Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

Description: รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

Keywords: รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2564

Search

Read the Text Version

๔๓ รูปแบบความรุนแรงในครอบครัว ปีพุทธศักราช 2564 (เดือนมกราคม - กรกฎาคม) ส่วนใหญ่เป็น การทาร้ายร่างกายบุคคลในครอบครัว พบร่องรอยบาดแผล ฟกช้า ไปจนถึงเข้ารักษาท่ีโรงพยาบาล ร้อยละ 83.78 มีผู้ถูกกระทาเสียชีวิต จานวน 1 ราย รูปแบบความรุนแรงลาดับถัดมาเป็นการล่วงละเมิดทางเพศ ร้อยละ 10.81 ส่วนใหญ่ผู้ถูกกระทาเป็นเด็กผู้หญิง ช่วงอายุประมาณ 12 – 14 ปี และรูปแบบสุดท้าย คือ การปล่อยปละละเลย ละทง้ิ บุคคลในครอบครัว หรอื ดดุ า่ ขม่ ขู่ ทารา้ ยจิตใจ ร้อยละ 5.40 สาเหตทุ ี่ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมาจากอารมณ์ร้อน บันดาลโทษะ เป็นผลทาให้เกิดการ ทะเลาะ ทาร้ายร่างกาย การเลี้ยงดูบุตรไม่เหมาะสม โดยมีเหตุปัจจัยอ่ืนมากระตุ้น สาหรับปัจจัยแวดล้อมที่มา กระตุ้น ได้แก่ จากการดื่มสุรา การใช้สารเสพติด ปัญหารายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ ตกงาน มีภาระหน้ีสิน เพม่ิ ขน้ึ หึงหวง นอกใจ ปัญหาสุขภาพจิต และการหยา่ ร้างซงึ่ ตกลงกนั ไม่ได้ แยง่ อานาจสทิ ธกิ ารปกครองบุตร ปัญหาการตกลงหย่าร้างไม่สาเร็จเนื่องจากแย่งอานาจการปกครองบุตร เป็นเหตุให้มีการทาร้าย ร่างกาย หมิ่นประมาท ทาร้ายจิตใจผา่ นคาพูดหรือเนื้อความท่ีแชร์ลงโซเชียล การทาให้แตล่ ะฝา่ ยใช้ชวี ติ ไม่เป็น ปกติสุข มีการนาเสนอเร่ืองการตามหาบุตร (ผู้เยาว์) การลักพาตัวบุตรหลบหนี หรือประกาศลงโซเชียล (Facebook) เพ่ือใช้พื้นท่ีสาธารณะในการโจมตีอีกฝ่าย ซ่ึงเกิดผลกระทบทางลบต่อทุกฝ่ายรวมถึงตัวเด็ก ทั้งน้ี เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัวจังหวัด สานักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้ให้คาปรึกษา แนะนาแก่ผู้ประสบปัญหาทุกกรณี หากติดต่อ พดู คุยตกลงเบื้องต้นไม่ได้ จาเป็นต้องมีคนกลางเป็นผู้ไกล่เกล่ีย โดยแนะนาให้ดาเนินการทางชั้นศาลให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย หรือหากกรณีดังกล่าวส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพเด็ก ทางหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนา สงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ โดยบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวดั เชียงใหม่ พร้อมเข้าคุ้มครองสวัสดิภาพ ซึ่งมีผู้ปรึกษาปัญหาครอบครัว กรณี หย่าร้าง/แย่งอานาจการปกครองบุตร/ซึ่งตกลงกันไม่ได้ จานวน 7 ครอบครัว ดังน้ี จำนวนครอบครวั กำรดำเนินกำร จำนวน 4 ครอบครัว มกี ารดาเนนิ ตามกระบวนการช้นั ศาลแล้วแต่เป็นเรอื่ งของการไมป่ ฏบิ ัติตามคาส่งั จำนวน 1 ครอบครวั เจา้ หนา้ ที่ พม. เปน็ ผ้ไู กล่เกลี่ยให้ โดยบันทึกไวเ้ ปน็ ข้อตกลงและท้งั สองฝ่ายยินยอม จำนวน 2 ครอบครัว เจ้าหน้าที่แนะนาให้ดาเนินในชั้นศาล เน่ืองจากตกลงกันไม่ได้และติดตามอีกฝ่าย เพ่ือไกลเ่ กล่ียเบอื้ งตน้ ไม่ได้ 4.2.4 กำรขับเคลอื่ นงำนปอ้ งกันและแก้ไขปญั หำควำมรนุ แรงในครอบครัว แผนภำพท่ี 4.1 แสดงการขบั เคลือ่ นงานปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความรนุ แรงในครอบครวั รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๔๔ จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวน 25 อาเภอ 204 ตาบล ได้มีการจัดต้ังศูนย์พัฒนาครอบครัวใน ชุมชน จานวน 174 แห่ง และมีศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ท่ีมีความพร้อมในการจัดตั้งศูนย์ ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัวระดับตาบล (ศปก.ต.) จานวน 16 แห่ง แยกเป็น อาเภอ ดังนี้ 4. อาเภอจอมทอง ไดแ้ ก่ ศปก.ต.จอมทอง ศปก.ต.ข่วงเปา ศปก.ต.บา้ นหลวง 5. อาเภอเมืองเชียงใหม่ ได้แก่ ศปก.ต.แม่เหียะ ศปก.ต.หนองหอย 6. อาเภอหางดง ไดแ้ ก่ ศปก.ต.บา้ นแหวน ศปก.ต.สนั ผักหวาน 7. อาเภอดอยสะเก็ด ได้แก่ ศปก.ต.แม่โปง่ ศปก.ต.แม่คือ 8. อาเภอพร้าว ได้แก่ ศปก.ต.ป่าตมุ้ 9. อาเภอสารภี ได้แก่ ศปก.ต.หนองผึง้ 10.อาเภอพร้าว ไดแ้ ก่ ศปก.ต.ป่าต้มุ 11.อาเภอไชยปราการ ได้แก่ ศปก.ต.ศรดี งเย็น 12.อาเภอแม่รมิ ได้แก่ ศปก.ต.ดอนแกว้ 13.อาเภอสันกาแพง ได้แก่ ศปก.ต.หว้ ยทราย 14.อาเภอฝาง ไดแ้ ก่ ศปก.ต.แม่สูน ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ ได้เห็นชอบและจัดต้ังทีม วิทยากรระดบั จังหวัด เพือ่ พัฒนาศักยภาพและเสรมิ สร้างทักษะการทางาน ส่งเสริมความเข้มแข็งให้ครอบครัว รวมท้ังยกระดับคณะทางานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน หรือ ศพค. ให้เป็นทีมพ่ีเลี้ยง และเป็นที่ปรึกษาแก่ ศพค. อ่นื ได้ ท้ังนี้ ยังได้มีการส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว โดยสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดาเนินการสารวจสถานการณ์ความเข้มแข็งของครอบครัวในพ้ืนที่จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุม 25 อาเภอ ตาบลละ 30 ครอบครัว รวมทั้งสิ้นจานวน 750 ครอบครัว ในห้วงเดือนกุมภาพันธ์- มนี าคม 2564 โดยกาหนดกลุ่มตัวอยา่ งตามหลักเกณฑ์ที่กรมกิจการสตรแี ละสถาบันครอบครัวกาหนด ซ่ึงผล การสารวจพบว่าสถานการณ์ความเข้มแข็งในภาพรวมของครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ ผ่านเกณฑ์ระดับ A มีค่าเฉล่ียดัชนีเท่ากับ 85.23 คะแนน โดยมีจานวนครอบครัวท่ีผา่ นเกณฑ์ฯ จานวน 669 ครอบครัว คิดเป็น ร้อยละ 89.20 และจานวนครอบครัวที่ไม่ผ่านเกณฑี์ จานวน 81 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 10.80 ซึ่งผ่าน เกณฑ์มาตรฐานครอบครวั เข้มแข็ง ตำรำงท่ี 4.8 สถานการณค์ วามเข้มแข็งของครอบครัวในพน้ื ที่จังหวดั เชียงใหม่ โดยแบง่ เป็น 5 ดา้ น ดงั น้ี ดำ้ น ผ่ำนเกณฑ์ระดับ รอ้ ยละ 1) ดา้ นสมั พนั ธภาพ A 70.40 2) ดา้ นการทาบทบาทหน้าที่ของครอบครัว A 88.93 3) ด้านการพ่ึงพาตนเอง A 80.53 4) ด้านทุนทางสงั คม A 91.73 5) ด้านการหลีกเล่ยี งภาวะยากลาบากและ A 92.53 การปรบั ตัวในสภาวะลาบาก ภำพรวม A 85.23 รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔๕ ผลกำรดำเนินกำรช่วยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หำควำมรุนแรงในครอบครวั ศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัว สานักงานพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัดเชียงใหม่ ได้รวบรวมขอ้ มลู และรับแจ้งเหตุ ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ ค้มุ ครอง สวัสดิภาพ รวมถึงลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนจากปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และดาเนินการจัดการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาร่วมกับสหวิชาชีพในชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและ ภาคประชาชน ผลจากการติดตาม พบวา่ ผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครวั สามารถกลับไปใชช้ วี ติ อย่าง ปกติโดยไม่มีเหตุการณ์ถูกกระทาซ้า มีผลกระทบทางจิตใจเป็นบางส่วนและสามารถเข้าถึงหน่วยงาน สถานพยาบาลใกล้บ้านเพอ่ื บาบดั รกั ษาตอ่ ไป แนวทำงกำรดำเนินงำนต่อไป สานักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ จะประสานการเก็บข้อมูลการ กระทาความรุนแรงในครอบครัวจากหน่วยงานอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง อาทิ ตารวจ สถานศึกษา กานัน - ผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มูลที่ครอบคลมุ ทง้ั จังหวดั มากย่ิงข้ึน ๔.๓ กำรใหบ้ ริกำรของศนู ย์ชว่ ยเหลอื สงั คมสำยด่วน ๑๓๐๐ จังหวัดเชียงใหม่ มีการให้บริการของศูนย์ช่วยเหลือสังคมสายด่วน ๑๓๐๐ ในพื้นท่ีรับผิดชอบของ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 เพื่อเป็นศูนย์กลางการให้คาปรึกษาแนะนาทางโทรศัพท์ปัญหา สังคมทุกประเภท ให้บริการทั่วประเทศไทยและผู้ประสบปัญหาสังคมชาวไทยในต่างประเทศ รับแจ้งและ ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมเบื้องต้น ประสานส่งต่อความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ เฝ้าระวังปัญหาสังคมผ่านสื่อและประสานการช่วยเหลือไปยังหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังพัฒนาองค์ความรู้ พร้อมให้คาปรึกษาแนะนาทางโทรศัพท์อย่างมีมาตรฐาน โดยนักสังคม สงเคราะห์และนักจิตวิทยามีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับกระบวนการรับแจ้ง และคุ้มครองช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบปญั หาสังคม และมขี ้นั ตอนการใหบ้ ริการดงั แผนภาพที่ 7 4.3.1 ข้ันตอนกำรให้บรกิ ำร แผนภำพที่ 4.2 แสดงขั้นตอนการให้บรกิ ารสายด่วน ๑๓๐๐ ท่ีมา ศูนยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม สายดว่ น 1300 กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๔๖ 4.3.2 รำยงำนสถิติกำรให้บริกำรศูนย์ช่วยเหลอื สังคม 1300 ระหวำ่ งวันท่ี 11 พฤศจิกำยน 2563 - 26 สงิ หำคม 2564 พบว่า มีผู้ใชบ้ ริการท้ังสิ้น 2,562 ราย พ้ืนทขี่ องผู้ใช้บริการทมี่ จี านวนมากท่สี ุด อยู่ในอาเภอ เมืองเชียงใหม่ จานวน 474 ราย รองลงมาได้แก่ อาเภอจอมทองจานวน 155 ราย อาเภอสันป่าตองจานวน 150 ราย และอาเภอแม่ริม 120 ราย กลุ่มเป้าหมายผู้ใหญ่ มากที่สุด 853 รองลงมาเป็นคนพิการจานวน 400 ราย รองลงมาเป็นผู้ใหญ่ 388 ราย และเป็นเด็กและเยาวชน ๒๘1 ราย ผลการให้ความช่วยเหลือการ มากที่สุดให้ข้อมูล จานวน 1,652 ราย รองลงมาการขอความช่วยเหลือจานวน 213 ราย และให้คาปรึกษา จานวน 661 ราย ประสานสง่ ตอ่ หน่วยงาน จานวน 161 ราย ดงั แผนภาพท่ี 8 แผนภำพท่ี 4.3 แสดงสถิตกิ ารให้บรกิ ารศนู ยช์ ่วยเหลอื สงั คม สายดว่ น ๑๓๐๐ 4.3.3 กำรดำเนนิ งำนตำมมำตรฐำน ๑๓๐๐ ท้งั 7 มติ ิ ตำรำงท่ี ๔.9 แสดงผลการดาเนนิ งานตามกรอบ 7 มิติ (มาตรฐาน ๑๓๐๐) มติ ิ รำยละเอียด 1. ด้านการบริหารจดั การ องค์กร มีการชักซ้อมให้เกิดความเข้าใจ เพื่อเกิดประสิทธิภาพในการทางาน และจังหวัดได้ จัดการองค์กรมีจัดประชุมหน่วยงาน one home และมีการอบรมชี้แจงเก่ียวกับ 2. ดา้ นการบริการ โครงการ และการบันทึกข้อมูลในระบบและภารกิจหน่วยงานในสังกัด กระทรวง พม. เพื่อเป็นองค์ความรู้แก่เจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติหน้าท่ีรับสาย 1300 และมีการ มอบหมายสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นผู้จัดเวร โดยมีคาสง่ั แบง่ เวรการปฏิบตั ิหน้าท่อี ยา่ งชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อยา่ งเหมาะสม โดยมีชอ่ งทางการใหบ้ รกิ ารผ่านชอ่ งทาง ดังน้ี 1) โทร 1300 2) Wail-in 3) Website 4) Line 5) Facebook 6) e-form เพื่อให้คาแนะนาเบ้ืองต้น รวมไปถึงประสานเจ้าหน้าท่ีผู้มีประสบการ นักสังคม รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔๗ มิติ รำยละเอยี ด สงเคราะห์ นักจิตวิทยา และหัวหน้าหน่วยงาน หน่วยงานภาคีเครือข่ายเพ่ือขอ 3. ดา้ นหน่วยเคลือ่ นทีเ่ รว็ คาปรึกษาในการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน และมีการประสานส่งต่อเพื่อขอรับความ ช่วยเหลือไปยังหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง 4. ระบบปฏิบัติการ ได้มีการจัดหน่วยเคล่ือนท่ีเร็วของแต่ละหน่วยงาน แบ่งพ้ืนที่รับผิดชอบในแด่ละ (software) อาเภอ ที่มีความพร้อมและรับมือแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน เมื่อมีการส่งต่อผู้ประสบ 5. เครอื ข่าย ปัญหาทางสังคม เช่น กรณีความรุนแรงในพ้ืนที่ห่างไกล จะประสานให้ตารวจ 6. ระบบเฝ้าระวัง ผใู้ หญ่บา้ น อพม. ลงพื้นทใี่ นเบือ้ งต้นก่อน ได้มีการสนบั สนนุ อปุ กรณค์ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน 1300 จากสว่ นกลาง 7. การรายงาน ขอความร่วมมือกับ อพม.ในพื้นท่ี กานัน ผู้ใหญ่บ้าน โรงพยาบาล ตารวจ อปท. กาชาด และหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องในพืน้ ท่ี โดยมีการเผ้าระวังข่าวสารจากทางอื่นๆเพิ่มเติม เช่น ศูนย์ธรรมดารงธรรม ศูนย์พ่ึง ได้ อปท. อาเภอ และ ส่ือ Social ต่างๆ และเจ้าหน้าเวรประจาวันต้องมีการเฝ้า ระวังขา่ ว บนั ทึกข้อมูลในแบบฟอร์มด้วยมือกอ่ น และทาการบันทึกข้อมลู ในระบบทันทีเม่ือใน กรณีไม่สามารถลงข้อมูลในระบบรับเร่ืองราวร้องทุกได้ โดยจะมีการสอบถามข้อมูล เบอ้ื งตนั โดยการจดบนั ทกึ และบนั ทึกในแบบฟอรม์ รับแจง้ เพ่ือประสานส่งต่อใหก้ ับผู้ ท่ีสามารถลงข้อมลู ในระบบได้ รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔๘ สว่ นท่ี ๕ กำรวเิ ครำะหแ์ ละจดั ลำดบั ควำมรุนแรงของสถำนกำรณท์ ำงสังคมจงั หวดั ๕.๑ สถำนกำรณเ์ ชิงกลมุ่ เปำ้ หมำยในพน้ื ทีจ่ งั หวัด ๕.1.๑ กลมุ่ เดก็ ตำรำงท่ี ๕.1.๑ แสดงผลการจัดลาดบั ของสถานการณ์ทางสังคมจังหวดั กล่มุ เด็ก ลำดบั ที่ ประเดน็ สถำนกำรณก์ ล่มุ เป้ำหมำย จำนวน (หนว่ ย:คน) กลุ่มเปำ้ หมำยตำม 1 เด็กท่ีได้รบั เงินอดุ หนนุ เพื่อการเลี้ยงดูเดก็ แรกเกดิ คิดเป็นร้อยละ 2 เดก็ ท่ีอยูใ่ นครอบครวั เลี้ยงเดย่ี ว ประเด็น ของประชำกรเดก็ 3 เดก็ ทีม่ ีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ท้งั หมดในเขตพื้นท่ี 54,996 ๙๖๒ จงั หวัด ๙๓๖ 15.88 0.28 0.27 จากประเด็นสถานการณ์กลุ่มเด็กจังหวัดเชียงใหม่ พบจานวนกลุ่มเด็ก (อายุต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์) จานวน ๓46,๒36 คน มีเด็กที่ได้รับเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดจานวน 54,996 คน คิดเป็นร้อย ละ 15.88 ของประชากรเดก็ ทง้ั หมดในเขตพนื้ ทจ่ี งั หวัด ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2559 - เดือนสิงหาคม 2564 มีจานวนผู้ลงทะเบียน 54,996 ได้รับสิทธ์ิ 52,495 คน ได้รบั เงินแล้ว 51,728 คน เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวเลี้ยงเด่ียว ๙๖๒ คน คิดเป็นร้อยละ 0.28 สาหรับเด็กท่ีมีพฤติกรรม ไม่เหมาะสม จานวน ๙๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ 0.27 ซ่ึงข้อมูลการสารวจเพื่อจัดทาฐานข้อมูลและสถานการณ์ ด้านการคุ้มครองเด็กจังหวัดจังหวัดเชียงใหม่ประจาปี 2563 พบว่า พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็ก เช่น ม่ัวสุมในลักษณะที่กอความเดือดรอนราคาญแกผูอ่ืน เสพสุรา สูบบุหรี่ เสพยาเสพติดใหโทษหรือของมึนเมา อยางอื่นเขาไปในสถานท่ีเฉพาะเพื่อการจาหนายหรือด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์การไม่ เขาเรียนในโรงเรียน หรือสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาภาคบังคับ ตอตานหรือ ทาทายคาส่ังสอนของผูปกครองจน ผูปกครองไมอาจอบรมสั่งสอนได้ ประพฤติตนเกเรหรือขมเหงรังแกผูอื่นและการซื้อหรือขายบริการทางเพศ เขาไปในสถานการคาประเวณีหรือเก่ียวของกบั การคาประเวณีตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม การคาประเวณี สอดคล้องกับสถานการณ์และรูปแบบการค้ามนุษย์ของจังหวดั เชียงใหม่ ท่ีเด็กมีความเสี่ยงตอ่ การค้า ประเวณี ท่ีพบสถานมีการนาเด็กชายและเยาวชนชาย อายุระหว่าง 13 - 17 ปี เข้าส่กู ระบวนการค้าประเวณี เพมิ่ ขึ้น ในสถานร้านคาราโอเกะ จึงควรมีการเฝ้าระวงั กล่มุ เด็กเพ่อื ปอ้ งกนั การเขา้ สู่การบวนการคา้ ประเวณี รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๔๙ ๕.1.2 กล่มุ เยำวชน ตำรำงท่ี ๕.1.๒ แสดงผลการจดั ลาดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสงั คมจังหวดั กลมุ่ เยาวชน (หนว่ ย:คน) ลำดบั ที่ ประเด็นสถำนกำรณก์ ลุม่ เป้ำหมำย จำนวน คดิ เป็นรอ้ ยละ กลมุ่ เปำ้ หมำยตำม ของประชำกรเยำวชน ทั้งหมดในเขตพื้นที่ ประเดน็ จังหวดั 1 เยาวชนทีม่ ีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม 3,800 20.20 2 เยาวชนที่ถกู ทารณุ กรรมทางรา่ งกายจติ ใจและ 86 0.04 ทางเพศ กล่มุ เยาวชน (อายุ ๑8 - ๒๕ ปี) ในจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 188,195 คน พบเยาวชนที่ไม่เหมาะสม จานวน 3,800 คน คิดเป็นร้อยละ 20.20 ซ่ึงอาจหมายถึงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล สูบบุหรี่และติด สารเสพติดรายแรง ม่ัวสุมและทาความราคาญใหกับชาวบาน ติดเกมส และเลนการพนันตาง ๆ มีพฤติกรรม ทางเพศ จากข้อมูลการสารวจเพ่ือจัดทาฐานข้อมูลและสถานการณ์ด้านการ คุ้มครองเด็กจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2563 พบว่าลักษณะเด็กและเยาวชนที่ขับข่ีรถจักรยานยนต์ในทางสาธารณะ (เด็กแว๊น) จานวน 7 คน เด็กและเยาวชนตดิ เกม จานวน 31 คน จงึ ยังเปน็ ประเดน็ ห่วงใยที่ทุกภาคส่วนควรเฝ้าระวังเพือ่ ไมใ่ ห้ส่งผล เสยี ต่อเด็กในระยะยาว ๕.1.3 กลมุ่ สตรี ตำรำงที่ ๕.1.๓ แสดงผลการจดั ลาดับความรนุ แรงของสถานการณท์ างสังคมจังหวดั กลุ่มสตรี ลำดบั ท่ี ประเด็นสถำนกำรณก์ ลมุ่ เปำ้ หมำย จำนวน (หนว่ ย:คน) กลุ่มเป้ำหมำยตำม 1 แม่เลี้ยงเดี่ยวฐานะยากจนท่ตี องเล้ียงดบู ตุ รเพยี งลาพัง คิดเป็นรอ้ ยละ 2 สตรีท่ีถูกเลกิ จ้าง/ตกงาน ประเดน็ ของประชำกรสตรี 3 สตรทีีีถูกทารายรางกายจิตใจ ทงั้ หมดในเขตพ้นื ท่ี 962 554 จังหวัด 19 0.21 0.12 0.00 มีจานวนประชากรกลุ่มสตรี ช่วงอายุ ๒6 – ๕๙ ปีจานวน 460,328 คน ประเด็นสถานการณ์ กลุ่มเป้าหมายด้านสตรีของจังหวัดเชียงใหม่ พบสภาพปัญหาแม่เล้ียงเดี่ยวฐานะยากจนที่ต้องเล้ียงดูบุตรเพียง ลาพัง จานวน 962 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.21 และมีสตรีท่ีถูกเลิกจ้าง หรือตกงาน จานวน 554 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 0.12 จากสถานการณ์เศรษฐกิจและแรงงาน พบว่า มีสถานประกอบการท่ีเลิกกิจการกว่า 589 แหง ลกู จง ถูกเลกิ จางจานวน 2,219 คน สตรีจึงอาจได้รบั ผลกระทบจากสถานการณด์ งั กล่าว ทั้งน้ัน ยังเหน็ โอกาส ของการจ้างงานกว่าร้อยละ 77 เนื่องจากสถิติตาแหน่งงานว่างที่ต้องการเพศหญิงในการเข้าทางาน ร้อยละ 9.79 และอกี ว่ารอ้ ยละ 67.88 ทตี่ ้องการแรงงานแต่ไมร่ ะบเุ พศ รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๕๐ สตรีีทถี ูกทารายรางกายจิตใจ จานวน 19 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.00 อาจเปน็ จานวนทีน่ ้อยหากเทียบ กับสัดส่วนประชากรหญิงทั้งหมด แต่ก็สะท้อนให้เห็นถึงผู้หญิงจะเป็นผู้ถูกกระทาความรุนแรงมากกกว่าชาย ในขณะท่ีชายมักจะเป็นผู้กระทาความรุนแรง สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวจึงเป็นเร่ืองท่ี ควรให้ ความสาคัญต่อเนื่องโดยเฉพาะในสถานการณ์โควิด-19 ที่ทาให้เศรษฐกิจในครัวเรือนลดลง ทาให้เป็นสาเหตุ ของความเครียด ดมื่ สุรา และนาไปสู่ปัญหาความรุนแรงในครอบครวั ๕.1.๔ กลมุ่ ครอบครวั ตำรำงที่ ๕.1.๔ แสดงผลการจัดลาดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสงั คมครอบครวั ลำดับที่ ประเด็นสถำนกำรณก์ ลุ่มเปำ้ หมำย จำนวน (หน่วย:คน) กลมุ่ เป้ำหมำยตำม 1 ครอบครวั แหว่งกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 2 ครอบครวั ยากจน ประเด็น ของจำนวนครอบครัว 3 ครอบครัวหยา่ ร้าง ท้ังหมดในเขตพื้นทจี่ งั หวดั 81,420 9.74 43,369 5.19 0.36 3,008 จานวนกลุ่มครอบครัวในจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวน ๘๓๕,๙๗๗ ครัวเรือน มีความรุนแรงของ สถานการณ์ทางสังคมครอบครัว ได้แก่ เป็นครอบครัวแหว่งกลางหรือครอบครัวข้ามรุ่น คือ ครอบครัวที่มีรุ่น ปู่-ย่า แล้วข้ามไปที่รุ่นหลาน จานวน 81,420 ครอบครัว สะท้อนได้จากข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติ ที่พบว่าลักษณะของครอบครัวไทย จากการเกิดที่ลดลง ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวข้ึนและวัยแรงงานลดน้อยลง (สานักงานสถิติแห่งชาติ, ม.ป.ป.) ในขณะเดียวกันสัดส่วนของครัวเรือนท่ีจัดว่าอยู่ในสภาวะครัวเรือนแหว่ง กลางได้เพ่ิมข้ึนอย่างมากทั้งในชุมชนชนบทและชุมชนเมือง เด็กที่อยู่ในครัวเรือนแหว่งกลางมีแนวโน้มสูงท่ีจะ อยู่ในครัวเรอื นยากจน มีโอกาสน้อยท่ีจะได้สัมผัสกิจกรรมเสริมพัฒนาการจากผู้ดูแล และมแี นวโน้มสูงท่ีจะถูก ทาโทษทางร่างกาย ดังน้ัน การทางานต้องเช่ือมโยงเครือข่ายทางสังคมท่ีมีอยู่ในชุมชน อาทิ สภาเด็กและ เยาวชน กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ กล่มุ สตรี เนน้ การสรา้ งนวตั กรรมสงั คมทีม่ ุง่ ใหท้ กุ ฝา่ ยมกี จิ กรรมรว่ มกนั อย่างสม่าเสมอ สาหรับ ครอบครัวยากจน จานวน 43,369 ครัวเรือน ร้อยละ 5.19 เป็นข้อมูลจากระบบ TPMAP ในปี 2562 อาจมีการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลอาจมีแนวโน้มที่เพิ่มข้ึนจากสภาพเศรษฐกิจท่ีตกต่าใน สถานการณโ์ ควดิ สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดาเนินการสารวจสถานการณ์ ความเข้มแข็งของครอบครัวในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุม 25 อาเภอ ตาบลละ 30 ครอบครัว รวม ท้ังสิ้นจานวน 750 ครอบครัว ในห้วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม 2564 โดยกาหนดกลุ่มตัวอย่างตาม หลักเกณฑ์ท่ีกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวกาหนด ซึ่งผลการสารวจพบว่าสถานการณ์ความเข้มแข็ง ในภาพรวมของครอบครัวจังหวัดเชียงใหม่ มีค่าเฉลี่ยดัชนีเท่ากับ 85.23 คะแนน ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ครอบครวั เข้มแข็ง ครอบครัวหย่าร้างในจังหวัดเชียงใหม่ มี 3,008 คร้ัง คณะทางานศึกษาวิจัยผลกระทบสถานการณ์ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ เปิดเผยว่าจากการลงพื้นท่ี ติดตาม สารวจชุมชน ท่ีได้รับ ผลกระทบจากโรคโควิด 19 ในพ้ืนที่ร่วมกับจิตอาสาเครือข่ายเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม ภาคประชาสังคม พบ ประเด็นที่น่าสนใจหลายด้านโดยเฉพาะปัญหาครัวเรือน จากการขาดรายได้ การว่างงาน รวมถึงการหย่าร้าง รายงานสถานการณ์สังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๕๑ ซง่ึ สอดรบั กับชุดข้อมลู ที่มศี ูนย์วิจยั ของสถาบันการศกึ ษาช้ันนาในภาคเหนือเก็บรวมรวม ท่ีระบวุ ่า คนไทยนิยม อยเู่ ป็นโสดเพม่ิ ขนึ้ การแตง่ งานช้าลงและอตั ราการหยา่ ร้างเฉล่ียอยทู่ ี่1.3 แสนครู่ กั ต่อปี โดยปกติเกณฑ์เฉล่ียการหย่าร้างและแต่งงานในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือจะน้อยกว่าน้ีราว 20-30 % ถ้าดูขอ้ มูลการจดหย่าร้าง (จานวนคร้ัง) ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน พบว่า ลาพูนอยู่ที่ 994 ครั้ง ลาปาง 1,260 คร้ัง อุตรดิตถ์ 739 ครั้ง แพร่ 690 คร้ัง น่าน 742 คร้ัง พะเยา 791 คร้ัง เชียงราย 1,880 คร้ัง แมฮ่ ่องสอน 231 คร้งั (สืบค้นจากhttps://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1749714/) ๕.1.๕ กลมุ่ ผู้สูงอำยุ ตำรำงท่ี ๕.1.๕ แสดงผลการจดั ลาดบั ความรนุ แรงของสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกลมุ่ ผสู้ ูงอายุ ลำดบั ที่ ประเด็นสถำนกำรณ์กล่มุ เป้ำหมำย จำนวน (หน่วย:คน) กลมุ่ เป้ำหมำยตำม 1 คิดเปน็ รอ้ ยละ 2 ประเด็น ของจำนวนผสู้ ูงอำยุ 3 ทัง้ หมดในเขตพ้นื ที่ ผู้สูงอายทุ ี่รบั ภาระ ดแู ลบุคคลในครอบครวั 57,200 เชน่ คนพกิ าร ผปู้ ว่ ยเร้ือรงั บตุ รหลาน และ จงั หวัด จิตเวช 39,718 8,520 15.74 ผสู ูงอายทุ ย่ี ังไมไ่ ด้รบั เบยี้ ยงั ชีพ 10.93 ผสู ูงอายชุ ว่ ยเหลือตัวเองไมได้/ ไมมีคนดูแล/ ไมมีรายได/ผปู้ ่วยเรอ้ื รงั ตดิ บา้ นตติ เตียง 2.34 จังหวัดเชียงใหม่มีผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จานวน ๓63,488 ราย สถานการณ์ทางสังคมจังหวัดกลุ่ม ผสู้ ูงอายุ ได้แก่ ผู้สงู อายทุ ่ีรับภาระ ดูแลบุคคลในครอบครัว เช่น คนพิการ ผู้ป่วยเร้ือรัง บุตรหลาน และจิตเวช จานวน คิดเป็นร้อยละ 15.74 ซง่ึ เป็นสถติ ขิ องสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเชยี งใหม่ ผูส้ งู อายุไมไ่ ดร้ ับเบ้ยี ยงั ชพี จานวน 39,718 คน ร้อยละ 10.93 อาจอยู่ระหว่างการลงทะเบยี นและ ย่นื รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และได้รับเบ้ียยังชีพแล้ว จานวน ๓๐๕,๕๑๙ คน ซึ่งคิด เปน็ รอ้ ยละ 84.05 และสถิติท่เี พ่มิ ข้ึนจากปี 2562 ผสู้ งู อายุได้รบั เบีย้ ยังชพี 274,988 ราย สาหรับสถานการณ์ผู้สูงอายุของจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศ ซง่ึ นโยบาย ของจังหวัดได้ให้ความสาคัญกับประเด็นการเตรียมความพร้อมสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมียุทธศาสตร์จังหวัด ดา้ นสังคมและความม่ันคง (พ.ศ. 2566 – 2567) ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การเสริมสร้างสังคมคณุ ภาพ เมือง น่าอยมู่ ีความปลอดภยั เพอื่ คณุ ภาพชีวิตทด่ี ีของประชาชน ซ่ึงสานักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่ได้มีโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเชียงใหม่สู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ เพื่อพัฒนา ศักยภาพของสมาชิกในครอบครัวกลุ่มเปราะบาง ให้มีความรู้และดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพที่ดี สามารถ พ่ึงตนเองและพงึ่ พากันในชุมชน รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๕๒ ๕.1.๖ กลมุ่ คนพกิ ำร ตำรำงท่ี ๕.1.๖ แสดงผลการจัดลาดบั ความรนุ แรงของสถานการณท์ างสังคมจังหวดั กลุ่มคนพิการ ลำดบั ท่ี ประเดน็ สถำนกำรณ์กลมุ่ เป้ำหมำย จำนวน (หนว่ ย:คน) กลุ่มเป้ำหมำยตำม 1 คนพกิ ารท่ีไมไ่ ดรับเบ้ียยงั ชีพ คิดเปน็ รอ้ ยละ 2 คนพกิ ารมีความตองการกายอุปกรณ์ ประเด็น ของจำนวนคนพิกำร 3 คนพิการท่ีอยู่คนเดยี วตามลาพงั /ไมม่ ีผูด้ แู ล/ถูกทอดทงิ้ ทงั้ หมดในเขตพน้ื ท่ี ๑,๒๙๙ 58 จังหวดั 2 2.45 0.11 0.00 ในจังหวัดเชียงใหม่ มีคนพิการท่ีย่ืนขอมีบัตรคนพิการทั้งหมดจานวน 53,054 คน และยังไม่ได้เบี้ย คนพิการ จานวน 1,299 คน คิดเป็นร้อยละ 2.45 สาหรับคนพิการที่ต้องการกายอุปกรณ์ 58 ราย ศูนย์บริการคนพิการจังหวัดเชียงใหม่ได้ดาเนินการมอบให้แก่คนพิการตามเป้าหมาย สาหรับคนพิการที่อยู่คน เดียวตามลาพัง/ไม่มีผู้ดูแล/ถูกทอดท้ิง จานวน 2 ราย ปัจจุบันสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่ ได้ประสานขอความร่วมมือให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปกป้อง คุ้มครอง เฝ้าระวัง คน พกิ ารในพน้ื ที่ ๕.1.๗ กลมุ่ ผูด้ ้อยโอกำส ตำรำงที่ ๕.1.๗ แสดงผลการจดั ลาดับความรุนแรงของสถานการณ์ทางสังคมจงั หวัด กลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาส ลำดบั ผู้ตดิ เชอื้ ประเด็นสถำนกำรณก์ ลุ่มเป้ำหมำย จำนวน (หนว่ ย:คน) HIV กลุ่มเป้ำหมำยตำม ท่ี กลมุ่ ชาติพนั ธ/ุ์ ชนกลมุ่ นอ้ ย คิดเปน็ ร้อยละ ผตู้ ดิ เชอ้ื HIV ประเดน็ ของจำนวนประชำกร ๑ ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ทั้งหมดในเขตพนื้ ท่ี ๒ ๓๔๙,๑๑๘ ๓ 23,355 จังหวดั 93.43 706 6.25 0.19 กลุ่มผู้ด้อยโอกาสในจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 373,668 คน ได้แก่ คนไร้ท่ีพึ่ง ผู้ทาการขอทาน ผู้แสดงความสามารถ กลุ่มชาตพิ ันธ์/ชนกลุ่มน้อย ผตู้ ิดยาเสพติด ผ้ตู ิด HIV กลุ่มชาติพนั ธ/์ุ ชนกลุ่มนอ้ ย มีจานวนมากถึง ๓๔๙,๑๑๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ 93.43 ของประชากรท่ี เป็นผดู้ ้อยโอกาส ส่วนใหญเ่ ป็นปัญหาความยากจน รายได้น้อย การเข้าถึงสิทธิสวัสดิการ ความมั่นคงด้านท่ีอยู่ อาศัยและที่ทากิน ขาดความม่ันคงทางด้านอาชีพและรายได้ การเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการอ่ืนๆ ภาษาการ สื่อสาร ผ้ตู ดิ เช้ือ HIV จานวน 23,355 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 กระทรวง พม. ไดส้ นบั สนุนเงินสงเคราะห์ ผตู้ ิดเชอื้ HIV จานวน 279 ราย เป็นเงิน 558,000 บาท และเงินทนุ ประกอบอาชีพ จานวน 44 รายเปน็ เงิน 220,000 บาท รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๕๓ ผู้ติดยาเสพติด มีจานวน 706 คน คิดเป็นร้อยละ 0.19 จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดต้นทาง ปลายทาง คณะกรรมการศูนย์อ านวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ ได้เคร่งตรัดต่อ การสกดั กัน้ การล เลียงยาเสพตดิ ในรูปแบบต่างๆ และได้ดาเนินการป้องกนั ปญั หายาเสพติดกับเดก็ และเยาวชน ในสถานศึกษา ผู้ใช้แรงงานและผู้ประกอบการ เป็นต้น ท้ังนี้ ผลการจับกุมคดียาเสพติดของ ภ.จว.เชียงใหม่ วันที่ 1 ตลุ าคม 2563 – 26 กรกฎาคม 2564 กว่า 2,204 คดี ๕.๒ สถำนกำรณเ์ ชงิ ประเดน็ สำคัญในพน้ื ที่ “กำรแพร่ระบำดของไวรสั โคโรนำ 2019 (โควิด-19)” จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-๑๙) จังหวัดเชียงใหม่ พบผู้ติดเชื้อ เพิ่ม ๑๖ ราย รวมพบผู้ตดิ เชอื้ แลว้ ๖,๖๘๐ ราย รกั ษาหายแล้วจานวน ๖,๐๖๐ ราย รกั ษาตัวอยูใ่ นโรงพยาบาล ๕๘๖ ราย ซึ่งแยกตามอาการพบ สีเขียว ๔๒๗ ราย สีเหลือง ๑๓๗ ราย สีส้ม ๑๙ ราย และสีแดง ๓ ราย พบ เสียชวี ิตอยู่ท่ี ๓๔ ราย (ขอ้ มูล ณ วันที่ 24 สงิ หาคม 2564) 5.2.1 มำตรกำรสำคัญของจังหวดั เชียงใหม่ 1) มีมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เช่น สร้างการรับรู้ประชาชนปฏิบัติมาตรการ D-M-H-T-T-A อย่างเข้มข้น ได้แก่ รักษาระยะห่างระหว่างกัน ไม่ พบปะหรือไปยังสถานที่ทีม่ ีคนจานวนมาก การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี หมั่นลา้ งมือด้วยน้าสบู่หรือเจล แอลกอฮอล์ มีการจัดตั้งจดุ คดั กรอง 2) การบริหารฉีดวัคซีนจังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการ “ล้านสองแสนคนฮ่วมใจ๋ ก๋าแพง เวียงเชียงใหม่แข็งแกร่ง” ข้อมูล ณ วันท่ี 24 สิงหาคม 2564 พบประชากรท่ีประสงค์จะฉีดวัคซีนอยู่ท่ี ๙๐๙,๙๘๕ ราย และไดร้ ับวคั ซีนแล้ว จานวน ๓๘๒,๔๕๖ ราย คิดเป็น ๓๐.๓๒ เปอรเ์ ซน็ ต์ ได้รับเขม็ ๒ จานวน ๑๖๔,๙๒๐ ราย และไดร้ บั เขม็ ๓ จานวน ๑๕,๗๔๖ ราย 3) การจัดสรรวัคซีนแบบ 70 : 20 : 10 มุ่งฉีดกลมุ่ เสี่ยง 608 ไดแ้ ก่ กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีข้ึน ไป กลุ่ม 7 โรคเร้ือรัง และกลุ่มหญิงต้ังครรภ์ 12 สัปดาห์ขึ้นไป เน่ืองจากเป็นกลุ่มท่ีหากเกิดการติดเช้ือจะมี อาการท่ีรุนแรงและเป็นอันตรายถึงชีวิต เป็นลาดับแรก เพื่อลดอัตราป่วยรุนแรงและเสียชีวิต โดยจัดให้มีศูนย์ ฉีดวัคซีน ท้ัง 46 ศูนย์ฉีด ทั้ง 24 อาเภอ พร้อมฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนถึงวันละ 20,000 คน โดยมี เป้าหมายการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ีให้ได้ 70 เปอร์เซ็นต์ ของจานวนประชากรท้ังหมด หรือท่ี 1.2 ลา้ นคน ซ่ึงขณะนี้มีผู้ลงทะเบียนประสงค์เข้ารับการฉีดวัคซีนแล้วประมาณ 9 แสนคน และต้ังแต่เดือน เมษายนเป็นต้นมา จังหวัดเชียงใหม่ได้ฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนแล้วเกือบ 400,000 คน หรือคิดเป็น 31 เปอร์เซ็นต์ จังหวัดเชียงใหม่มีจานวนผู้สูงอายุ อยู่ท่ี 320,000 คน ได้รับการฉีดวัคซนี ไปแล้วกว่า 120,000 คน ส่วนผู้ป่วยกลุ่ม 7 โรคเร้ือรัง ก็ได้รับการฉีดวัคซีนไปแล้วกว่า 49,000 คน จากจานวนผู้ป่วยเร้ือรังตาม บญั ชขี องกระทรวงสาธารณสุข กว่า 100,000 คน จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งวัคซีนออกเป็น 3 ส่วน เม่ือได้รับการจัดสรรมา ได้แก่ (1) กลุ่มผู้สูงอายุและ กลุ่มเส่ียง 70 เปอร์เซ็นต์ (2)กลุ่มประชาชนทั่วไปท่ีลงทะเบียนผ่าน “กาแปงเวียง” 20 เปอร์เซ็นต์ และ (3) อกี 10 สาหรับพืน้ ท่หี รอื องค์กร ทพี่ บการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ในลักษณะกลมุ่ กอ้ นหรือเปน็ คลสั เตอร์ รายงานสถานการณ์สงั คมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๕๔ 4) จังหวัดเชียงใหม่ได้ออกแคมเปญพเิ ศษ เชิญชวนใหป้ ระชาชนเข้ารับการฉดี วัคซีนโควิด-19 เพ่อื สร้างภมู ิคุม้ กันหมู่ ได้แก่ แคมเปญ สาหรับหญิงตั้งครรภ์ 12 สปั ดาห์ข้ึนไป เ ม่ื อ เ ข้ า รั บ ก า ร ฉี ด วั ค ซี น ที่ ห น่ ว ย ฉี ด ข อ ง โรงพยาบาล สามีหรอื ผู้ติดตามจะได้รับสิทธิพิเศษ ฉดี วคั ซีนเพิม่ อกี 1 คน แคมเปญ เปิด Walk in ฉีดวัคซนี เขม็ ที่ 1 สาหรบั กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้ป่วย 7 กลุ่มโรคเร้ือรัง ใน ท่ี 5 ศูนย์ฉีด ได้แก่ ห้างสรรพสินค้าพรอมเมนาดา อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ศูนย์ประชุมและแสดง สินค้านานาชาติฯห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเฟส ตวิ ลั และหอประชุม มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ แคมเปญ “ความกตัญญู ฮักพ่อ ฮักแม่ พาไปฉีด วัคซีน” โดยให้ลูกหลานพาพ่อแม่เข้ารับการฉีด วัคซีนได้ที่หน่วยฉีดทุกอาเภอ โดยให้สิทธิเพิ่ม แก่บุตรหลาน ผู้ที่พาพ่อแม่ ไปฉีดวัคซีน ครอบครัวละ 1 คน รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๕๕ เเคมเปญ “กลุ่มคนอ้วน” หรือ ผู้ชายที่มีน้าหนัก 90 กิโลกรัมขึ้นไป และผู้หญิงน้าหนัก 70 กิโลกรัมขึ้นไป ดัชนีมวลกายเกิน 30 ซึ่งถือเป็น อีกหนึ่งกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสป่วยรุนแรงหากติด เชื้อโควิด-19 โดยสามารถ Walk in เข้าไปฉีด ได้ทุกหน่วยฉีดทุกอาเภอ แผนภำพท่ี 5.1 แสดงสถานการณก์ ารระบาด Covid-๑๙ จงั หวดั เชียงใหม่และแสดงการบรหิ ารการฉดี วคั ซีน จังหวัดเชยี งใหม่ ท่มี า : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั เชยี งใหม่ สงิ หาคม 2564 รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๕๖ 5.2.2 กำรใหค้ วำมชว่ ยเหลือผู้ได้รบั ผลกระทบจำกสถำนกำรณโ์ ควิด-19 ของทมี One home เชยี งใหม่ แผนภำพที่ 5.2 การใหค้ วามชว่ ยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณโ์ ควดิ -19 ของทีม One home เชยี งใหม่ รายงานสถานการณส์ งั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๕๗ สว่ นที่ ๖ บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ ๖.๑ สถำนกำรณ์กลุม่ เปำ้ หมำยทำงสังคมของจงั หวัดเชียงใหม่ ๖.๑.๑ กลมุ่ เดก็ และเยำวชน จังหวดั เชียงใหม่ โดยสานักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ มีแผนพัฒนาเด็กและ เยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ ฉบับท่ี 1 พ.ศ.2560 – 2564 เพ่ือเป็นแนวทางการในการขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ มงุ่ เน้นการมีส่วนร่วมของภาคีทกุ ระดับ ตามยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ การพฒั นาศักยภาพและสร้างภูมคิ ุ้มกัน เด็กและเยาวชน การเสริมสร้างความเข็มแข็งของกลไกสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน อย่างมีประสิทธิภาพ การส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวนชน และการส่งเสริมบทบาทและระดมความ รว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ นในการพัฒนาเด็กและเยาวชน สาหรับสถานการณท์ ่ีพบของกลุ่มเด็กท่มี อี ายุตา่ กวา่ ๑๘ ปีบริบูรณ์ มจี านวน 346,236 ราย มีเด็กท่ีได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด จานวน ๕๔,๙๙๖ ราย เด็กท่ีมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม จานวน ๑,๕๑๑ ราย เด็กที่ถูกทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศท่ีมีการดาเนินคดี จานวน ๔๓ ราย เด็กที่อยู่ในครอบครัวเลี้ยงเด่ียว จานวน ๙๖๒ และเด็กท่ีตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและไม่พร้อมในการเล้ียงดู จานวน ๖ ราย ในกลุ่มเยาวชน อายุ ๑๘ - ๒๕ ปี มีจานวน ๑๔๗,๔๘๐ ราย พบเยาวชนท่ีไม่เหมาะสม จานวน 3,800 ราย เช่น ด่ืมเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ สูบบุหร่ีและตดิ สารเสพติดร้ายแรง มั่วสมุ และทาความ ราคาญให้กบั ชาวบ้าน ตดิ เกม มีพฤติกรรมทางเพศและเลน่ การพนันตา่ ง ๆ และมเี ยาวชนท่ถี ูกทารณุ กรรมทาง รา่ งกายจิตใจและทางเพศ จานวน ๘๖ ราย ๖.๑.2 กลมุ่ สตรแี ละครอบครวั จังหวัดเชียงใหม่ มีจานวนประชากรกลุ่มสตรี ช่วงอายุ ๒๖ – ๕๙ ปี จานวน ๔๖๐,๓๒๘ ราย พบวา่ เป็นแม่เลี้ยงเด่ียวฐานะยากจนทตี่ อ้ งเลย้ี งดูบุตรเพียงลาพัง จานวน ๙๖๒ ราย สาหรับฐานข้อมูลจากศูนย์ ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัวจังหวดั เชยี งใหม่ (www.violence.go.th) พบสตรีที่ ถูกทาร้ายรา่ งกายจิตใจ จานวน ๑๙ ราย มีสตรีที่ถูกเลิกจ้าง หรือตกงาน จานวน ๕๕๔ ราย ทั้งน้ี จากรายงาน สถานการณ์ตาแหนงงานวางไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) ของจังหวัดเชียงใหม่ พบวาแนวโน้มของนายจาง/สถานประกอบการตองการจางงานโดยไมระบุเพศ จานวน 818 อัตรา หรือรอย ละ 67.88 แสดงใหเห็นวาสถานประกอบการหรือนายจางพิจารณาเห็นวางานโดยท่ัวไป ไมวาชายหรอื หญิงก็ สามารถทาไดเชนกัน หรือไมมีความแตกตางในเรื่องเพศ ซ่ึงเป็นโอกาสของสตรีต่อการมีงานทาในจังหวัด เชียงใหม่ จานวนกลุ่มครอบครัวในจังหวัดเชียงใหม่ มีจานวน ๘๓๕,๙๗๗ ครัวเรือน มีครอบครัวแหว่ง กลาง (Skipped Generation Family) ซ่ึงหมายถึง ครอบครัวที่มีสมาชิกรุ่นปู่-ย่า แล้วข้ามไปที่รุ่นหลาน จานวน ๘๑,๔๒๐ ครอบครัว เป็นครอบครัวยากจน จานวน ๔๓,๓๖๙ ครัวเรือน มีครอบครัวที่มีคนใน ครอบครวั กระทาความรนุ แรงตอ่ กัน จานวน ๓๘ ครอบครวั รายงานสถานการณส์ งั คมจงั หวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๕๘ สาหรับเครือข่ายและหน่วยงานที่มีบทบาทและเป็นพลังขับเคลื่อนทางสังคมและ สนับสนุนการแก้ไขและพัฒนาในประเด็นสตรีและครอบครัว ได้แก่ ศูนย์ปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการกระทา ความรุนแรงในครอบครัว (ศปก.ต.) จานวน ๖ แห่ง และศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน จานวน ๑๗๔ แห่ง ท่ีเป็นอาสาสมัครมาร่วมกันดูแล ป้องกันและแก้ไขปัญหาครอบครัวในชุมชนท่ีมีการบริหารจัดการใน รูปของ \"คณะทางานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน\" โดยมีเครือข่ายกลุ่มครอบครัวเป็นสมาชิก และอยู่ใน ความดูแลและสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเช่น องค์การบริหารส่วนตาบล เป็นต้น ๖.๑.3 กลมุ่ ผสู้ งู อำยุ (อำยุ ๖๐ ปีข้นึ ไป) จังหวัดเชียงใหม่มีผู้สูงอายุ ๖๐ ปีข้ึนไป มีจานวน ๓๖๓,๔๘๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๓๗ ของ ประชากรทั้งหมดในเชียงใหม่ เป็นชาย จานวน ๑๖๔,๐๔๐ ราย เป็นหญิงจานวน ๑๙๙,๔๔๘ ราย พบว่าได้รับ เบี้ยยังชีพแล้ว จานวน ๓๐๕,๕๑๙ ราย และยังไม่ได้เบี้ยยังชีพอยู่ที่จานวน 39,718 ราย เป็นผู้สูงอายุช่วยเหลือ ตัวเองไม่ได้/ติดเตียง ๘,๕๒๐ ราย ผู้สูงอายุท่ีต้องดารงชีพด้วยการเร่ร่อนขอทาน จานวน ๒ ราย ผู้สูงอายุที่ รบั ภาระดูแลบุคคลในครอบครวั จานวน ๕๗,๒๐๐ ราย จากสถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ ในระดับภาค พบว่า ภาคเหนอื มีจานวนประชากรผู้สูงอายมุ ากทส่ี ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๙.๘๗ รองลงมาเปน็ ภาคกลาง รอ้ ยละ ๑๘.๖๖ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ ๑๖.๘๖ ภาคตะวันออก ร้อยละ ๑๕.๕๖ และภาคใต้ ร้อยละ ๑๕.๒๒ ซึ่ง จังหวัดเชียงใหม่มีจานวนผู้สูงอายุมากท่ีสุดเป็นลาดับที่ ๓ รองจาก กรุงเทพมหานคร และนครราชสีมา โดย ปัจจุ บัน จังห วัดเชียงใหม่มีแน วโ น้มประชากรผู้ สูงอายุจากต่างประเทศที่เข้ามาในจั งห วัดเชีย งให ม่ล ดล ง เน่ืองจากสถานการณ์ โควิด – ๑๙ พบว่า มีผู้สูงอายุชาวต่างประเทศ ประเภท Retirement Visa จานวน ๓,๒๔๐ คน ๕ สัญชาติอันดับสูงสุด ได้แก่ อเมริกัน จานวน ๖๘๔ ราย ญ่ีปุ่น จานวน ๔๒๔ ราย จีน จานวน ๓๔๙ ราย อังกฤษ จานวน ๓๒๖ ราย ฝรั่งเศส จานวน ๒๑๕ ราย และข้อมูลเม่ือปี ๒๕๖๒ มีจานวน ๖,๐๒๐ ราย สาหรับกลุ่มเครือข่ายที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีและกลุ่มผู้สูงอายุ ได้แก่ ชมรม ผู้สูงอายุ จานวน ๒,๐๖๖ แห่ง โรงเรียนผู้สูงอายุ จานวน ๘๗ แห่ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ (ศพอส.) จานวน ๓๙ ศูนย์ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (อผส.) จานวน ๔๕๕ ราย และโครงการ เสริมสร้างคุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงวัย จากกรมกิจการผู้สูงอายุ สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนษุ ย์ จานวน ๔๓๓ ราย ๖.๑.4 กล่มุ คนพิกำร จังหวัดเชียงใหม่ มีคนพิการที่ยื่นขอมีบัตรคนพิการทั้งหมด จานวน ๕๓,๐๕๔ ราย และพบว่า คนพิการท่ีได้เบ้ียยังชีพ จานวน ๕๑,๗๕๕ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๕๕ และคนพิการท่ีไม่ได้เบี้ยยังชีพจานวน ๑,๒๙๙ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒.๔๕ และยังมีคนพิการท่ีมีความต้องการกายอุปกรณ์ จานวน ๕๘ ราย คนพกิ ารอยู่คนเดียวตามลาพัง/ ไม่มผี ู้ดแู ล/ ถกู ทอดทิ้ง จานวน ๒ ราย เมื่อจาแนกตามสาเหตุความพิการ พบคนพิการโดยไม่ทราบสาเหตุมากท่ีสุดเป็น จานวน ๓๒,๙๒๔ ราย รองลงมาคือพิการจากโรคอืน่ ๆ จานวน ๖,๕๙๒ ราย พกิ ารมากกว่า จานวน ๑ สาเหตุ จานวน ๓,๒๑๗ ราย พิการจากอุบัติเหตุจานวน ๒,๓๗๔ ราย พิการจากโรคติดเชื้อ จานวน ๖๘๘ ราย และพิการจาก พันธกุ รรม จานวน ๑๘๑ ราย ตามลาดับ รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

๕๙ สาหรับประเภทคนพิการท่ีพบมากที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ คือ พิการทางการเคล่ือนไหวหรือ ร่างกาย จานวน ๒๕,๑๗๒ ราย คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๔๕ รองลงมาคือ พิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย จานวน ๑๔,๐๒๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๔๓ พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จานวน ๓,๕๑๑ ราย คิดเป็น ร้อยละ ๖.๖๒ พิการทางสติปัญญา จานวน ๓,๕๓๑ ราย พิการทางการเห็น จานวน ๓,๐๓๐ ราย คิดเป็นร้อย ละ ๕.๗๑ พิการทางออทิสติก จานวน ๕๗๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑.๐๙ และพิการทางการเรียนรู้น้อยที่สุด จานวน ๓๖๖ ราย คดิ เปน็ ร้อยละ ๐.๖๙ มีความพิการมากกว่า ๑ ประเภท จานวน ๓,๐๗๓ ราย หน่วยงานที่ช่วยส่งเสริมและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ได้แก่ ศูนย์บริการคน พิการ จานวน ๗๑ ศูนย์ ชมรมคนพิการ จานวน ๒๑ ชมรม ผู้ช่วยคนพิการ จานวน ๑๒ ราย สถาน ประกอบการที่จ้างงานคนพิการ จานวน ๒๐๙ แห่ง ๖.๑.5 กลุ่มผู้ด้อยโอกำส กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ประกอบด้วย คนไร้ท่ีพ่ึง จานวน ๒๓๑ ราย ผู้ทาการขอทาน จานวน ๑ ราย ผู้แสดงความสามารถ จานวน ๒๕๗ ราย กลุ่มชาติพันธ์ุ จานวน ๓๔๙,๑๑๘ ราย จานวนผู้ติดยาเสพติด จานวน ๗๐๖ ราย และผู้ตดิ เชื้อ HIV จานวน ๒๓,๒๕๕ ราย สาหรับกลุ่มคนไร้ท่ีพ่ึงมากที่สุดในปี ๒๕๖๔ จานวน ๒๓๑ ราย เป็นชาย จานวน ๑๗๕ ราย หญิง จานวน ๕๖ ราย รองลงมาคอื ปี ๒๕๖๐ มจี านวน ๒๐๐ ราย ปี ๒๕๖๓ มจี านวน ๑๙๗ ราย ปี ๒๕๖๑ มี จานวน ๑๗๖ ราย และปี ๒๕๖๒ มจี านวน ๑๓๙ ราย ในปี ๒๕๖๔ จังหวัดเชยี งใหม่ พบกลุ่มคนไร้ทีพ่ ่ึงจานวน ๒๓๑ ราย เป็นชาย จานวน ๑๗๕ ราย หญิง จานวน ๕๖ ราย โดยให้ความรู้และให้คาแนะนา จานวน ๑๒๐ ราย เข้ารับการรักษา จานวน ๒๖ คน ส่งเข้าสถานคุ้มครอง จานวน ๔ ราย ส่งต่อหน่วยงาน พม. จานวน ๕ ราย ส่งสมัครเข้าทางาน ฝึกอาชีพ จานวน ๑ ราย และ ส่งกลับคืนสคู่ รอบครัว จานวน ๗๕ ราย และพบกลุ่มขอทาน จานวน ๑ รายเป็นเพศชาย ถูกจับคุมคดี พระราชบัญญัติขอทาน พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งเป็นคนต่างด้าวท่ีมีปัญหาซ้าซ้อน จึงได้ผลักดันกลับ ประเทศ นอกจากน้ี ทางสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัดเชียงใหม่ ได้ดาเนินการออกบัตร ประจาตวั ผู้แสดงความสามารถ หรือบัตรประจาตัววณิพก เพื่อยกระดับอาชพี และเป็นมาตรฐานตามหลกั สากล ซ่ึง จะชว่ ยคัดกรอง ผู้ท่กี ระทาผิด พ.ร.บ.ขอทาน ได้เป็นอย่างดี โดยภายหลังดาเนินการพบว่า จานวนคนขอทานของ จังหวัดเชยี งใหมล่ ดลงเปน็ จานวนมาก ๖.๒ สถำนกำรณ์เชิงประเด็นทำงสงั คม สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดาเนินการตามภารกิจหลักใน การ ดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพและความม่ันคงใน ชวี ิตสถาบนั ครอบครัวและชุมชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนดให้ เป็นอานาจหน้าท่ีของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวง พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จากรายงานสถานการณ์ทางด้านสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี ๒๕๖๔ จะเห็นได้ว่าการแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นปัจจัยแวดล้อมที่ ช่วยกระตุ้นให้สถานการณ์มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว ยกเว้นสถานการณ์การค้ามนุษย์ท่ีมีจานวนลดลงเน่ืองจากสถานบริการต่าง ๆ เชน่ ผับ บาร์ คาราโอเกะ รา้ น นวด สปา และสถานบริการกลางคืน ปิดตัวลงชั่วคราว ท้ังน้ีสถานการณ์สังคมจังหวัดเชียงใหม่ประจา ๒๕๖๔ แบ่งเป็นสถานการณ์ตามกลุ่มเป้าหมายทางสังคม ได้แก่ สถานการณ์เด็กและเยาวชน สถานการณ์ครอบครัว รายงานสถานการณส์ ังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๖๐ สถานการณ์ผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้พิการ และสถานการณ์คนไร้ที่พ่ึงและขอทาน สถานการณ์เชิงประเด็นทาง สงั คม ได้แก่ สถานการณก์ ารคา้ มนุษย์ สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว การให้บริการของศนู ย์ช่วยเหลือ สังคมสายด่วน ๑๓๐๐ และการแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ดังน้ี ๑. สถำนกำรณ์กำรคำ้ มนษุ ย์ จังหวัดเชียงใหม่มีรูปแบบการค้ามนุษย์ท่ีสาคัญ โดยเป็นรูปแบบการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ จากการค้าประเวณี พบธุรกิจทางเพศแฝงตัวอยู่ตามสถานบริการและสถานบันเทิง ได้แก่ ร้านนวด มีลักษณะ นาเด็กมาขายบริการทางเพศ โดยผู้ซ้ือบริการติดต่อซ้ือบริการผ่านทางโซเชียลมีเดีย จากน้ันแม่เล้าจะเป็นผู้ นาพาเด็กไปค้าประเวณีตามสถานที่ต่าง ๆ ทั่วจังหวัดเชียงใหม่ เช่น โรงแรม ม่านรูด และหอพัก เป็นต้น โดย ผูเ้ สียหายถูกหลอกลวงให้ไปคา้ ประเวณี ในปี ๒๕๖๔ แบ่งเปน็ เด็กหญงิ จานวน ๕ ราย และเด็กชาย จานวน ๓ ราย อายุระหว่าง ๑๔ - ๑๗ ปี ๒. สถำนกำรณ์ควำมรุนแรงในครอบครัว ปัจจุบันปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมีความซับซ้อนมาก มีท้ังความรุนแรงทางด้านร่างกาย การ ขม่ เหงด้านจิตใจ การด่าทอด้วยคาพูด และการล่วงละเมิดทางเพศ โดยผู้ถูกกระทาความรุนแรงส่วนใหญ่เป็น ผู้หญิง และเด็ก ซึ่งข้อมูลจากการรับแจ้ง ตัวเลขสถิติจานวนผู้กระทาความรุนแรงในครอบครัวส่วนใหญ่อยู่ใน วัยแรงงานหรือวยั ผูใ้ หญ่ บางเหตุการณผ์ กู้ ระทา จานวน ๑ ราย ทาร้ายรา่ งกายบคุ คลในครอบครวั ๒ ราย หรือ ผู้กระทา จานวน ๒ ราย ร่วมทาร้ายร่างกายบุคคลในครอบครัว จานวน ๑ ราย ส่วนใหญ่เป็นความสัมพันธ์ ระหว่าง สามี - ภรรยา และ บิดา/มารดา – บุตร สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ได้แก่ อารมณร์ ้อน และบนั ดาลโทษะ เป็นผลทาให้เกดิ การทะเลาะ ทาร้ายรา่ งกาย การเล้ียงดูบตุ รไม่เหมาะสม โดยมี เหตุปัจจัยอ่ืนกระตุ้นร่วมด้วย สาหรับปัจจัยแวดล้อมท่ีร่วมกระตุ้น ได้แก่ จากการดื่มสุรา การใช้สารเสพติด ปัญหารายได้ไม่เพียงพอต่อการยงั ชพี ตกงาน มีภาระหนี้สินเพมิ่ ข้ึน หึงหวง นอกใจ ปัญหาสุขภาพจิต และการ หย่าร้างซ่ึงไม่สามารถตกลงกันได้ แย่งอานาจสิทธิการปกครองบุตร และใช้พ้ืนที่สาธารณะในการโจมตีอีกฝ่าย เช่น การประกาศลงโซเชียลมเี ดยี เปน็ ต้น ๓. กำรใหบ้ ริกำรของศูนยช์ ว่ ยเหลอื สงั คมสำยดว่ น ๑๓๐๐ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ สร้างศูนย์ช่วยเหลือสังคมสายด่วน ๑๓๐๐ เปน็ ชอ่ งทางให้ประชาชนเข้าถงึ บริการของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ และหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที ตรงตามสภาพปัญหา ให้คาปรึกษาแนะนาทางโทรศัพท์ปัญหาสังคม ทุกประเภท โดยรับแจ้งและช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาสังคมเบื้องต้นประสานส่งต่อความช่วยเหลือไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเฝ้าระวังปัญหาสังคมผ่านส่ือและ ประสานส่งต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องพัฒนาองค์ความรู้ หลักสูตร คู่มือการให้คาปรึกษาแนะนาทางโทรศัพท์ กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับกระบวนการรับแจ้ง และคุ้มครอง ช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาสงั คม รายงานสถานการณส์ งั คมจงั หวดั เชียงใหม่ ประจาปี 2564

๖๑ ๔. กำรแพร่ระบำดของไวรสั โคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) สถานการณ์การระบาดของโควิด ๑๐๑๙ ระลอกใหมใ่ นประเทศไทยกระจายเป็นวงกวา้ งและรวดเร็ว กว่าการระบาดรอบแรก และพัฒนาการของวัคซีนมีความชัดเจนมากข้ึน ผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจจะไม่ รุนแรงเทา่ การระบาดรอบก่อนหนา้ จากมาตรการทเ่ี ขม้ งวดน้อยกวา่ และภาคการส่งออกสนิ ค้าทยี่ ังขยายตัวได้ ตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ผลกระทบและการฟื้นตัวในระยะต่อไปมีความแตกต่างกันท้ังเชงิ พ้ืนท่ี ทง้ั กลุ่มธุรกิจ และกลุ่มแรงงาน โดยพน้ื ท่ีท่ีอยู่ภายใต้มาตรการควบคุมเข้มงวดครอบคลุมสดั ส่วนกิจกรรมทางเศรษฐกิจสูงเกิน ครึ่งของประเทศ ในขณะที่ด้านกลุ่มธุรกิจมีกลุ่มเปราะบางเพ่ิมเติม เน่ืองมีจากรายได้จะลดลงโดยเฉพาะกลุ่ม บริการ นอกจากนี้ยงั พบบางกลมุ่ ท่ีมฐี านะการเงินอ่อนแอ เช่น ธุรกิจในภาคการท่องเท่ียว ได้รับผลกระทบจาก การระบาดระลอกใหม่เพิ่มมากข้ึน ส่วนด้านแรงงานในพ้ืนท่ีสีแดงท่ีมาตรการควบคุมเข้มงวด มีความเสี่ยงจะ ได้รับผลกระทบ มจี านวนประมาณ ๔.๗ ล้านคน ๖.๓ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบำย การแพ่ระบาดของ COVID-๑๙ ส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจในจังหวัดเชียงใหม่ทาใหเ้ ศรษฐกจิ หดตัวลง อย่างมาก เพราะได้รับผลกระทบจากการกาหนดมาตรการควบคุมโรคระบาดที่เข้มงวดทั้งในและต่างประเทศ เป็นสาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิงจังหวัดเชียงใหม่ต้องพึ่งพิงนักท่องเท่ียวจากต่างประเทศ ทาให้เงินหมุนเวียนใน ระบบเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงใหม่หายไป เกิดอัตราการว่างงานในจังหวัดเชียงใหม่เพมิ่ สูงขึ้น ธุรกิจปิดตัวลง ท้ังชั่วคราวและถาวรจานวนมาก ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังกลุ่มเป้าหมายทางสังคมจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มสตรี กลุ่มครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส แล ะกลุ่ม เปราะบางท่ีมีความอ่อนไหวต่อปัญหาทางสังคม หากไม่ได้รับการแก้ไข และไม่ได้รับมาตรช่วยอย่างทันท่วงที จักให้กลุ่มเหล่านี้กลายเป็นปัญหาของสังคมในอนาคต ทั้งน้ี ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีเครือข่าย จาเป็นต้องกาหนดมาตรการ และนโยบายทั้งระยะส้ันและระยะยาว เพ่ือให้กลุ่มผู้ได้รบั ผลกระทบไดผ้ ่อนคลาย ปญั หา และไดร้ ับความชว่ ยเหลืออย่างเหมาะสมตามสภาพปญั หาทเ่ี กิดขึ้น ดงั นี้ ๑. การพฒั นาระบบการค้มุ ครองทางสังคม จากการระบาดของ COVID-๑๙ ส่งผลกระทบตอ่ แรงงาน และประชาชนท่ัวไป ทาให้ภาครัฐต้องมีมาตรการการช่วยเหลือระยะสั้นเพ่ืออุดช่องโหว่ของการคุ้มครองทาง สังคม จึงเป็นโจทย์ท่ีภาครัฐจะต้องหาแนวทางการพัฒนาระบบตาข่ายคุ้มครองทางสังคมให้ครอบคลุมเพ่ือ รับมือกับสถานการณ์วิกฤติที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ การพัฒนาระบบคุ้มครองทางสังคมต้องเป็น การบูรณา การกลไกทุกต้านท่ีจะเข้ามาช่วยเสริมสร้างให้มีความเข้มแข็งทั้งการส่งส่งเสริมการออมสร้างตระหนักในการ วางแผนการเงนิ เพื่อสร้างหลกั ประกันตนเองและครอบครวั ที่จะรองรบั ในสถานการณ์วกิ ฤติ ๒. การเสริมสร้างพลังเครือข่ายทางสังคมในระดับพื้นที่ เช่น กลุ่มสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้านกองทุน สวัสดิการชุมชน อาสาสมัคร ชมรมผู้สูงอายุ สภาเด็กและเยาวชน ตลอดจนการบูรณาการระบบฐานข้อมูล ต่าง ๆ ในพ้ืนที่ เพื่อร่วมกันออกแบบระบบการคุ้มครองทางสังคมให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายและเหมาะสม สามารถช่วยกันดูแลคุ้มครองประชาชนท้งั ในยามวกิ ฤตแิ ละในสภาวะปกติได้ รายงานสถานการณส์ งั คมจงั หวดั เชยี งใหม่ ประจาปี 2564

๖๒ ๖.๔ ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏบิ ตั ิระดบั จงั หวัด ๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย สารวจข้อมูลผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ ระบาดของ COVID-๑๙ ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ท้ังประชากรท่ีอยู่ในระบบทะเบียนราษฎร์และนอกระบบ รวมท้ัง แรงงานที่เป็นพลเมืองทางเศรษฐกิจที่มีส่วนขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือให้ได้รับข้อมูลที่ เป็นปัจจุบัน โดยภาครัฐสามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่ือวางแผนกาหนดมาตรการในการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจ ทั้งระยะสน้ั ระยะยาว และสามารถผอ่ นคลายปัญหาของประชาชนได้ ๒. ควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดทาข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม โดย กาหนดให้มีระบบบันทึกข้อมูลตามแบบฟอร์มผู้ประสบปัญหาทางสังคม โดยพัฒนาสังคมและความม่ังคงของ มนุษย์จังหวัด สามารถนาเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการจัดทา เช่น Google Form เพ่ือให้มีการรายงานผลแบบ รวดเรว็ และใช้งานได้จรงิ ๓. มีระบบการจัดเก็บข้อมูลแบบ Big Data และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ Data Analysis เพื่อให้ระบบ การอธิบายถึงสาเหตุของสิ่งที่เกิดข้ึน ปัจจัยต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของปัจจัยหรือตัวแปรต่าง ๆ ที่มี ความสัมพันธ์ต่อกันของปัญหาที่เกิดขึ้นต่อสถานการณ์ทางสังคม โดยสามารถนาข้อมูลมาวิเคราะห์แบบ พยากรณ์ (Predictive analytics) เปน็ การวเิ คราะห์เพ่ือพยากรณ์ส่งิ ท่ีกาลังจะเกิดข้ึนหรือน่าจะเกิดขึ้น โดยใช้ ข้อมลู ท่ีไดเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ กบั แบบจาลองทางสถติ ิ หรือ เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐต์ ่าง ๆ (Artificial intelligence: AI) เช่น การพยากรณ์แนวโน้มระดับปัญหาทางสังคม การพยากรณ์ปัจจัยที่เชื่อมโยงหรือปัจจัยท่ีสัมพันธ์กับ ระดับความรุนแรงของปัญหา หรือการจาแนกกลุ่มเปราะบางในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีระบบติดตามปัญหาได้ อยา่ งทันท่วงที เปน็ ตน้ ๔. ควรมรี ะบบเดียวครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถปรับเปล่ียนแกไ้ ขตัวระบบ เพอ่ื ให้ได้ข้อมูล ท่ถี กู ตอ้ ง ทนั สมัยและทนั เหตกุ ารณป์ จั จุบัน ๕. ระบบควรปรับปรุงให้เจ้าหน้าท่ีระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละหน่วยงาน สามารถบันทึกข้อมูล ผปู้ ระสบปญั หาไดใ้ นแต่ละกลมุ่ เปา้ หมายและเป็นปัจจุบนั ๖. การแสดงผลในหัวข้อแต่ละประเด็น สามารถแยกกลุ่มเป้าหมาย เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ได้อย่าง ชดั เจนและลงลกึ ถึงระดับหมู่บ้าน ครัวเรือนตา่ ง ๆ เพ่ือสามารถวางแผนและนาข้อมูลจากระบบไปแก้ไขปัญหา ในพ้นื ที่ไดต้ รงจุดตามกลุ่มเปา้ หมาย ๗. ควรมีระบบตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินงานทช่ี ่วยเหลอื แล้ว โดยคิดจากฐานขอ้ มูลในระบบ เพอ่ื ใหท้ นั เวลาในการใช้ประโยชนข์ องขอ้ มูลได้ รายงานสถานการณ์สงั คมจังหวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564

ภำคผนวก ๑. สถติ ขิ ้อมูลประชำกรและบำ้ น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สืบค้นวนั ที่ 17 สิงหาคม ๒๕๖๔ จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/INTERNET/#/statAge/type ๒. ขอ้ มูลทั่วไปของจงั หวดั เชียงใหม่ สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2564 จาก http://www.chiangmai.go.th/managing/public/D8/8D12Nov2020103220.pdf 3. อัตรำกำรเกดิ อัตรำกำรตำย อตั รำกำรเพิ่มตำมธรรมชำติ จังหวดั เชยี งใหม่ สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม 2564 จาก https://www.chiangmaihealth.go.th/cmpho_web/all_it.php 4. ข้อมลู สำรสนเทศด้ำนกำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2563 สำนกั งำนศกึ ษำธิกำรจงั หวัดเชียงใหม่ 5. สถำนกำรณ์และดัชนชี ี้วัดภำวะแรงงำนจังหวดั เชียงใหม่ ไตรมำส 1 ปี 2564 สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ สงิ หาคม 2564 จาก https://chiangmai.mol.go.th/news 4. เผยสถำนกำรณป์ ญั หำค้ำมนุษยจ์ ังหวดั เชยี งใหม่ สืบค้นเมอ่ื วันท่ี ๒๐ สงิ หาคม 2564 จาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/611193/ 5. คนไรท้ ี่พง่ึ /ผู้ทำกำรขอทำน (๒๕๖๔) เจ้าหน้าที่ผู้รับผดิ ชอบ ศนู ยค์ ุ้มครองคนไรท้ ี่พึง่ จังหวดั เชยี งใหม่ สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๖๔ 6. ผลกระทบ COVID-19 ระบำดรอบ 2 ต่อเนอื่ งรอบ 3 กบั ทิศทำงตลำดแรงงำนไทย สบื ค้นเม่ือ วนั ท่ี ๒๐ สงิ หาคม 2564 จาก https://tdri.or.th/2021/04/covid-19-2-3-affected-thai-labor- market/ 7. สถำนกำรณ์กำรระบำดโควิดเชยี งใหม่ สืบค้นเมอื่ วันท่ี ๒๐ สิงหาคม 2564 จาก https://www.chiangmaihealth.go.th/cmpho_web/coronavirus_situation.php 8. แผนจังหวัดและกำรดำเนินกำร ๒๕๖๔ สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ ๒๐ สิงหาคม 2564 จาก https://www.chiangmai.go.th/web2563/strategy/ รายงานสถานการณส์ ังคมจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2564

สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัดเชยี งใหม่ ชน้ั 1 อาคารอานวยการ ศาลากลางจังหวดั เชยี งใหม่ ถ.โชตนา ต.ช้างเผือก อ.เมืองเชยี งใหม่ จ.เชยี งใหม่ ๕๐๓๐๐ โทรศพั ท์ 053-112642 ,053-112594 โทรสาร ๐๕๓-๑๑๒๗๑๘ E-mail : [email protected] รายงานสถานการณ์สังคมจงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปี 2564