่ า : สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 27 สิงหาคม 2564 ในจังหวัดเชียงใหม่มีจานวนคนต่างด้าวท่ีได้รับอนุญาตทางานคงเหลือ ใน ปี พ.ศ. 2559 จานวน 74,198 คน ในปี พ.ศ. 2560 จานวน 93,718 คน ในปี พ.ศ. 2561 จานวน 75,614 คน ในปี พ.ศ. 2562 จานวน 119,264 คน และในปี พ.ศ.2563 จานวน 116,505 คน ซึ่งมจี านวนลดลงเพียงเลก็ น้อย หากเปรยี บในปี 2562 และ 2563 และในชว่ งระยะเวลา 5 ปี มีการเพิม่ ขนึ้ จากปี 2559 ร้อยละ 63.7 2.๑0 ด้ำนที่อยอู่ ำศัย ตำรำงท่ี ๒.25 แสดงจานวนชุมชนผู้มรี ายไดน้ อ้ ยของจังหวดั พ.ศ. 2562 จังหวดั จำนวน ชมุ ชนแออัด ชุมชนเมือง ชุมชนชำนเมอื ง (หนว่ ย:แหง่ :คน) จำนวน ประชำกร ชมุ ชน ชุมชน ครัวเรอื น ชุมชน ครัวเรอื น ชุมชน ครวั เรอื น จำนวน จำนวน บ้ำน ครัวเรือน เชียงใหม่ 17 17 710 - - - - 629 710 2,840 ทมี่ า : กองยทุ ธศาสตร์และสารสนเทศทอ่ี ยอู่ าศยั ฝา่ ยวิชาการพฒั นาท่อี ย่อู าศยั การเคหะแห่งชาติ ปี 2562 ข้อมูล ณ วันท่ี 20 สิงหาคม 2564 ข้อมูลจากการเคหะแห่งชาติ ปี 2562 พบวา่ ชุมชนผู้มีรายได้น้อยของจงั หวดั เชียงใหม่ มีจานวน 17 ชุมชน ชุมชนแออัด จานวน 17 ชุมชน 710 ครัวเรือน จานวนบ้าน 629 แห่ง จานวนครัวเรือน 71 0 ครวั เรอื น รวมประชากร จานวน 2,840 คน 2.๑1 ด้ำนเศรษฐกจิ และรำยได้ เศรษฐกจิ ของจังหวดั เชยี งใหม ป 2562 มีผลติ ภัณฑมวลรวม มลู คา 259,026 ลานบาท โดยเพม่ิ ขน้ึ จากป 2561 จานวน 11,195 ลานบาท (ป พ.ศ. 2561 มีมลู คา 247,831 ลานบาท) สวนอุตสาหกรรมที่ มีผลิตภัณฑมวลรวมสูงสุด 3 อันดับแรก ไดแก 1) เกษตรกรรม ปาไม และการประมง (รอยละ 19.23 ของ GPP) 2) การขายสง-ขาย ปลีก การซอมแซมยานยนตฯ (รอยละ 13.93 ของ GPP) 3) กิจกรรมบริการที่พัก และอาหาร (รอยละ 9.38 ของ GPP) รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๒๕ ผลิตภณั ฑม์ วลรวม ตำรำงที่ 2.26 แสดงการขยายตวั ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด จังหวดั อตั รำกำรขยำยตัว GPP (รอ้ ยละ) ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ - เชยี งใหม่ 3.2 2.4 ท่มี า: ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัดแบบปรมิ าณลูกโซ่ พ.ศ. 2562 สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) จังหวัดเชียงใหม่ มีอัตราการขยายตัวของ GPP ในปี 2562 ร้อยละ 2.4 ซง่ึ ขยายตัวลดลง เมือ่ เทียบกบั ปี 2563 ท่ีมีอัตราการขยายตัวของ GPP ท่ีร้อยละ 3.2 ตำรำงท่ี ๒.27 แสดงผลติ ภัณฑ์จังหวดั ตอ่ หัว (GPP per capita) ปี ๒๕๖2 จังหวัด บำทตอ่ ปี เชียงใหม่ 143,638 ที่มา: ผลติ ภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2562 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2562 ของจังหวัดเชียงใหม่เป็นอันดับที่ 28 จากการ เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย โดยมีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว 143,638 บาทต่อปี เพ่ิมข้ึนจากป พ.ศ. 2561 จานวน 6,322 บาท (ป พ.ศ. 2561 มีมูลคา 137,316 บาท) สาหรับผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว ย้อนหลังแสดงให้เห็นว่ามีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น คือ ในปี พ.ศ. 2560 มมี ูลค่า 129,017 และในปี 2559 พบว่ามีมลู คา่ 124,486 บาทตอ่ หวั กำรขยำยตัวทำงเศรษฐกจิ ข้อมูลจากสานักงานแรงงานจังหวัด ตามไตรมาส 1 ปี 2564 พบว่า เศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.7 โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ (2.6 – 2.8) ปรับตัว ดีข้ึนจากการหดตัว รอ้ ยละ - 11.6 ในปีกอ่ น ตามทกุ ภาคการผลติ ด้ำนอุปทำน มีแนวโน้มขยายตัว จากการผลิตภาคบริการ คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.5 (โดยมีช่วง คาดการณ์ร้อยละ (2.4 - 2.6) เพิ่มข้ึนจากการหดตัวร้อยละ - 22.0 ในปีก่อน สืบเน่ืองจากมาตรการกระตุ้น การท่องเท่ยี วในประเทศและจังหวัดไดม้ ีการจัดงาน/เทศกาลต่างๆ อย่างต่อเนอ่ื ง ส่งผลให้จานวนนักท่องเท่ียว ชาวไทยเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาครัฐจะมีมาตรการผ่อนปรนเพื่อเปิดรับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติอีกทั้งช่วง ปลายปีคาดว่าท่ัวโลกจะมีการฉดี วัคซีนอย่างแพรห่ ลาย ที่เป็นปจั จัยหนุนให้นกั ท่องเที่ยวตา่ งชาติ 6.7) เพิ่มข้ึน จากการหดตัวร้อยละ - 58 ในปีก่อน ซ่ึงมีปัจจัยบวกที่ช่วยสนับสนุน เช่น สภาพอากาศท่ีเอื้ออานวย ปริมาณ น้าฝนที่สูงกว่าปีก่อน เกษตรกรมีการดูแลรักษาท่ีดีขึ้น และแรงจูงใจจากนโยบายของภาครัฐในการช่วยเหลือ เกษตรกร เป็นต้น สาหรับการผลิตภาคอุตสาหกรรม คาดว่าขยายตัว (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ (29- 3.1) เพมิ่ ขน้ึ จากการหดตัวร้อยละ 5.0 ในปีก่อน โดยปนี ผี้ ู้ประกอบการตอ้ งปรับเปลี่ยนการดาเนินงานให้ตอบสนอง ความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งตอ้ งเผชิญกับ ความท้าทายหลายด้าน เช่น ภาวะการเปล่ียนแปลง ภาวะการ แข่งขัน และการสื่อสารทีต่ ่อเนือ่ ง/เฉพาะเจาะจงแบบ Omni Channel เพ่อื การเข้าถึงทค่ี รอบคลมุ รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๒๖ ด้ำนอุปสงค์ มีแนวโน้มขยายตัว ตามการใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าขยายตัวร้อยละ 9.8 (โดยมีช่วง คาดการณ์ร้อยละ 4.7 - 4.9) เพิ่มขึ้นจากการหดตัวร้อยละ 22 ในปีก่อน โดยในปี 2563 การลงทุนภาครัฐ ถือเป็นแรงขับเคล่ือนหลักในการกระตุ้นเศรษฐกิจ ส่วนปี 2564 มีมาตรการการคลังด้านการใช้จ่ายภาครัฐ และโครงการคาใช้จ่ายเพ่ือแก้ไขปัญหา เยียวยา และพ้ืนฟูเศรษฐกิจและสงั คมฯ (โควิด 2019) เพ่ือให้เม็ดเงิน หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ (1.0 - 1.2) เพิ่มขนึ้ จากการหดตัวร้อยละ -1.0 ในปีกอ่ น ซง่ึ ยอดชายวสั ดุก่อสร้างมที ศิ ทางขยายตัวโดยเฉพาะ ร้านค้าก่อสร้างวัสดุสมัยใหม่ (Moder Trade) ท่ีสามารถตอบสนองพฤติกรรมผู้บริโภคแบบ New normal และสินเช่ือของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่คาดว่าขยายตัว ตามนโยบายของภาครัฐในการกระตุ้นเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดีสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์คาดว่ายังหดตัว ตามการระมัดระวังในการให้สินเชื่อและความต้องการ ลงทุนทสี่ ดลง สว่ นการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าขยายตวั รอ้ ยละ 1.0 (โดยมชี ่วงคาดการณ์ร้อยละ 0.9 - 1.1) เพิ่มขึ้นจากการหดตัวร้อยละ 10.7 ในปีก่อน โดยผู้ประกอบการประเกทยานยนต์เร่งจัดทากลยุทธ์ท่ีกระตุ้น ยอดขายอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีปัจจัยท่ีจากัด คือ กาลังซ้ือของผู้บริโภคภาระหนี้สินและความเข้มงวดของ สถาบนั การเงิน เป็นตน้ จำกรำยงำนภำวะเศรษฐกิจกำรคลังจังหวัดเชียงใหม่ (กลุ่มงานบริหารการคลังและเศรษฐกิจ สานักงานคลังจังหวัดเชียงใหม่) ในเดือนมิถุนายน 2564 พบว่า หดตัว จากผลกระทบของสถานการณ์ COVID-19 ที่ยืดเย้ือและมีหลายระลอก จึงส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น ภาคการผลิตหลัก คือ ภาคบริการเกิด การหดตัวมากขน้ึ เช่ือมโยงถึงการบริโภค และการลงทนุ ภาคเอกชนช โดยผูป้ ระกอบการมกี ารชะลอการลงทุน ผู้บริโภคมีความกังวลต่อหลายปัจจัยเสี่ยง โดยเฉพาะระดับ กาลังซ้ือที่อ่อนแอและภาระหนี้สิน ซ่ึงภาครัฐได้มี มาตรการต่างๆ ท่ีช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนในบางส่วน นอกจากน้ี จังหวัดเชียงใหม่ได้มีแนวคิดที่ จะทาโครงการ Charming Chiang Mai Sand Box ในการกระตุ้นการท่องเท่ียว ส่วนภาคเกษตรกรรมหดตัว เน่ืองจากปริมาณผลผลิตของข้าวและสุกรท่ีลดลง ซ่ึงการผลิตผลผลิตท่ีได้มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย เป็นปัจจัย สาคัญที่จะส่งผลต่อคุณภาพของผลผลิตและสร้างความมั่นใจแก่ผู้บริโภค อย่างไรก็ตามผลผลิตท่ีมีการเติบโต ได้ดี คือ ผลผลิตของลาไย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และมะม่วง โดยเฉพาะผลผลิตลาไยที่ภาครัฐได้มีแนวทางในการ บริหารจัดการด้านการตลาด เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในด้านระดับรายได้แต่มีปัญหาในเร่ืองการขาดแคลน แรงงานจากสถานการณ์โควิด สาหรบั ภาคการผลิตทีข่ ยายตัว ได้แก่ การใช้จา่ ยภาครัฐและภาคอตุ สาหกรรม เสถียรภำพเศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัด ในเดือนมิถุนายน ขยายตัว ร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันปีก่อน และชะลอลงจากเดือนก่อนท่ีขยายตัว ร้อยละ 2.0 ปัจจัยหลักมาจากดัชนีราคาหมวดอ่ืน ๆ ไม่ใช่อาหาร และเคร่ืองดื่ม ขยายตัว ร้อยละ 2.8 ตามการสูงข้ึนของ ราคาสินค้าหมวดพาหนะ การขนส่งและการสื่อสาร หมวดเครื่องนุ่งห่ม และรองเท้า ส่วนดัชนีราคาหมวด อาหารและเครื่องดื่มไม่มแี อลกอฮอล์ ขยายตวั ร้อยละ 0.1 ตามการเพ่มิ ขึน้ ของราคาในหมวด เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์ หมวดไข่และผลิตภัณฑ์นม หมวดเครื่องประกอบอาหารและหมวดอาหารบริโภค-ในบ้าน เป็นต้น ทั้งนี้ สถานการณ์ด้านแรงงงานอยู่ในช่วงเปราะบาง โดยการจ้างงานเดือนมิถุนายน 2564 มีจานวน 1,004,400 คน หดตัวร้อยละ -1.2 ส่วนจานวนผู้ว่างงานมีจานวน 29,200 คน อัตราการว่างงาน อยู่ที่ ร้อยละ 2.9 สาหรบั จานวนผ้ปู ระกันตน มาตรา 33 หดตัวร้อยละ -3.8 รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๒๗ ตำรำงที่ ๒.28 แสดงรายได้โดยเฉลีย่ ต่อเดือนต่อครัวเรอื นของจังหวัด พ.ศ.๒๕๕๘ –๒๕๖๒ (หนว่ ย:บาท) จังหวดั ๒๕๕๘ ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ เชยี งใหม่ 14,950.40 17,934.20 17,262.70 ทม่ี า สานกั งานสถิติแหง่ ชาติ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564 รายได้โดยเฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือนของจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2558 มีรายได้ 14,950.40 บาท/ปี ปี พ.ศ. 2560 มีรายได้ 17,934.20 บาท/ปี ซงึ่ เพมิ่ ขน้ึ คิดเปน็ รอ้ ยละ 19.96 และ ปี พ.ศ. 2562 มีรายได้ 17,262.70 บาท/ปี ซง่ึ ลงลงจากปี 2560 ร้อยละ 3.74 ตำรำงท่ี ๒.29 แสดงหนีส้ นิ เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรือน จาแนกตามวตั ถปุ ระสงค์ของการกู้ยืม พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ (หน่วย:บาท) จังหวัด วตั ถปุ ระสงค์ของกำรกู้ยืม ๒๕๕๘ ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ หนีส้ ินทงั้ สิ้น 31,195.50 115,219.73 112,076.60 เพอ่ื ใชจ้ ่ายในครัวเรือน 16,372.70 51,373.45 47,180.43 เชยี งใหม่ เพ่ือใช้ทาธุรกจิ ท่ีไม่ใช่ 1,093.20 4,297.98 3,812.56 การเกษตร 7,216.20 19,817.00 15,798.05 เพื่อใชท้ าการเกษตร เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษา 434.10 252.16 945.43 เพือ่ ใชซ้ ื้อ/เชา่ ซื้อบ้านและทีด่ ิน 6,039.10 39,206.14 44,340.13 อื่นๆ 40.30 - - ท่มี า สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564 หมายเหต:ุ หนอี้ ่ืนๆ ได้แก่ หนจี้ ากการคา้ ประกนั บคุ คลอ่ืน หน้คี า่ ปรบั หรือจา่ ยชดเชยค่าเสยี หายเปน็ ต้น แผนภมู ิท่ี 2.6 แสดงหนส้ี นิ เฉลีย่ ตอ่ ครวั เรอื น จาแนกตามวัตถปุ ระสงค์ของการกูย้ ืม พ.ศ. ๒๕๖2 วตั ถุประสงค์ของกำรกู้ยืม เพ่ือใชจ้ ำ่ ยในครัวเรอื น เพอื่ ใชท้ ำธุรกจิ ที่ไมใ่ ช่กำรเกษตร 44,340.13 47,180.43 เพ่อื ใช้ทำกำรเกษตร เพื่อใช้ในกำรศกึ ษำ 15,798.05 เพอ่ื ใชซ้ ื้อ/เช่ำช้ือบำ้ นและท่ีดิน 945.43 3,812.56 ขอ้ มูลด้านหน้ีสนิ เฉล่ียต่อครัวเรือนปี 2562 ครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ส่วนใหญ่เพื่อใช้จ่าย ในครัวเรือน เฉลี่ยครัวเรือนละ 47,180.43 บาท รองลงมา เป็นหน้ีสินหรือมีการกู้ยืมเงิน เพื่อใช้ซ้ือ/เช่าซ้ือ บ้านและท่ีดิน 44,340.13 บาท เพ่ือใช้ทาการเกษตร 15,798.05 บาท เพื่อใช้ทาธุรกิจท่ีไม่ใช่การเกษตร 3,812.56 บาท และเพ่ือใชใ้ นการศึกษา 945.43 บาท รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๒๘ 2.12 ดำ้ นภำคเี ครอื ขำ่ ย ตำรำงท่ี 2.30 แสดงจานวนองค์กรภาคีเครือขา่ ย ประเภท จำนวน หน่วย องค์กรสาธารณะประโยชน์ตาม พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การจัดสวสั ดกิ ารสงั คม 516 องค์กร กองทนุ สวสั ดิการชุมชนตาม พ.ร.บ. สง่ เสริมการจัดสวสั ดิการสงั คม 189 กองทุน สภาองค์กรชมุ ชน 180 ตาบล องค์กรคนพิการ 31 แหง่ ศูนยบ์ รกิ ารคนพกิ ารทว่ั ไป 87 แห่ง ชมรมผูส้ งู อายุ (195,229 คน) 2,066 แห่ง โรงเรียนผูส้ งู อายุ 140 แหง่ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชวี ิต และส่งเสริมอาชพี ของผ้สู งู อายุ (ศพอส.) 53 แหง่ Care giver 1,824 คน ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) 174 แห่ง ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารเพ่ือป้องกันการกระทาความรนุ แรงในครอบครัวระดบั ตาบล (ศปก.ต.) 16 แห่ง คณะกรรมการพัฒนาสตรี 204 แหง่ สภาเดก็ และเยาวชนตาบล 210 แหง่ สภาเดก็ และเยาวชนอาเภอ 25 แห่ง สภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั 1 แหง่ สถานรบั เลีย้ งเดก็ เอกชน 185 แห่ง สถานสงเคราะห์เด็กเอกชน (จดทะเบียน 58 แห่ง ไมจ่ ดทะเบยี น 60 แหง่ ) 118 แห่ง อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ (อพม.) 3,878 คน คลังปัญญาผสู้ งู อายุ 631 คน โครงการบ้านมั่นคง (พอช.) 250 หลงั องค์กรเอกชนด้านการป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์จงั หวดั เชยี งใหม่ 9 แห่ง สถานคมุ้ ครองเอกชนเพ่ือการชว่ ยเหลือและคุ้มครองผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์ 2 แห่ง ทีม่ า สานักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั เชียงใหม่ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 22 สิงหาคม 2564 องค์กรภาคีเครือขา่ ย มีดังน้ี องค์กรสาธารณประโยชน์ 516 องคก์ รกองทนุ สวสั ดิการชมุ ชน 189 กองทุน สภาองค์กรชุมชน 180 แห่ง องค์กรคนพิการ 31 แห่ง ศูนย์บริการคนพกิ ารท่ัวไป 84 แห่ง ชมรมผู้สูงอายุ 2,066 ชมรม ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ (ศพอส.) 54 แห่ง Care giver 1,824 คน ศูนย์ พฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) 174 แห่ง ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัวระดับ ตาบล (ศปก.ต.) 16 แห่ง คณะกรรมการพัฒนาสตรี 204 แห่ง สภาเด็กและเยาวชนตาบล 210 แห่ง สภาเด็กและ เยาวชนอาเภอ 25 แห่ง สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด 1 แห่ง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) 3,878 คน สภาองค์กรชุมชน 57 ตาบล คลังปัญญาผู้สูงอายุ 631 คน โครงการบ้านม่ันคง (พอช.) 250 หลัง องค์กรเอกชนด้านการป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ 9 แห่ง และสถานคุ้มครองเอกชน เพ่อื การชว่ ยเหลือและคุ้มครองผเู้ สียหายจากการค้ามนุษย์ 2 แห่ง รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๒๙ สว่ นท่ี 3 สถำนกำรณก์ ลุ่มเปำ้ หมำยทำงสงั คมจงั หวัดเชยี งใหม่ สถานการณ์กลุ่มเป้าหมายทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี ๒๕๖๔ ประกอบด้วย กลุ่มเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ และกลุ่มคนไร้ที่พึ่ง/ผู้ทาการขอทาน มรี ายละเอยี ดดังน้ี ๓.๑ กลุม่ เดก็ (อายุต่ากว่า ๑๘ ปี บริบรู ณ์) ตำรำงท่ี 3.๑ แสดงสถานการณ์เดก็ จาแนกตามจังหวดั (๑) (๒) (๓) (๔) (หน่วย:คน) เด็กทถ่ี กู ทำรุณ เด็กท่ีอยู่ เด็กทไี่ ด้รบั **เด็กท่ีมี (๕) กรรมทำง ในครอบ เดก็ ท่ี จงั หวัด จำนวน เงินอดุ หนุน พฤตกิ รรม ร่ำงกำยจติ ใจ ครวั เลีย้ ง ตงั้ ครรภก์ ่อน เพ่อื กำรเลยี้ ง ไมเ่ หมำะสม และทำงเพศที่มี วัยอนั ควร กำรดำเนินคดี เดี่ยว และไม่พร้อม ดเู ด็กแรกเกดิ ในกำรเล้ียงดู เชียงใหม่ 346,236 54,996 1,511 43 ๙๖๒ 6 หมำยเหตุ (๑) เด็กที่ได้รับเงนิ อดุ หนุนเพ่ือการเล้ียงดเู ด็กแรกเกิด ท่มี าจาก สานักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัดเชยี งใหม่ ข้อมลู ณ วนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๔ (๒) เด็กทีม่ ีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม ทีม่ าจาก - ขอ้ มลู สถานพินจิ และคุม้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวัดเชยี งใหม่ ณ วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2564 (575) - ขอ้ มลู จาก สพป.ชม.3 ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 (935) - ข้อมลู จาก สถาบันพฒั นาเดก็ ราชนครรินทรเ์ ชยี งใหม่ ณ วันท่ี 30 สงิ หาคม 2564 (1) (3) เด็กทีถ่ ูกทารุณกรรมทางรา่ งกายจิตใจและทางเพศทม่ี กี ารดาเนินคดี ทม่ี าจาก - ข้อมูลจาก มูลนธิ ชิ ว่ ยไทย (2) ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 - ข้อมลู จาก รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ (4) ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 - ข้อมลู จาก สพป.ชม 3 (2) ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 - ข้อมลู จากมูลนธิ ิโซเอ (1) ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 - ข้อมลู จาก รพ.นครพงิ ค์ (23) ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 - ข้อมลู จากบา้ นพกั เด็กและครอบครัวจังหวดั เชียงใหม่ (11) ณ วันท่ี 27 สิงหาคม 2564 (4) เดก็ ที่อยใู่ นครอบครวั เลี้ยงเดี่ยว ทม่ี าจากกรมเดก็ และเยาวชน ข้อมูล ณ วันที่ 27 สงิ หาคม ๒๕๖4 (5) เด็กและเยาวชนทต่ี งั้ ครรภก์ ่อนวัยอันควรและไม่พรอ้ มในการเล้ียงดูทม่ี าจาก สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด และ สพม.เชยี งใหม่ ๓๕ ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓ จังหวัดเชียงใหม่ พบจานวนกลุ่มเด็ก (อายุต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์) จานวน ๓๖๘,๒๑๓ คน มเี ดก็ ทไ่ี ด้รับเงินอดุ หนุนเพ่ือการเลย้ี งดเู ด็กแรกเกิด จานวน 54,996 คน ข้อมูล ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2564 พบว่า ช่วงอายุของแม่เด็กที่ลงทะเบียน พบว่า อายุน้อยกว่า 20 ปี จานวน 5,719 คน ช่วงอายุ 20-25 ปี จานวน 12,901 คน จานวน 26-30 ปี จานวน 11,987 คน อายุ 31-39 ปี จานวน 12,790 คน และมากกว่า 40 ปี จานวน 1,971 คน รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓๐ 5 อาเภอที่ลงทะเบยี นมากทีส่ ดุ ไดแ้ ก่ อมก๋อย 5,020 คน แมอ่ าย 3,933 คน แมแ่ จม่ 3,898 คน แมแ่ จม่ 3,842 คน ฝาง 3,842 คน และเชยี งดาว 3,487 คน ส่วน 5 อาเภอทีล่ งทะเบียนน้อยท่สี ุด คอื แม่ ออน 614 คน ดอยหลอ่ 624 คน สารภี 1,599 คน ดอยละเก็ด 1,758 คน และสนั กาแพง 1,815 คน จากการสารวจของกรมกิจการเดก็ และเยาวชน พบว่า เด็กทอี่ ยู่ในครอบครัวเล้ียงเดี่ยว จานวน ๙๖๒ ราย เด็กท่ีมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม จานวน ๙๓๖ ราย เด็กและเยาวชนที่ต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควรและไม่พร้อม ในการเล้ียงดู จานวน ๖ ราย ๓.๒ กล่มุ เยำวชน (อายุ ๑8 - ๒๕ ปี) ตำรำงท่ี 3.๒ แสดงสถานการณ์เยาวชน จาแนกตามจังหวดั (หน่วย:คน) (๑) (๒) จังหวัด จำนวน **เยำวชนทม่ี พี ฤตกิ รรม เยำวชนที่ถูกทำรุณกรรม ไม่เหมำะสม ทำงร่ำงกำยจติ ใจและทำงเพศ เชียงใหม่ 147,480 3,8003 86 หมำยเหตุ (๑) เยำวชนท่มี ีพฤตกิ รรมไม่เหมำะสม ที่มำจำกวำรสำรวชิ ำกำรสำธำรณสขุ ขอ้ มูล ณ เมษำยน 2564 ** เยาวชนทีม่ พี ฤตกิ รรมไมเหมาะสม หมายถงึ 1) ดมื่ เครื่องดืม่ ท่ีมแี อลกอฮอล สบู บุหรีแ่ ละตดิ สารเสพตดิ รายแรง เชน ยาบ้า ยาอี สารระเหย กญั ชา เปนตน 2) ม่ัวสุมและทาความราคาญใหกบั ชาวบาน 3) ติดเกมส และเลนการพนันตาง ๆ 4) มีพฤตกิ รรมทางเพศ (๒) เยาวชนทถี่ กู ทารุณกรรมทางร่างกายจติ ใจและทางเพศ ที่มาจากศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดเชียงใหม่ ขอ้ มูล ณ สงิ หาคม 2564 กลมุ่ เยาวชน (อายุ ๑8 - ๒๕ ปี) ในจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 147,480 คน พบเยาวชนทไ่ี ม่เหมาะสม จานวน 3,8003 คน เช่น ดม่ื เครื่องด่มื ทม่ี ีแอลกอฮอล สูบบุหร่ีและตดิ สารเสพติดรายแรง มว่ั สุมและทาความ ราคาญใหกับชาวบาน ติดเกมส มีพฤติกรรมทางเพศและเลนการพนันตาง ๆ และมีเยาวชนท่ีถูกทารุณกรรม ทางรา่ งกายจติ ใจและทางเพศ จานวน 86 ราย ๓.๓ กลุ่มสตรี (หญิงทม่ี ีอายุ ๒6 – ๕๙ ปี) ตำรำงที่ 3.๓ แสดงสถานการณก์ ลมุ่ สตรี จาแนกตามจงั หวัด (๑) (๒) (๓) (หน่วย:คน) แมเ่ ลี้ยงเดย่ี วฐำนะ จังหวดั จำนวน สตรีท่ถี กู สตรทีีีถกู ทำ ยำกจนท่ีตองเลยี้ งดู (๔) ละเมดิ ทำง รำยรำงกำย บุตรเพียงลำพงั สตรที ถี่ ูก เลกิ จ้ำง/ เพศ จิตใจ ตกงำน เชียงใหม่ 460,328 0 19 962 554 หมำยเหตุ (๑) สตรที ี่ถกู ละเมดิ ทางเพศ ทมี่ าจาก www.violence.go.th ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 20 สงิ หาคม 2564 (๒) สตรทีี ถี กู ทารายรางกาย จิตใจ ท่มี าจาก www.violence.go.th ข้อมลู ณ วันที่ 20 สงิ หาคม 2564 (๓) แมเ่ ลย้ี งเดยี่ วฐานะยากจนท่ีตองเลย้ี งดบู ตุ รเพยี งลาพงั ท่ีมาจากกรมกจิ กรมเดก็ และเยาวชน ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2564 (๔) สตรีทีถ่ กู เลิกจ้าง/ตกงาน ทมี่ าจากสานกั งานสถติ แิ ห่งชาติ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564 รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ มีจานวนประชากรกลุ่มสตรี ช่วงอายุ ๒6 – ๕๙ ปีจานวน 460,328 คน พบวา่ เป็น แม่เลี้ยงเด่ียวฐานะยากจนที่ต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลาพัง จานวน 962 ราย มีสตรีที่ถูกเลิกจ้าง หรือตกงาน จานวน 554 คน และฐานข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัวจังหวัด เชียงใหม่ (www.violence.go.th) พบสตรที ี่ถกู ทาร้ายรา่ งกายจติ ใจ จานวน 19 ราย ๓.๔ กลมุ่ ครอบครัว (๓) (หนว่ ย:ครอบครัว) ครอบครวั ตำรำงที่ 3.๔ แสดงสถานการณ์กลมุ่ ครอบครัวจาแนกตามจังหวัด แหว่งกลำง (๔) ครอบครัว (๑) (๒) ยำกจน ครอบครวั ครอบครวั ที่มีคนใน จังหวดั จำนวน หย่ำร้ำง ครอบครัวกระทำควำม รุนแรงต่อกัน เชียงใหม่ ๘๓๕,๙๗๗ 3,008 ๓๘ 81,420 43,369 หมำยเหตุ (๑) ครอบครวั หยา่ รา้ ง ท่ีมาจากสานกั งานทะเบยี นกรมการปกครอง ขอ้ มลู ณ วันที่ 27 สงิ หาคม 2564 (๒) ครอบครัวท่ีมีคนในครอบครัวกระทาความรุนแรงต่อกัน ที่มาจากศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัว จงั หวัดเชียงใหม่ ข้อมลู ณ วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ (๓) ครอบครวั แหวง่ กลาง ที่มาจากกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ปี 2562 ข้อมูล ณ วนั ที่ 27 สิงหาคม 2564 (๔) ครอบครัวยากจน ทีม่ าจาก TPMAP ข้อมูล ณ วนั ที่ 27 สิงหาคม 2564 จานวนกลุ่มครอบครัวในจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวน ๘๓๕,๙๗๗ ครัวเรือน มีครอบครัวแหว่งกลาง (skipped generation family) ซึ่งหมายถึง ครอบครัวท่ีมีสมาชิกรุ่นปู่-ย่า แล้วข้ามไปท่ีรุ่นหลาน จานวน 81,420 ครอบครัว เป็นครอบครัวยากจน จานวน 43,369 ครัวเรือน มคี รอบครัวทมี่ ีคนในครอบครวั กระทา ความรุนแรงต่อกัน ๓๘ ครอบครัว รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓๒ ๓.๕ กลุม่ ผสู้ งู อำยุ (อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป) ตำรำงที่ 3.๕ แสดงสถานการณ์ผู้สูงอายุ จาแนกตามจงั หวัด (หน่วย:คน) (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) ผสู ูงอำยุ ผสู ูงอำยุท่ี ผสู งู อำยุ ผู้สูงอำยทุ ่ี ผสู งู อำยุที่ ผสู ูงอำยุ ชว่ ยเหลอื ตัวเองไมได/้ ต้องดำรง ท่ีถกู รบั ภำระ ไดรบั เบยี้ ที่ยงั ไม่ได้ ไมมคี นดูแล/ ชพี ดว้ ย กระทำ ดูแลบุคคลใน ไมมีรำยได/ กำรเรร่ อ่ น ควำม ครอบครัว ยังชีพ รับเบี้ยยงั ผปู้ ่วยเรือ้ รงั ขอทำน รนุ แรง ติดบำ้ น ทำงรำง เช่น คน จังหวัด จำนวน ชีพ ตติ เตยี ง กำยหรอื พกิ ำร ผปู้ ่วย จติ ใจ เรอื้ รัง บตุ ร หลำน และ จติ เวช เชยี งใหม่ ๓63,488 ๓๐๕,๕๑๙ 39,718 8,520 2 0 57,200 หมำยเหตุ (๑) ผสู ูงอายทุ ี่ไดรบั เบยี้ ยงั ชีพ ท่ีมาจากสานักงานทอ้ งถนิ่ จงั หวัดเชียงใหม่ 27 สิงหาคม 2564 (๒) ผสู ูงอายุท่ียังไม่ไดร้ บั เบย้ี ยงั ชพี ทม่ี าจากระบบ TPMAP (๓) ผสู ูงอายุชว่ ยเหลอื ตวั เองไมได/้ ไมมีคนดแู ล/ไมมรี ายได ผูป้ ว่ ยเร้ือรังตดิ บา้ น/ตติ เตยี ง ที่มาจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชยี งใหม่ ขอ้ มูล ณ มกราคม 2564 (๔) ผสู งู อายทุ ต่ี ้องดารงชพี ดว้ ยการเรร่ ่อน ขอทาน ท่มี าจากศูนยค์ ุ้มครองจงั หวัดเชยี งใหม่ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 27 สิงหาคม 2564 (๕) ผสู งู อายทุ ถ่ี กู กระทาความรนุ แรงทางรางกายหรอื จิตใจ ทีม่ าจาก www.violence.go.th ข้อมูล ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2564 (๖) ผูส้ งู อายทุ ร่ี บั ภาระดูแลบุคคลในครอบครวั เชน่ คนพกิ าร ผ้ปู ่วยเรอื้ รงั บตุ รหลาน และจติ เวช ทีม่ าจากกรมกจิ การสตรีและ สถาบนั ครอบครวั ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2562 จังหวัดเชียงใหม่มีผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จานวน ๓63,488 ราย คิดเป็น 20.37 เปอร์เซ็นต์ของ ประชากรทั้งหมดในเชียงใหม่ เป็นชายจานวน ๑64,040 ราย เป็นหญิงจานวน ๑๙9,448 ราย ซ่ึงพบว่าได้รับ เบี้ยยังชีพแล้ว จานวน ๓๐๕,๕๑๙ ราย และยังไม่ได้เบ้ียยังชีพอยู่ท่ีจานวน 39,718 ราย เป็น ผูสูงอายุช่วยเหลือตัวเองไมได้/ติดเตียง จานวน 8,520 ราย ผู้สูงอายุที่ต้องดารงชีพด้วยการเร่ร่อนขอทาน จานวน 2 ราย ผู้สูงอายุที่รับภาระดูแลบุคคลในครอบครัว จานวน 57,200 ราย จากฐานข้อมูล TPMAP ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๔ พบว่า ผู้สงู อายุทมี่ บี ตั รสวสั ดิการแหง่ รฐั จานวน ๑๒๔,๖๒๒ ราย จากสถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 ในระดับภาค พบว่า ภาคเหนือมี จานวนประชากรผู้สูงอายุมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 19.87 รองลงมาเป็นภาคกลาง ร้อยละ 18.66 ภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ร้อยละ 16.86 ภาคตะวันออก รอ้ ยละ 15.56 และภาคใต้ รอ้ ยละ 15.22 หากเรียงลาดับจังหวัดที่มีจานวนผู้สูงอายุมากที่สุด 5 ลาดับ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแกน่ อบุ ลราชธานี ข้อมูลจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ (มิถุนายน 2564) พบว่าจากการคัดกรองกลุ่ม ผู้สูงอายุ จานวน 242,290 คน พบผู้สูงอายกุ ลุ่มตดิ เตียง จานวน 1,457 คน คิดเป็นร้อยละ 0.60 ผู้สูงอายุ กลมุ่ ติดบา้ น จานวน 5,534 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.28 ผสู้ งู อายกุ ลุ่มติดสังคม จานวน 235,299 คน คิดเป็น ร้อยละ 97.11 รายงานสถานการณ์สังคมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๓๓ สาหรับแนวโน้มประชากรผู้สูงอายจุ ากต่างประเทศท่ีเข้ามาในจงั หวัดเชียงใหม่ ข้อมูลจากตรวจคนเข้า เมืองจังหวดั เชียงใหม่ (สิงหาคม 2563) พบวา่ มีผูส้ ูงอายชุ าวต่างประเทศ ประเภท Retirement Visa จานวน 3,240 คน 5 สัญชาติอันดับสูงสุด ได้แก่ อเมริกัน 684 คน ญี่ปุ่น 424 คน จีน 349 คน บริติช 326 คน ฝรั่งเศส 215 คน ในปี 2562 มจี านวน 6,020 คน และปัจจบุ นั มจี านวนลดลงเน่ืองจากสถานการณโ์ ควดิ - 19 ๓.๖ กลุ่มคนพกิ ำร ตำรำงที่ 3.๖ แสดงสถานการณค์ นพิการ จาแนกตามจงั หวัด คนพิกำรทม่ี บี ตั ร คนพิกำรทไี่ ด คนพกิ ำรทไี่ ม่ คนพิกำรมี (หน่วย:คน) ประจำตวั คน รับเบย้ี ยงั ชีพ ไดรับเบ้ยี ยัง ควำมตอง คนพิกำรที่อยู่ กำรกำย คนเดียวตำม จงั หวัด จำนวน พกิ ำร (2) ชีพ อุปกรณ์ ลำพัง/ไมม่ ี (1) (3) ผดู้ ูแล/ถกู (4) ทอดทิง้ (5) เชียงใหม่ ๕๓,๐๕๔ ๕๓,๐๕๔ ๕๑,๗๕๕ ๑,๒๙๙ 58 2 หมายเหตุ : (1) คนพกิ ารที่มีบตั รประจาตวั คนพิการ ท่มี าจากศนู ย์บรกิ ารคนพิการจังหวดั เชยี งใหม่ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2564 (2) คนพกิ ารทไ่ี ดรบั เบี้ยยังชีพ ทมี่ า : ท้องถิน่ จงั หวัดเชยี งใหม่ (3) คนพิการที่ไม่ไดรบั เบยี้ ยงั ชีพ ท่มี า : TPMAP (4) คนพกิ ารมคี วามตองการกายอปุ กรณ์ : ศูนยบ์ รกิ ารคนพกิ ารจังหวัดเชียงใหม่ (5) คนพกิ ารทอ่ี ยคู่ นเดียวตามลาพัง/ไมม่ ีผู้ดแู ล/ถกู ทอดทง้ิ : ศนู ย์บริการคนพิการจงั หวดั เชยี งใหม่ ในจังหวัดเชียงใหม่ มีคนพิการทยี่ ่ืนขอมีบัตรคนพิการทั้งหมดจานวน 53,054 คน และพบคนพิการ ที่ได้เบี้ยยังชีพจานวน ๕๑,๗๕๕ คน คิดเป็นร้อยละ 97.55 และคนพิการท่ีไม่ได้เบี้ยยังชีพจานวน ๑,๒๙๙ คน คิดเป็นร้อยละ 2.45 และยังมีคนพิการท่ีมีความตองการกายอุปกรณ์ 58 คน คนพิการอยู่คนเดียวตามลาพัง/ไม่มี ผูด้ แู ล/ถกู ทอดทิ้ง 2 คน ตำรำงท่ี 3.7 แสดงจานวนคนพิการจาแนกตามสาเหตคุ วามพิการ แยกรายจงั หวดั (หน่วย:คน) สำเหตคุ วำมพิกำร จังหวัด พันธกุ รรม โรคตดิ เชือ้ อบุ ตั เิ หตุ โรคอ่นื ๆ ไมท่ รำบ มำกกว่ำ รวม สำเหตุ 1 สำเหตุ เชยี งใหม่ ๑๘๑ ๖๘๘ ๒,๓๗๔ ๖,๕๙๒ ๓๒,๙๒๔ ๓,๒๑๗ ท่ีมาข้อมูลจากศนู ย์บริการคนพิการจังหวัด ณ วันท่ี 20 สิงหาคม 2564 จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนคนพิการที่มีบัตรประจาคนพิการ มีจานวนทั้งหมด ๕๓,๐๕๔ ราย จาแนก ตามสาเหตุความพิการ พบคนพิการโดยไม่ทราบสาเหตุมากท่สี ุดเป็นจานวน ๓๒,๙๒๔ ราย รองลงมาคือพิการ รายงานสถานการณ์สังคมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓๔ จากโรคอ่ืนๆ จานวน ๖,๕๙๒ ราย พิการมากกว่า 1 สาเหตุ จานวน ๓,๒๑๗ ราย พิการจากอุบัติเหตุจานวน ๒,๓๗๔ ราย พกิ ารจากโรคตดิ เชอื้ ๖๘๘ ราย และพกิ ารจากพันธกุ รรมจานวน ๑๘๑ ราย ตามลาดับ ตำรำงที่ 3.8 แสดงประเภทคนพิการ ลำดับ ประเภทควำมพกิ ำร จำนวน ร้อยละ 1. ทางการเคลอ่ื นไหวหรือรา่ งกาย 25,172 47.45 2. ทางการได้ยนิ หรอื ส่ือความหมาย 14,021 26.43 3. ทางจิตใจหรอื พฤตกิ รรม 3,511 6.62 4. ทางสติปญั ญา 3,531 6.22 5. ทางการเห็น 3,030 5.71 6. ทางออทิสตกิ 577 1.09 7. ทางการเรียนรู้ 366 0.69 8. พกิ ารมากกวา่ 1 ประเภท 3,073 5.79 รวม 53,054 100 ท่มี า : สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั เชียงใหม่ วันที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๔ สาหรับประเภทคนพิการที่พบมากท่สี ุด คือ พิการทางการเคลื่อนไหวหรอื รา่ งกาย จานวน 25,172 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.45 รองลงมาคือ พิการทางการได้ยินหรือส่ือความหมาย จานวน 14,021 ราย คิด เป็นร้อยละ 26.43 พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จานวน 3,511 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.62 พิการทาง สติปัญญา จานวน 3,531 ราย 3,531 6.22 ทางการเห็น จานวน 3,030 คน คิดเป็นร้อยละ 5.71 พิการ ทางออทิสติก จานวน 577 คน คิดเป็นร้อยละ 1.09 และพิการทางการเรียนรู้น้อยท่ีสุด จานวน 366 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 0.69 มีความพกิ ารมากกวา่ 1 ประเภท จานวน 3,073 คน แผนภำพท่ี 3.1 แสดงข้อมลู คนพกิ ารระดบั อาเภอ อาเภอท่ีมีคนพิการมากที่สุด คือ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จานวน 4,745 ราย รองลงมาคืออาเภอ สันป่าตอง จานวน 3,324 ราย และอาเภอสันทราย จานวน 3,282 ราย ส่วนอาเภอท่ีมีคนพิการน้อยท่ีสุดคือ อาเภอกัลยาณิวัฒนา จานวน 265 ราย อาเภอเวียงแหง จานวน 542 ราย และอาเภอ อมก๋อย จานวน 1,077 ราย ท่ีมา : สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวัดเชียงใหม่ วนั ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ รายงานสถานการณ์สังคมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๓๕ ๓.๗ กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกำส ตำรำงที่ 3.9 แสดงสถานการณ์กลมุ่ ผดู้ ้อยโอกาส จาแนกตามจงั หวดั (หน่วย:คน) จงั หวดั คนไร้ทพ่ี ่ึง ผูท้ ำกำร ผ้แู สดง กลมุ่ ชำตพิ นั ธ/ุ์ ผ้ตู ิดยำเสพติด ผู้ตดิ เช้ือ (1) ขอทำน ควำมสำมำรถ ชนกลุ่มน้อย (5) HIV (6) (2) (3) (4) เชยี งใหม่ ๒๓๑ 1 257 ๓๔๙,๑๑๘ 706 23,355 (1) และ (2) ทีม่ าขอ้ มลู จากศนู ยค์ มุ้ ครองคนไรท้ ี่พ่งี จงั หวัดเชยี งใหม่ ณ วันที่ 27 สงิ หาคม 2564 (3) ทมี่ า สานกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัดเชียงใหม่ ณ วนั ที่ 27 สิงหาคม 2564 (4) ท่มี า ศูนย์พัฒนาราษฎรเรยี นรูบ้ นทสี่ งู จังหวดั เชยี งใหม่ ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564 (5) ที่มา ตารวจภูธรจังหวัดเชยี งใหม่ ณ วนั ท่ี 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 (6) ทีม่ า สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ณ วันที่ 27 สงิ หาคม 2564 กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ประกอบด้วย คนไร้ที่พ่ึง จานวน 231 ราย ผู้ทาการขอทาน จานวน 1 ราย ผู้แสดงความสามารถ จานวน 257 ราย กลุ่มชาติพันธ์ุ/ชนกลุ่มน้อย จานวน ๓๔๙,๑๑๘ ราย จานวนผู้ติดยา เสพตดิ จานวน 706 ราย และผตู้ ิดเชอื้ HIV จานวน 23,355 ราย สาหรับ กลุ่มคนไร้ที่พึ่งมากที่สุดในปี ๒๕๖๔ จานวน ๒๓๑ ราย เป็นชาย ๑๗๕ ราย หญิง ๕๖ ราย รองลงมาคือ ปี 2560 จานวน ๒๐๐ ราย ปี 2563 จานวน ๑๙๗ ราย ปี 2561 จานวน ๑๗๖ ราย และปี 2562 จานวน ๑๓๙ ราย ตำรำงท่ี 3.10 แสดงสถานการณ์กลุ่มคนไร้ที่พ่งึ ปี พ.ศ. 25๖๐ – 256๔ ปี จำนวน (คน) ชำย หญิง รวม หมำยเหตุ 2560 ๑๓๕ 65 ๒๐๐ 2561 ๑๒๑ 55 ๑๗๖ 2562 ๑๐๑ 38 ๑๓๙ 2563 ๑๔๙ 42 ๑๙๗ 256๔ ๑๗๕ ๕๖ ๒๓๑ ท่ีมา : ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไรท้ ีพ่ งึ่ จังหวดั เชียงใหม่ ณ วันท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ปี 256๔ จังหวัดเชียงใหม่ พบกลุ่มคนไร้ท่ีพึ่งจานวน ๒๓๑ ราย เป็นชาย ๑๗๕ ราย หญิง ๕๖ ราย โดยให้ความรู้และให้คาแนะนาจานวน ๑๒๐ ราย เข้ารับการรักษาจานวน ๒๖ คน ส่งเข้าสถานคุ้มครอง จานวน ๔ ราย สง่ ต่อหนว่ ยงาน พม. จานวน ๕ ราย ส่งสมัครเขา้ ทางาน ฝึกอาชีพ จานวน ๑ ราย และ สง่ กลับ คืนสู่ครอบครัวจานวน ๗๕ ราย และพบกลมุ่ ขอทาน จานวน ๑ รายเป็นเพศชาย ถูกจบั คมุ คดี พระราชบัญญัติ ขอทาน๒๕๕๙ โดยทาการส่งคืนครอบครัวหลังจากตักเตือน แนะนา พร้อมทั้งนัดหมายการลงพ้ืนท่ีเย่ียมบ้าน เพื่อใหก้ ารช่วยเหลอื ฟ้นื ฟตู ามลาดับต่อไป รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓๖ ตำรำงที่ 3.11 แสดงผลการดาเนินงานคนขอทานปี พ.ศ. 25๖๐ – 256๔ ปี จำนวน (คน) ชำย หญิง รวม หมำยเหตุ 2560 20 28 ๔๘ 2561 13 22 ๓๕ 2562 8 8 ๑๖ 2563 1 0 ๑๖ 256๔ ๑ ๐ ๑ ทม่ี า : ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ท่ีพ่ึงจงั หวดั เชียงใหม่ ณ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ พบกลุ่มขอทาน จานวน ๑ รายเป็นเพศชาย ถูกจับคุมคดี พระราชบัญญัติขอทาน ๒๕๕๙ ซึ่งเป็นคน ต่างด้าว ท่ีมีปัญหาซ้าซ้อน จึงได้ผลักดันกลับประเทศนอกจากน้ี ทางสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดาเนินการออกบัตรประจาตัวผู้แสดงความสามารถ หรือบัตรประจาตัววณิพก เพ่ือ ยกระดับอาชีพและเป็นมาตรฐานตามหลักสากล ซึ่งจะช่วยคัดกรองผู้ที่กระทาผิด พ.ร.บ.ขอทาน ได้เป็นอย่างดี โดยภายหลังดาเนนิ การพบว่าจานวนคนขอทานของจังหวัดเชียงใหม่ลดลงเป็นจานวนมาก แผนภำพที่ 3.2 แสดงสถานการณก์ ลุ่มคนไร้ทีพ่ ่ึงและขอทาน รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๓๗ ส่วนที่ ๔ สถำนกำรณ์เชิงประเดน็ ทำงสงั คมในระดบั จงั หวดั ๔.๑ สถำนกำรณ์กำรคำ้ มนุษย์ จังหวดั เชียงใหม่ เป็นจังหวัดตน้ ทาง ทางผ่าน และปลายทางของปญั หาการค้ามนษุ ย์ สาหรับ พ้ืนที่ต้นทางเป้าหมายส่วนใหญ่อยู่ในตัวเมือง บริเวณถนนลานประตูท่าแพ โรงแรมและสถานบริการ สถาน บันเทงิ ในอาเภอเมืองเชียงใหม่ เน่ืองจากจังหวดั เชยี งใหม่เป็นศนู ย์กลางการท่องเทยี่ ว การคมนาคมขนส่ง ด้าน การศึกษา และมีพื้นท่ีติดต่อกบั ประเทศเพื่อนบ้าน ทาใหม้ ีผู้คนเข้ามาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่จานวนมาก ทงั้ เข้า มาอยู่และทางานในภาคอตุ สาหกรรมและบรกิ าร ส่งผลกระทบต่อการเกิดปัญหาสังคมโดยเฉพาะปญั หาการค้า มนุษย์ จากสถิติของศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ (ศปคม.ชม.) ปี 2563 มีการคัดแยกผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์ จานวน 8 ครัง้ คดั แยกผู้เสียหายจากการคา้ มนุษย์ จานวน 39 คน พบว่าเข้าข่ายเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จานวน 5 คน และไม่เข้าข่ายเป็นผู้เสียหายจากการค้า มนษุ ย์ จานวน 34 คน โดยจงั หวัดเชียงใหม่ มีรูปแบบกำรค้ำมนุษย์ท่ีสำคัญ ได้แก่ ด้านการแสวงหาประโยชน์ ทางเพศและการค้าประเวณี (3 คดี) โดยรูปแบบการแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการค้าประเวณีที่พบเป็น ธุรกจิ ทางเพศแฝงตัวอยู่ตามสถานบริการและสถานบันเทงิ ซึ่งจังหวัดเชียงใหมเ่ ปน็ ศูนย์กลางการท่องเทย่ี วจึงมี สถานประกอบการสุ่มเสี่ยงเป็นจานวนมาก มีการนาเด็กชายและเยาวชนชาย อายุระหว่าง 13 - 17 ปี เข้าสู่ กระบวนการคา้ ประเวณเี พิม่ ข้ึน ในสถานร้านคาราโอเกะ ผับ สปา นวด ซงึ่ แอบแฝงการค้าประเวณี โดยมกี ลุ่ม ลูกค้าชาวต่างชาติเป็นผู้ซ้ือบริการจากเจ้าของสถานบันเทิง มีการซกั ชวนเด็กผู้ชายไปถ่ายภาพอนาจารเด็ก นา ภาพโปรโมทในเว็บไซด์ร้านและใน twitter ให้มีความน่าสนใจ ดึงดูดผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก ซึ่งมีลักษณะท่ี ส่อไปในทางเพศ โดยในแต่ละครง้ั เจ้าของสถานบันเทิงจะเป็นผู้ติดต่อไปยังเด็กชาย ให้มาทางานท่ีร้านเป็นคร้ัง คราว ถา้ มผี ู้ซื้อบริการก็จะโทรศัพท์ให้เด็กมาที่สถานบันเทิงตามที่เจ้าของสถานประกอบการสั่งเท่าน้ัน สถานที่ หรือพ้ืนที่เป้าหมายส่วนใหญ่อยู่ในตัวเมือง บริเวณถนนลานประตูท่าแพ โรงแรมและสถานบันเทิงในอาเภอ เมอื งเชียงใหม่ และการคา้ ประเวณสี ว่ นใหญ่ในปัจจบุ นั เป็นการขายบรกิ ารเพศ การนวดเพอ่ื สาเรจ็ ความใคร่ 4.1.1 สถิตกิ ำรคำ้ มนษุ ยจ์ ังหวัดเชียงใหม่ ระหวำ่ งปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ แผนภมู ทิ ่ี 4.1 แสดงจานวนคดีคา้ มนษุ ย์จังหวัดเชยี งใหม่ ระหวา่ งปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ จำนวนคดคี ้ำมนุษย์จงั หวดั เชยี งใหม่ ระหว่ำงปี 2560 – 2564 60 50 52 40 30 20 21 25 10 3 10 0 2560 2561 2562 2563 2564 จำนวนผตู้ อ้ งหำคดีค้ำมนุษย์ในจังหวดั เชียงใหม่ ปี 2560 - 2564 ท่มี า : ศนู ยป์ ฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการคา้ มนุษย์จังหวัดเชยี งใหม่ วนั ที่ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔ รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๓๘ จานวนผู้ต้องหาคดีค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ มีมากท่ีสุดในปี ๒๕๖๒ จานวน ๕๒ ราย รองลงมาคือปี ๒๕๖๑ จานวน ๒๕ ราย ปี ๒๕๖๐ จานวน ๒๑ ราย ปี๒๕๖๔ จานวน ๑๐ ราย และ ปี๒๕๖๓ จานวน ๓ ราย 4.1.2 ผ้ตู อ้ งหำคดคี ้ำมนษุ ย์ สถิติจานวนผู้ต้องหาคดีค้ามนุษย์ในจังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2560 – 2563 พบว่า มีผตู้ ้องหาทง้ั สิ้นจานวน 100 คน ส่วนมากเป็นสัญชาติไทย จานวน 65 คน ไม่มสี ญั ชาติ จานวน 18 คน และ สัญชาติเมียนมาร์ จานวน 13 คน นอกน้ันเป็นสัญชาติไทยใหญ่ อินโดนิเซีย และหากจาแนกตามเพศพบว่า ผูต้ อ้ งหาสว่ นใหญ่เปน็ เพศหญงิ โดยมีจานวน 55 คน และเป็นเพศชาย จานวน 45 คน รวมท้งั สิน้ 100 คน ตำรำงที่ 4.1 จานวนผู้ต้องหาคดีค้ามนุษย์ในจังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2560 – 2563 จาแนกตามสัญชาติ และเพศ ปี พ.ศ. จำนวนผู้ต้องหำคดคี ้ำมนษุ ย์ในจังหวัดเชียงใหม่ (จำแนกตำมสัญชำติและเพศ) 2560 2561 ไทย อนิ โดนีเซีย ไทยใหญ่ พม่ำ เกำหลใี ต้ ไมม่ สี ัญชำติ รวม/คน 2562 2563 ชำย หญงิ ชำย หญิง ชำย หญิง ชำย หญิง ชำย หญิง ชำย หญิง ชำย หญิง รวม 8 12 -- -- 1- -- -- 9 12 รวมทั้งหมด 5 19 1- -- -- -- -- 6 19 8 11 -- 3- 48 -- 13 5 28 24 2- -- -- -- -- -- 2- 23 42 1- 3- 58 -- 13 5 45 55 13 65 1 3 - 18 100 ท่มี า : ศนู ย์ปฏบิ ัติการป้องกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์จงั หวัดเชียงใหม่ ข้อมูล ณ วันที่ 21 กันยายน 2563 4.1.3 ผเู้ สยี หำยจำกกำรค้ำมนษุ ย์ ข้อมูลระหว่างปี 2560 – 2563 พบว่าจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนผู้เสียหายจากคดีค้ามนุษย์ รวม ท้งั สน้ิ จานวน 144 คน ซง่ึ ในปี 2563 พบว่ามีผเู้ สียหายสญั ชาติไทย เป็นผู้ชาย จานวน 5 คน ตำรำงที่ 4.2 จานวนผู้เสียหายจากคดีค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2560 – 2563 จาแนกตาม สัญชาติและเพศ จำนวนผู้เสยี หำยจำกคดคี ้ำมนษุ ย์จงั หวัดเชียงใหม่ จำแนกตำมสญั ชำติและเพศ ปี พ.ศ. ไทย ลำว พมำ่ ไมป่ รำกฏ รวม 2560 ชำย หญงิ ชำย หญิง ชำย หญิง ชำย หญิง ชำย หญิง 2561 2562 - 9 - - 1 1 - - 1 10 2563 4 15 - - 5 2 - 3 9 20 รวม รวมทัง้ หมด - 16 - - 38 45 - - 38 61 5- - - - - - - 5 - 9 40 - - 44 48 - 3 53 91 49 - 92 - 144 ท่มี า : ศนู ย์ปฏบิ ัติการปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 21 กันยายน 2563 รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๓๙ 4.1.4 ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ สถำนกำรณก์ ำรค้ำมนุษยข์ องจังหวัดเชยี งใหม่ จังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองใหญ่ จึงมีผู้คนเข้ามาตั้งที่อยู่อาศัยและทางานเป็นจานวนมาก มีความหลากหลายทางภาษา เชื้อชาติ และภูมิประเทศ สาเหตุส่วนหน่ึงของการตกเป็นเหย่ือของการค้ามนุษย์ เกิดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด – 19 ทาให้คนตกงานเป็นจานวนมาก สถานบันเทิงปิดตัว จึงทาให้มีการลักลอบนาเด็ก เยาวชน ท่ีมีฐานะยากจน ต้องการหาเงินมาใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน เข้ามาสู่ กระบวนการค้ามนษุ ย์ได้ง่ายมากขึ้น และปัญหาความด้อยโอกาสทางการศึกษา ขาดความรู้ ความรู้เท่าไม่ถงึ การณ์ ผู้ปกครองขาดทักษะในการอบรมเล้ียงดู ค่านิยมการบริโภค การผลิตและบริโภคสื่อที่ไม่เหมาะสม ประเพณีและ รูปแบบการดารงชีวิตที่ส่งผลในทางลบต่อเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชน ผลประโยชน์จากการค้ามนุษย์มี มูลคา่ สงู คา่ นิยมทไี่ มเ่ หมาะสมเกยี่ วกับการมเี พศสมั พันธ์ หรือการใชแ้ รงงานเด็ก การบงั คบั ใช้กฎหมายยงั ไม่ทว่ั ถึง 4.1.5 ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อสถำนกำรณก์ ำรค้ำมนุษย์ของจงั หวัด จากการดาเนินงานในปี 2563 จังหวัดเชียงใหม่สามารถดาเนินการป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการปราบปรามจับกุมอย่างจริงจังและต่อเน่ือง โดยทีมสห วิชาชพี ท่ีร่วมกนั ปฏบิ ัตงิ านอย่างเข้มแข็ง ด้านการช่วยเหลือคุ้มครอง ทีมสหวิชาชีพท้ังภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันคัดแยกเหย่ือ อย่างครบถ้วน 100% โดยจากการสัมภาษณ์คัดแยกเหย่ือ หากพบว่าเข้าข่ายการค้ามนุษย์ ทีมสหวิชาชีพ ดาเนินการให้การคุ้มครองช่วยเหลือตามกระบวนการอย่างทันที โดยเบื้องต้นจะรับเข้าคุ้มครองสวัสดิภาพ ชั่วคราว ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ หรือสถานคุ้มครองของภาคเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ มีอยู่ 2 แห่ง คือ สถานคุ้มครองผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์บ้านโซเอ และสถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหาย บา้ นราฟา โดยในปี 2563 มีจานวนผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ลดลง อาจเป็นผลมาจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด - 19 ท่ีทาให้สถานบริการต่างๆ เช่น ผับ บาร์ คาราโอเกะ ร้านนวด สปา สถาน บริการกลางคืน ปิดตัวลงช่ัวคราว ซ่งึ เป็นสถานท่ีที่อาจพบการค้ามนุษย์ แต่เจ้าหนา้ ที่ท่ีเกี่ยวข้องยังดาเนินการ ป้องกันและปราบปราบการค้ามนษุ ยอ์ ยา่ งเต็มท่ี ด้านการป้องกัน ทีมสหวิชาชีพได้ดาเนินการรณรงค์ ป้องกัน เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเสี่ยงด้านแรงงาน ทั้งกลุ่มแรงงานนอกระบบ แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ และแรงงานต่างด้าว กลุ่มเส่ียงในเด็ก และเยาวชน รวมถึงสร้างเครือข่ายชุมชนในการเฝ้าระวังปัญหาในชุมชน และการฝึกอบรม แกเ่ จา้ หน้าที่ และทมี สหวิชาชีพในการปฏิบัติงานให้มปี ระสทิ ธิภาพยิง่ ข้นึ และด้านนโยบายและการขับเคลื่อน จังหวัดเชียงใหม่ได้สร้างความร่วมมือ บูรณาการและขับ ขับเคลื่อนงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ด้วยนโยบายตามแผนยุทธศำสตร์ด้ำนกำรป้องกันและ แก้ไขปญั หำกำรค้ำมนุษย์จงั หวัดเชียงใหม่ปี พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ภายใต้คณะอนุกรรมการศูนย์ปฏิบตั ิการ ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัด คณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดเชียงใหม่ คณะอนุกรรมการ ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาการขอทานจงั หวดั เชยี งใหม่ ฯลฯ 4.1.8 องค์กรเอกชนด้ำนกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรค้ำมนษุ ยจ์ งั หวัดเชียงใหม่ องค์กรเอกชนด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวน 9 แห่ง ได้แก่ มูลนิธิศูนย์ชีวิตใหม่ องค์การยุติธรรมนานาชาติ มูลนิธิโซเออินเตอร์เนช่ันแนล มูลนิธิอรุณสวัสดิ์ มูลนิธิเพื่อ ความเข้าใจเด็ก Focus สมาคมปกาเกอะญอเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม มูลนิธิเออเบิร์นไลท์ มูลนิธิ สานสัมพันธ์ครอบครัว มลู นธิ ิเพื่ออิสรภาพ สถานคุ้มครองเอกชนเพ่ือการชว่ ยเหลือและคุม้ ครองผเู้ สียหายจากการค้ามนุษย์ สถานคมุ้ ครองผู้เสยี หายจาก การคา้ มนุษย์บ้านโซเอ และสถานคมุ้ ครองสวสั ดิภาพบา้ นราฟา รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔๐ 4.1.7 แผนยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรป้องกันและแกไ้ ขปัญหำกำรคำ้ มนุษย์จังหวัดเชียงใหมป่ ี พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ วสิ ัยทศั น์จงั หวดั เชยี งใหม่ “สงั คมเชียงใหม่ ร่วมมือกันทกุ ภาคส่วนในการป้องกันและแก้ไขปญั หาการค้ามนุษย์อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและย่งั ยนื ” นโยบำยตำมแผนยุทธศำสตร์ 1. ด้านนโยบายและการนาไปสู่การปฏิบัติ โดยนานโยบายและกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ที่มีอยู่แล้วไปปฏิบัติในระดับท้องถิ่น โดยเฉพาะคดีค้ามนุษย์มีความซับซ้อน สนง.พมจ. เป็นกลไกหลักระดับจงั หวัดในการจัดทารายงานสถานการณก์ ารค้ามนุษยข์ องจังหวดั ซึง่ จาเปน็ ตอ้ ง ทราบและเข้าใจปัญหา อธิบายและตอบคาถามเก่ียวกับการค้ามนุษย์ในจังหวัดของตนเองได้ท้ังในด้าน การ ดาเนินคดี ด้านการคุ้มครองช่วยเหลือ และด้านการป้องกัน เพ่ือนาไปประกอบการจัดทารายงานสถานการณ์ การค้ามนุษย์ของจังหวัด และ สสว. เป็นกลไกหลักในการรวบรวมจัดทารายงานสถานการณ์รายภาคและจัด ระดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของจังหวัด ซ่ึงรายงานน้ีจะเป็นข้อมูลสาคัญท่ีนาไปใช้ในการกาหนดนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ในระดับประเทศ และเป็นกรอบในการจัดสรรงบประมาณแก่ หน่วยงานในจงั หวัดตอ่ ไป 2. ด้านการป้องกัน ได้แก่ 2.1) การอบรมให้ความรู้หรือการเพิ่มศักยภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ตกเข้าสู่ขบวนการค้ามนุษย์ และ 2.2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ โดยใช้ เครื่องมอื ใดในการสื่อสารกับกลุม่ เป้าหมายอย่างเหมาะสมโดยพจิ ารณาเรือ่ งเพศวัย และเชื้อชาติ เพื่อสร้างการ รับรู้และสร้างความตระหนกั ถึงภัยของการค้ามนุษย์ และสร้างการมีสว่ นร่วมในการแจ้งเบาะแสหรือเหตกุ ารค้า มนุษย์ในพ้ืนท่ี จะทาให้สามารถป้องกันบุคคลกลุ่มน้ีไม่ให้ตกเข้าสู่ขบวนการค้ามนุษย์ได้อย่างแท้จริง จังหวัดมี พื้นท่ีติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน และเป็นเมืองแหล่งท่องเที่ยว อาจก่อให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ทั้งในเร่ือง เพศและการนาคนมาขอทาน 3. ด้านการคมุ้ ครองช่วยเหลือ โดยการคมุ้ ครองชว่ ยเหลือโดยไม่เลือกปฏบิ ัติ ไมว่ ่าจะเป็นคนไทย หรือคนต่างด้าว ด้วยความเท่าเทียม ยดึ หลักการทางานในพ้ืนท่ี ดังนี้ 3.1) พมจ. เป็นหัวหน้าทีม One Home ในการบูรณาการหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการช่วยเหลือผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ ต้ังแต่ต้นทางจนถึง ปลายทาง เพ่ือให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.2) หลีกเลี่ยงการใช้สถานท่ีของหน่วยงาน พม. เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว หรือสถานสงเคราะห์กลุ่มเป้าหมายที่เปราะบาง เป็นสถานที่คัดแยกผู้เสียหาย โดยตารวจ/ทีมปฏิบัติการต้องจัดเตรียมสถานที่คัดแยก ในกรณีที่มีปฏิบัติการใหญ่ๆ พมจ. เป็นหัวหน้าทีม บริหารจัดการสถานการณ์การช่วยเหลือคุ้มครองผู้เสียหายและขอให้หน่วยงานอ่ืน ๆ ช่วยสนับสนุนภารกิจ ท้ังน้ี การปฏิบัติให้ถูกต้อง รัดกุม และรอบด้าน 3.3) สาหรับหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ให้การคุ้มครองสวัสดิภาพ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จะพิจารณาเร่ืองการดูแลด้านสภาพจิตใจของผู้เสียหายความเป็นอิสระของ ผ้เู สียหาย เชน่ การใชโ้ ทรศพั ท์และการให้บริการลา่ ม ตลอดจนการใหค้ วามชว่ ยเหลือทางด้านกฎหมายทีส่ าคัญ คือ การให้ความช่วยเหลือผู้เสียหายแบบย่ังยืนเพื่อให้พึ่งพาตนเองได้และไม่กลับมาเป็นผู้เสียหายซ้าอีก ทั้งนี้ ตอ้ งกาหนดแนวทางที่เหมาะสมและสามารถปฏบิ ัตงิ านได้ โดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัย ของผเู้ สียหายเปน็ สาคัญ รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔๑ ๔.๒ สถำนกำรณค์ วำมรุนแรงในครอบครวั จงั หวดั เชยี งใหม่ โดยศูนย์ปฏบิ ัติการเพอ่ื ปอ้ งกันการกระทาความรุนแรงในครอบครวั สานักงานพัฒนา สังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนผู้ประสบปัญหาแจ้งเหตุ ขอรับคาปรึกษา ขอรับ ความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพ กรณีความรุนแรงในครอบครัว เพ่ิมมากข้ึนทุกปี ซึ่งจาแนกเป็นรายปี ดังน้ี 4.2.1 จำนวนผู้ประสบปัญหำแจ้งเหตุ ขอรับคำปรึกษำ ขอรับควำมช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภำพ กรณคี วำมรนุ แรงในครอบครัว ตำรำงท่ี 4.3 จานวนผู้ประสบปัญหาแจ้งเหตุ ขอรับคาปรึกษา ขอรับความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพ กรณี ความรุนแรงในครอบครวั ปีพุทธศกั รำช จำนวน (รำย) ปี 2561 38 ปี 2562 44 ปี 2563 71 ปี 2564 (ม.ค.-ก.ค.) 38 ทมี่ า: สานักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดเชียงใหม่ ข้อมลู ณ เดือนกรกฎาคม 2564 ปัจจุบันปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมีความซับซ้อนมากข้ึน 1 ครอบครัว ไม่ได้ประสบปัญหา ความรุนแรงเพียงด้านเดียว มีท้ังความรุนแรงทางด้านร่างกาย การข่มเหงด้านจิตใจ การด่าทอด้วยคาพูด การล่วงละเมิดทางเพศ โดยผู้ถูกกระทาความรุนแรงส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงและเด็ก ซึ่งข้อมูลการรับแจ้ง ชว่ ยเหลือเหตกุ ารณ์ความรนุ แรงในครอบครวั ของหน่วยงาน มดี งั นี้ 4.2.2 สถิติผถู้ กู กระทำและผกู้ ระทำควำมรนุ แรงในครอบครัว ตำรำงท่ี 4.4 แสดงจานวนข้อมลู ผู้ถูกกระทาความรนุ แรงในครอบครัว ปี ผถู้ กู กระทำควำมรนุ แรง รวม พทุ ธศักรำช เพศ ชว่ งวยั ผ้พู ิกำร (รำย) ชำย หญงิ เดก็ ผใู้ หญ่ ผสู้ งู อำยุ เดก็ ผูใ้ หญ่ ผู้สูงอำยุ ปี 2561 8 30 11 22 5 - - - 38 ปี 2562 11 33 9 24 9 - 2 - 44 ปี 2563 4 67 7 60 4 - - - 71 ปี 2564 6 32 14 18 3 - 3 - 38 ทมี่ า: สานักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัดเชียงใหม่ ข้อมูล ณ เดอื นกรกฎาคม 2564 ข้อมูลผู้ถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว ปีพุทธศักราช 2564 (เดือนมกราคม-กรกฎาคม) มี จานวนทั้งสิ้น 38 ราย ผู้หญิงเป็นผู้ถูกกระทาความรุนแรงมากท่ีสุด จานวน 32 ราย (ช่วงวัย เด็ก 14 ราย ผู้ใหญ่ 18 ราย ผู้สูงอายุ 3 ราย ผู้ใหญ่พิการ 1 ราย) ผู้ชายเป็นผู้ถูกระทาความรุนแรง จานวน 6 ราย (ช่วงวัยเด็ก 3 ราย ผู้ใหญพ่ กิ าร 2 ราย) รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๔๒ ตำรำงที่ 4.5 แสดงจานวนขอ้ มูลผกู้ ระทาความรนุ แรงในครอบครวั ปี ผกู้ ระทำควำมรุนแรง รวม(รำย) พุทธศกั ราช เพศ ชว่ งวัย ผพู้ ิการ ชาย หญิง เด็ก ผู้ใหญ่ ผูส้ งู อายุ เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ ปี 2561 27 8 - 30 5 - - - 35 ปี 2562 33 10 - 41 2 - - - 43 ปี 2563 60 11 - 69 1 - 1 - 71 ปี 2564 31 6 - 36 1 - - - 37 ท่มี า: สานกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั เชียงใหม่ ข้อมูล ณ เดอื นกรกฎาคม 2564 ข้อมูลผู้กระทาความรุนแรงในครอบครัว ปีพุทธศักราช 2564 (เดือนมกราคม -กรกฎาคม) มีจานวนท้ังสนิ้ 37 ราย ผู้ชายเป็นผู้กระทามากทีส่ ุด จานวน 31 ราย ผู้หญิงเปน็ ผูก้ ระทา จานวน 6 ราย จาก ตั ว เ ล ข ส ถิ ติ จ า น ว น ผู้ ก ร ะ ท า ค ว า ม รุ น แ ร ง ใ น ค ร อ บ ค รั ว ส่ ว น ใ ห ญ่ อ ยู่ ใ น วั ย แ ร ง ง า น ห รื อ วั ย ผู้ ใ ห ญ่ (ช่วงวัยผู้ใหญ่ 36 ราย และผู้สูงอายุ 1 ราย) ซ่ึงบางเหตุการณ์ผู้กระทา 1 ราย ทาร้ายร่างกายบุคคลใน ครอบครวั 2 ราย หรอื ผู้กระทา 2 ราย ร่วมทารา้ ยร่างกายบุคคลในครอบครวั 1 ราย 4.2.3 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงผู้กระทำควำมรุนแรงกับผู้กระทำควำมรุนแรง และรูปแบบควำมรุนแรงใน ครอบครวั ตำรำงที่ 4.6 แสดงความสมั พันธ์ระหว่างผกู้ ระทาความรนุ แรงกบั ผู้กระทาความรุนแรง ปี พ.ศ.2564 ควำมสัมพันธ์ เหตกุ ำรณ์ คดิ เป็นร้อยละ 1. สามี /ภรรยา 11 29.72 2. บิดา/มารดา - บุตร 11 29.72 3. อดตี สามี – ภรรยา 3 8.10 4. แฟน (ทอ่ี ยู่กนิ ฉันท์สามีภรรยา) 3 8.10 5. ตาเล้ียง/นา้ - หลาน 3 8.10 6. พี่ /นอ้ ง 3 8.10 7. อาศัยอย่รู ว่ มบา้ นเดียวกนั 2 5.40 8. พ่อเลีย้ ง /บตุ รเลี้ยง 1 2.70 ที่มา: สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ขอ้ มูล ณ เดือนกรกฎาคม 2564 ข้อมูลความสัมพันธ์ของผู้ถูกกระทาความรุนแรงกับผู้กระทาความรุนแรงในครอบครัวปีพุทธศักราช 2564 (เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2564) ส่วนใหญ่จะเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง สามี/ภรรยา ร้อยละ 29.72 รองลงมา ไดแ้ ก่ บิดา/มารดา – บุตร ร้อยละ 29.72 ตำรำงท่ี 4.7 รูปแบบความรนุ แรงในครอบครวั รูปแบบควำมรนุ แรงในครอบครัว ร้อยละ 1. ทาร้ายร่างกาย 83.78 2. ลว่ งละเมดิ ทางเพศ 10.81 3. ละเลย/ละทง้ิ /กระทบจติ ใจ 5.40 ทม่ี า: สานกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั เชียงใหม่ ขอ้ มูล ณ เดือนกรกฎาคม 2564 รายงานสถานการณ์สังคมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564