บทท่ี ๑ เร่อื งคำและสำนวน
คำและสำนวน คำประกอบดว้ ยเสยี งทมี่ ีความหมายซึง่ มนษุ ยใ์ ชใ้ นการสือ่ สาร คำหลาย ๆ คำท่ีเรยี บ เรียงไว้ตายตัว สลับที่หรือตัดทอนไม่ไดม้ คี วามหมายไมต่ รงไปตรงมาแตเ่ ป็นท่เี ข้าใจกัน บางที มีความหมายในเชิงเปรยี บเทยี บท่ลี ึกซ้ึงกินใจ ทำใหเ้ หน็ ภาพชดั เรียกว่าสำนวน การร้จู ักใช้ คำและสำนวนช่วยให้การสือ่ สารมีประสทิ ธผิ ล คำพิจารณาตามความหมายไดด้ ังน้ี ๑.ความหมายเฉพาะ แยกพจิ ารณาได้ ๒ ทางคือ ทางที่ ๑ เป็นความหมายตามตวั กบั ความหมายเชงิ อุปมา ทางที่ ๒ เปน็ ความหมายนัยตรงกบั ความหมายนยั ประหวดั •ความหมายตามตวั เป็นความหมายเดมิ ของคำเมอ่ื ปรากฏในบรบิ ทต่าง ๆ สว่ น ความหมายเชิงอปุ มาเปน็ ความหมายทเี่ กดิ จากการเปรยี บเทยี บกบั คำน้ันในบริบทอ่ืน เช่น เมอ่ื คืนน้ีมีดาวเตม็ ท้องฟ้า (ดาว เปน็ ความหมายตามตัว) สมัยท่ีเปน็ นสิ ิตฉนั เปน็ ดาวของ คณะ (ดาว เปน็ ความหมายเชิงอุปมา) •ความหมายนยั ตรง เปน็ ความหมายตามที่ปรากฏในพจนานกุ รม อาจเปน็ ความหมาย ตามตวั หรอื ความหมายเชิงอปุ มากไ็ ด้ ซ่ึงผู้ใช้ภาษาจะเข้าใจตรงกนั ส่วนความหมายนัย ประหวัดเปน็ ความหมายท่คี ำนั้นก่อให้เกิดความรสู้ ึกตา่ ง ๆ กันไป อาจเป็นทางดี ไมด่ ี หรือ ในทางอนื่ ใดก็ได้ ๒.ความหมายเทียบเคียงกับคำอน่ื แยกออกเปน็ •คำท่มี ีความหมายเหมือนกนั เช่น มา้ ใช้คำว่า อัศดร อาชา พาชี หัย แสะ บางคร้ังอาจเปน็ ภาษาสุภาพกบั ไมส่ ภุ าพ เช่น รบั ประทาน ทาน เสวย ฉัน กนิ •คำทม่ี คี วามหมายคลา้ ยกนั หรอื รว่ มกัน มีคำจำนวนมากท่มี ีความหมายสว่ นหน่ึง รว่ มกัน แตค่ วามหมายอีกส่วนหนึ่งต่างกัน เช่น ห่ัน ตัด เฉือน เจยี น ปาด สบั แล่ เลาะ ฝาน •คำที่มคี วามหมายตรงขา้ มกนั เช่น อ้วน – ผอม ช่วั – ดี เปน็ – ตาย
•คำทีม่ ีความหมายครอบคลมุ คำอื่น เช่น เครือ่ งเขียน มคี วามหมายครอบคลมุ ถงึ เคร่อื งใชเ้ กีย่ วเน่อื งกับการเขียนทงั้ หมด เชน่ ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบ้ รรทัด สมดุ การใช้คำ ๑.ใช้คำให้ตรงตามความหมาย มขี อ้ ควรระวังคือ - การใชค้ ำทม่ี ีความหมายนยั ตรงต้องระวงั ไมใ่ หผ้ ้อู ื่นคิดไปในทางนยั ประหวัด - อย่าใชค้ ำท่มี คี วามหมายกำกวม - ให้ใชค้ ำทมี่ คี วามหมายเฉพาะตรงตามที่ตอ้ งการ - เลอื กใช้คำทมี่ คี วามหมายเกย่ี วเน่อื งกบั คำอื่นได้อย่างเหมาะสม ๒.ใช้คำให้ตรงตามความนยิ ม คำทีม่ คี วามหมายเดียวกนั บางทใี ช้แทนกันไดแ้ ตบ่ างที ใชแ้ ทนกันไมไ่ ด้ เชน่ มะม่วงดก ฝนตกชุก “ดก,ชุก” มคี วามหมายวา่ มาก แตใ่ ช้แทนกนั ไม่ได้ ๓.ใชค้ ำให้เหมาะแก่กาลเทศะและบคุ คล ในที่สาธารณะหรือในสถานทสี่ ำคญั ต้องใช้ คำพูดทีแ่ สดงความสำรวมและเคารพต่อสถานท่ี การพดู กับบุคคลทเี่ ราคนุ้ เคยและเป็นส่วนตัว อาจใช้คำทแี่ สดงความเปน็ กนั เอง เปน็ ต้น ๔.ใชค้ ำไมซ่ ำ้ ซาก การใช้คำเดมิ ซำ้ ๆ กันอาจก่อให้เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ย จึงควรมกี าร หลากคำ คือเลอื กใช้คำท่แี ปลก ๆ ออกไป แต่คำเหลา่ นี้ตอ้ งมคี วามหมายท่ใี ชแ้ ทนกันได้ เช่น ไม่ชอบ ชงั เกลียด ไม่พอใจ โกรธ เคือง เปน็ ตน้ สำนวน คำ สำนวน ในทนี่ อ้ี าจครอบคลมุ ไปถึงภาษติ สภุ าษิต และคำพงั เพยด้วย ในท่นี ้เี รา จะพจิ ารณาจำนวนคำ และเสยี ง ในสำนวนเสยี กอ่ นโดยเฉพาะประเภทท่ีมีเสียงสมั ผัส สำนวนกันตงั้ แต่ ๔ คำไปจนถึง ๑๒ คำ ๑.สำนวนทีม่ เี สียงสมั ผสั •เรยี ง ๔ คำ เชน่ มือไวใจเรว็ ปากว่าตาขยบิ
•เรียง ๖ คำ เช่น ขงิ กร็ าข่ากแ็ รง ยุใหร้ ำตำใหร้ ัว่ •เรยี ง ๘ คำ เชน่ ตกนำ้ ไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ รกั ยาวใหบ้ ่ัน รกั สนั้ ให้ต่อ •เรยี ง ๑๐ คำ เชน่ คบคนใหด้ ูหน้า ซ้อื ผ้าให้ดูเน้อื •เรียง ๑๒ คำ เชน่ มีเงนิ เขานับว่าน้อง มที องเขานับว่าพ่ี ๒. สำนวนท่ีไม่มีเสียงสัมผสั •เรียง ๒ คำ เชน่ ควันหลง งามหนา้ จนแต้ม คว่ำบาตร •เรียง ๓ คำ เช่น ตายดาบหน้า ชบุ มอื เปิบ แทงใจดำ •เรียง ๔ คำ เชน่ แกว่งเท้าหาเสย้ี น น้ำตาลใกลม้ ด คนล้มอยา่ ข้าม •เรียง ๕ คำ เชน่ เขยี นเสือใหว้ วั กลวั ตำข้าวสารกรอกหมอ้ นำ้ ตาเชด็ หวั เข่า •เรียง ๖ คำ เชน่ ปากไมส่ นิ้ กล่ินนำ้ นม ปากคนยาวกว่าปากกา •เรยี ง ๗ คำ เชน่ ตำนำ้ พริกละลายแมน่ ำ้ นกน้อยทำรงั แต่พอตัว •เรียง ๘ คำ เชน่ ไกเ่ หน็ ตนี งูงเู หน็ นมไก่ มะกอกสามตะกร้าปาไมถ่ ูก สรุปลักษณะเด่นของสำนวนไทยคอื เป็นถ้อยคำท่ีมคี ารมคมคาย กินใจผฟู้ ัง ใชค้ ำ กะทัดรดั ไพเราะรืน่ หู ถ้ามสี องวรรคความในแต่ละวรรคจะมนี ำ้ หนักสมดุลกัน มคี วามหมาย ลึกซ้ึง เปน็ ทรี่ ู้จักกนั แพรห่ ลาย การใชส้ ำนวน การใชส้ ำนวนไทยใหม้ ีประสทิ ธผิ ลมีหลักทั่ว ๆ ไปคือใช้ให้ตรงตามความหมาย ท่ีมาของสำนวนไทย ๑.เกดิ จากธรรมชาติ เช่น คลื่นใตน้ ้ำ มาเหนือเมฆ ฟา้ หลงั ฝน ๒.เกิดจากสัตว์ เชน่ กระต่ายต่นื ตมู เหน็ ช้างข้ขี ีต้ ามชา้ ง เขียนเสือใหว้ วั กลวั
๓.เกดิ จากประเพณี วฒั นธรรม เชน่ เข้าตามตรอกออกตามประตู ชิงสกุ กอ่ นห่าม ขนทรายเขา้ วดั ๔.เกดิ จากลัทธิศาสนาและความเช่ือเชน่ วนั พระไมม่ หี นเดยี ว แก่วดั คว่ำบาตร พระ มาโปรด ๕. เกิดจากนิทานและวรรณคดี เชน่ ว่าแต่เขาอเิ หนาเป็นเอง งอมพระราม วัด รอยเท้า ๖. เกิดจากการละเลน่ และกฬี า เช่น สจู้ นเยบ็ ตา งูกนิ หาง ไก่รองบอ่ น ๗. เกิดจากการกระทำ ความประพฤตแิ ละความเป็นอยู่ เชน่ ตำขา้ วสารกรอกหม้อ ชบุ มอื เปบิ ๘. เกิดจากอวยั วะของรา่ งกาย เช่น ปากบอน ตนี เท่าฝาหอย คดในข้องอในกระดูก ๙. เกิดจากของกนิ ของใช้ เชน่ ข้าวเหลือเกลอื อ่มิ หนา้ สิ่วหน้าขวาน ไดแ้ กงเท น้ำพริก ๑๐. เกิดจากสิ่งแวดลอ้ ม เช่น คบั ท่อี ยู่ได้คบั ใจอยยู่ าก เกยี่ วแฝกมงุ ปา่ บ้านเมอื งมี ขอื่ มแี ป ๑๑. เกิดจากประวตั ิศาสตร์ ขนุ นางใชพ่ ่อแม่ หนิ แง่ใช่ตายาย ประวตั ิศาสตรซ์ า้ รอย
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: