E - book โรงเรียนทรายมูลวทิ ยา Saimoonwittaya school ๒หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี นายศักดนิ์ ิรนั ดร์ วงษศ์ รแี ก้ว ตาแหน่งครู พุทธประวตั แิ ละชาดก สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา ศรีสะเกษ ยโสธร
พทุ ธประวัติ • เร่อื งราวความเป็นมาของพระพทุ ธเจา้ ประสตู ิ เสดจ็ ออกผนวช ตรสั รู้ แสดงปฐมเทศนา ประกาศศาสนา ปรนิ ิพพาน
สังเวชนียสถาน พุทธคยา สวนลุมพนิ ีวัน กุสินารา อิสิปตนมฤคทยวัน
สวนลุมพนิ ีวนั
พุทธคยา
อสิ ปิ ตนมฤคทยวัน
กุสนิ ารา
การตรัสรแู้ ละการกอ่ ตัง้ พระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธเจา้ ตรสั รู้ การตรสั รู้ ความทกุ ขอ์ นั ย่งิ ใหญข่ องมนษุ ย์ในทศั นะ - ในวนั เพญ็ ขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๖ ของพระพุทธศาสนา คือ ความเกิด ความแก่ - มีพระชนมายุ ๓๕ พรรษา การรแู้ จง้ เห็นจรงิ ในสจั ธรรม ความเจ็บ ความตาย - ทุกข์ - สมทุ ัย - นิโรธ - มรรค
การก่อตงั้ พระพุทธศาสนา • พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ไปทรงแสดงธรรมเปน็ ครั้งแรกท่เี รียกวา่ ปฐมเทศนา โปรดปัญจวัคคยี ์ ณ ปา่ อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน • ปัญจวคั คีย์ไดบ้ รรลุธรรมเป็นพระอรหนั ต์ จึงเป็นอันว่าการประกาศและ การกอ่ ตั้งพระพทุ ธศาสนาได้เริม่ ต้นข้ึนด้วยดีและไดเ้ กิดมพี ระสงฆ์ข้นึ ใน พระพทุ ธศาสนาเป็นครง้ั แรก
วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธเจ้าในฐานะมนุษยผ์ ู้ฝึกตนได้อย่างสงู สดุ ๑ พระพุทธศาสนาเชอ่ื มั่นในศักยภาพของมนษุ ย์ • มองว่ามนุษย์สามารถพฒั นาตนเองไดด้ ว้ ยแนวทางที่ถูกตอ้ งและเหมาะสม ๒ มนุษยป์ ระเสริฐสูงสุดได้ดว้ ยการฝึก • มนุษย์เป็นสัตว์ท่ฝี กึ ไดแ้ ละตอ้ งฝกึ ดงั นัน้ ความประเสริฐของมนุษยจ์ งึ อยู่ท่กี าร ฝกึ อบรมและพัฒนาตนเอง ๓ พระพุทธเจา้ เป็นแบบอยา่ งของมนษุ ยผ์ ใู้ ช้ความเพียรเพื่อความดีงาม • การตรัสรู้ คอื เครอ่ื งหมายแห่งความส่าเร็จในการเพยี รพยายามและการใชส้ ตปิ ัญญาของ พระพทุ ธเจา้ การตรัสรมู้ ิใชจ่ ะกระท่าไดโ้ ดยง่ายแตก่ ็ส่าเรจ็ ได้ดว้ ยความเพียรพยายาม การใช้สติปญั ญา และความอดทน
วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธเจา้ ในฐานะมนุษย์ผฝู้ ึกตนไดอ้ ยา่ งสงู สุด ๑ พระพุทธศาสนาเช่อื มัน่ ในศกั ยภาพของมนุษย์ • มองว่ามนษุ ยส์ ามารถพัฒนาตนเองไดด้ ้วยแนวทางทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสม ๒ มนุษยป์ ระเสริฐสูงสดุ ไดด้ ว้ ยการฝกึ • มนุษยเ์ ปน็ สัตวท์ ่ฝี กึ ไดแ้ ละตอ้ งฝึก ดงั นัน้ ความประเสรฐิ ของ มนุษย์จงึ อยู่ที่การฝึกอบรมและพฒั นาตนเอง ๓ พระพทุ ธเจา้ เปน็ แบบอยา่ งของมนษุ ยผ์ ใู้ ช้ความเพียรเพอื่ ความดงี าม • การตรัสรู้ คอื เคร่ืองหมายแห่งความส่าเร็จในการเพียรพยายามและการใช้ สติปัญญาของพระพทุ ธเจ้า การตรสั ร้มู ใิ ชจ่ ะกระทา่ ไดโ้ ดยง่ายแต่กส็ ่าเร็จได้ ดว้ ยความเพยี รพยายาม การใชส้ ตปิ ัญญา และความอดทน
วธิ กี ารสอนของพระพุทธเจา้ หลักการสอนพ้นื ฐาน : คณุ ลักษณะทเ่ี รยี กวา่ หลักการสอนท่ดี ี มอี ยู่ ๔ ประการ สนั ทัสสนา การอธบิ ายใหเ้ หน็ ชัดเจน แจ่มแจง้ สมาทปนา การจูงใจให้อยากรับไปปฏิบัติ สมตุ เตชนา การทา่ ให้กล้าหาญและม่นั ใจวา่ จะท่าใหส้ ่าเร็จได้ สัมปหังสนา การท่าให้เบิกบาน ฟังไมเ่ บอื่
วธิ ีการสอน : พระพุทธองค์ทรงใช้วิธีการเทศนห์ รอื การสอนท่หี ลากหลาย วธิ ีสอนแบบธรรมสากัจฉาหรอื วิธสี อนแบบสนทนา • การสนทนาช่วยสร้างบรรยากาศของความใกล้ชิด ความเป็นกันเองได้ดรี ะหวา่ งพระพุทธองค์กับผทู้ ม่ี าฟังธรรม ทา่ ให้ เกดิ ความกระตอื รอื รน้ และความสนุกสนานในการฟงั วิธสี อนแบบบรรยาย • พระพทุ ธเจ้าทรงใช้วธิ ีนีใ้ นท่ีประชุมใหญ่ เพราะผทู้ ่มี ารอฟงั ธรรมจา่ นวนมากมีพ้นื ความรู้ ความเข้าใจและความศรทั ธา ในพระพทุ ธศาสนาเป็นฐานอยู่แลว้ การฟงั ธรรมจึงเปน็ การมาเพม่ิ พนู ความรูค้ วามเขา้ ใจยง่ิ ๆ ข้ึนไปและยงั เป็นการมา เพ่ือหาความสุขสงบทางใจ
วธิ ีสอนแบบตอบปญั หา • พระพุทธเจา้ ทรงสอนให้พจิ ารณาดูลักษณะของปัญหาและเลือกวิธีตอบทเ่ี หมาะสม ทรงจ่าแนกประเภทการตอบ ปัญหาไว้ ๔ ประการ ปัญหาตายตวั ตอบแบบตรงไปตรงมา ไม่ออ้ มค้อม ไม่มีเงอื่ นไข เพราะมคี า่ ตอบตายตัวแนน่ อน ปัญหายอกย้อน ปัญหาพงึ ยอ้ นถามก่อนแลว้ จงึ ตอบ ตอ้ งย้อนถามเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชัดเจนของประเดน็ ปญั หาแยกตอบ ทถ่ี ามก่อน ปัญหาไม่ตอบ ปัญหาทีต่ อ้ งแยกประเด็นตอบ อยา่ เพิง่ ดว่ นตอบ ต้องแยกตอบเปน็ เร่ืองๆไป ปญั หาท่ีตอ้ งแยกประเดน็ ตอบ เพราะเป็นปญั หานอกเรอ่ื ง ชวนทะเลาะ วิธีสอนแบบวางกฎข้อบงั คบั • เม่อื เกิดกรณปี ัญหาพระสงฆ์กระทา่ ความผิดในเรอื่ งใดเร่ืองหนง่ึ ซงึ่ เปน็ กรณีความผดิ ครงั้ แรก ท่ีไม่เคยมีใครกระทา่ ผดิ มากอ่ น ส่งผลให้มีการต่าหนติ ิเตียนในหมู่ประชาชนหรอื มผี ู้นา่ ความกราบทูลพระพทุ ธเจา้ ให้ทรงทราบ พระองค์จะทรง เรยี กประชมุ สงฆส์ อบถามท่มี าของการกระท่าความผดิ และทรงชแ้ี จงผลเสยี หายตอ่ สงั คมโดยรวมตามดว้ ยการแสดง ธรรมทีเ่ หมาะสมกบั เหตุการณ์น้นั ๆ แล้วทรงบญั ญัติเป็นข้อหา้ ม (สิกขาบท)
เทคนคิ การสอน : พระพทุ ธเจ้าทรงมเี ทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย แปลงนามธรรมใหเ้ ป็นรปู ธรรม • ธรรมเปน็ เรื่องนามธรรมบางเร่อื งมีเนื้อหาลกึ ซ้ึง ยากแก่การเขา้ ใจ พระพุทธองค์จึงทรงใช้เทคนคิ นีใ้ นหลายวิธี เชน่ การใช้เทคนคิ ยกอทุ าหรณ์ การเลา่ นิทานประกอบ การเปรียบเทยี บอปุ มา และการใชส้ ื่อการสอนประกอบ วางพระองคเ์ ป็นแบบอยา่ ง • พระคุณขอ้ หน่งึ ของพระพทุ ธเจา้ คอื พระองค์ทรงสอนอยา่ งไรแลว้ ก็ทรงปฏิบัติได้ตามทส่ี อน เราอาจสรปุ เทคนิค การสอนของพระพทุ ธเจา้ ด้วยการวางพระองค์เป็นแบบอย่างได้ สาธติ หรือทาให้ดู ปฏบิ ตั ติ นเป็นอยา่ ง ทรงเลือกใชค้ าเหมาะสม
อุบายเลอื กสอน • หรือการเลอื กสอนเปน็ รายบุคคล เนอ่ื งจากผู้ท่ีเขา้ ฟังธรรมส่วนใหญม่ ีภูมหิ ลงั ทแี่ ตกตา่ งกนั ท้ังในดา้ นความสนใจ ระดับสติปัญญา การเรยี นรู้ หรอื ประสบการณ์ ดังนั้นการวิเคราะห์ภมู หิ ลงั ให้เหน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลจึง ส่าคัญและจา่ เปน็ อย่างย่ิงสา่ หรบั การสอน มีความยืดหย่นุ ในวธิ ีการสอน • บางเวลาสมควรตอ้ งยอมให้ผู้เรยี นรสู้ กึ ตวั ว่าเขาเก่ง บางคราวสมควรเข้มงวดกต็ ้องเข้มงวด สมควรผอ่ นตามก็ยอมตาม หรือในยามท่เี หน็ วา่ ผ้เู รยี นตอ้ งการกา่ ลังใจกต็ ้องปลอบและใหก้ า่ ลงั ใจ การลงโทษหรอื การให้รางวลั • การสอนโดยการใหก้ า่ ลังใจกเ็ พอ่ื ส่งเสริมใหท้ ่าความดียงิ่ ๆ ขึ้นไป ส่วนการตา่ หนิกเ็ ป็นการตักเตือนมใิ ห้ ประพฤติเชน่ นั้นอกี • พระพุทธเจ้าทรงใช้เทคนคิ การใหร้ างวลั ด้วยการชมเชย อยา่ งเช่นการยกยอ่ งชมเชยผู้มีความสามารถและมีคณุ สมบัติ พิเศษตา่ งๆ วา่ เปน็ เอตทคั คะ คือ ความเป็นเลิศในด้านตา่ งๆ เพ่ือให้เกิดความมนั่ ใจในการกระทา่ ความดีของตน และ เพ่ือใหบ้ ุคคลอื่นถือเอาเปน็ แบบอย่าง
การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาตามแนวพุทธจรยิ า พทุ ธจริยา พระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้า หมายถงึ การบ่าเพ็ญประโยชน์ของพระพทุ ธเจา้ ๓ ประการ โลกัตถจยิ า ทรงบา่ เพญ็ ประโยชน์แกโ่ ลกในฐานะทพ่ี ระพทุ ธองค์ทรงเป็นสมาชิกคนหนึ่งของสงั คมโลก ความส่าเรจ็ ในพระจริยาวตั รข้อน้ีทรงอาศยั พุทธกจิ ตามตารางพุทธภารกิจ ๕ ประการ พุทธกจิ ภาคเชา้ เสดจ็ ออกบณิ ฑบาตและแสดงธรรมโปรดสรรพสัตว์ผ้ตู ้องการบุญ พทุ ธกจิ ภาคบา่ ย ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชน พุทธกิจยามท่ี ๑ ประทานโอวาทตอบปญั หาใหก้ รรมฐานแกพ่ ระสงฆ์ ทรงตอบปัญหาแก่เทวดาทีม่ าเขา้ เฝ้า ของราตรี ทรงพิจารณาสอดสอ่ งเลือกสรรว่าวนั ตอ่ ไปมีบคุ คลใดท่ีควรเสดจ็ ไปโปรด พทุ ธกจิ ยามท่ี ๒ ของราตรี พทุ ธกจิ ยามที่ ๓ ของราตรี
ญาตัตถจริยา พระพทุ ธองค์แม้จะทรงอย่ใู นฐานะท่เี ปน็ คนของโลก แต่พระองค์ก็ไมท่ รงละเลยภารกจิ ใน ฐานะทีม่ ีพระญาติ เชน่ การเสด็จไปโปรดพระญาติทกี่ รุงกบลิ พสั ด์ุ ได้ทรงแนะน่าใหพ้ ระญาติ ซง่ึ ก่าลงั จะทา่ สงครามแยง่ น่้าใน แม่น่้าโรหณิ ไี ด้เข้าใจเหตผุ ล สามารถปรองดองกันได้ พุทธัตถจรยิ า ทรงบา่ เพญ็ ประโยชนใ์ นฐานะพระพทุ ธเจ้า หมายถงึ การทา่ หนา้ ทีข่ องพระพทุ ธเจ้า เช่น ทรงวางกฎระเบยี บ สา่ หรบั ควบคุมความประพฤติของผมู้ าบวชในพระพุทธศาสนาทรงแนะน่าให้บรรพชิตและคฤหัสถป์ ฏบิ ัตใิ ห้ ถูกต้องตามหนา้ ทขี่ องตน จนสามารถประดิษฐานเปน็ รปู สถาบันศาสนาสบื ต่อกนั มาได้
การบริหารและธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา การบริหารพระพุทธศาสนา • ระยะเร่มิ แรก การบริหารและการดแู ลข้ึนกับพระพุทธเจ้าโดยตรง • เมือ่ มีคนเข้ามาบวชเพิ่มมากขึ้น พระพุทธเจา้ ไดม้ อบหมายใหพ้ ระอปุ ัชฌายเ์ ป็นผู้รบั ผดิ ชอบดแู ล • เม่อื จา่ นวนผู้เข้ามาบวชมมี ากและกระจายอยู่ตามภูมภิ าคตา่ งๆ การอยูร่ ่วมกนั ในอารามจงึ จ่าเปน็ ต้องมผี ู้บรหิ ารดแู ล กลา่ วคอื มเี จา้ อาวาสและคณาจารย์ เปน็ ผรู้ ับผิดชอบดูแลความสงบเรยี บร้อยภายในวดั • เม่ือพระพทุ ธศาสนาเผยแผ่เขา้ ไปยังประเทศต่างๆ รูปแบบการบริหารโดยหลกั ใหญ่แล้วจะเหมอื นกัน คอื มีเจ้าอาวาสเป็น ผ้รู บั ผิดชอบโดยมพี ระธรรมวินัยเปน็ แกนกลางของการบริหาร การธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา • ด่าเนินไปโดยมคี ณะบุคคลทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ทรงกอ่ ต้ังไว้ เรียกว่า บริษทั ๔ คือ ภกิ ษุ ภิกษณุ ี อุบาสก และอบุ าสกิ า เป็นกา่ ลงั ส่าคญั มาจนถงึ ปจั จุบัน พุทธบริษทั กบั การธารงรักษาพระพุทธศาสนา • ก่อนจะเสด็จดับขนั ธปรินิพพานพระพทุ ธองคไ์ ด้ตรสั แสดงถึงพทุ ธภารกิจ ๔ ประการท่ีพระองค์ทรงปฏิบตั ิมาตลอดพระชนมช์ พี เมอ่ื พทุ ธภารกิจท้งั ๔ บรรลเุ ปา้ หมายแลว้ พระพทุ ธองค์จงึ เสด็จดบั ขนั ธปรินพิ พาน ได้แก่ การศึกษาธรรม การปฏบิ ตั ธิ รรม การเผยแผธ่ รรม การปกปอ้ งคมุ้ ครองพระพทุ ธศาสนา
ชาดก ชาดก การเวยี นว่ายตายเกิดของพระพุทธเจ้าในภพชาติต่างๆ กอ่ นทจ่ี ะมาถึงพระชาติ สดุ ทา้ ยเกดิ เป็นเจา้ ชายสิทธัตถะและตรสั รูเ้ ปน็ พระพุทธเจ้า
“ ทศชาติ ” เรอ่ื งราวของพระโพธิสตั ว์ ๑๐ ชาติสดุ ท้าย ก่อนทจ่ี ะเสวยพระชาติเปน็ เจ้าชายสทิ ธัตถะและบา่ เพ็ญ เพียรจนได้ตรสั รเู้ ป็นพระพทุ ธเจา้ ทศชาติ ทศบารมี เตมียชาดก เนกขมั มบารมี มหาชนกชาดก วิริยบารมี สุวรรณสามชาดก เมตตาบารมี เนมิราชชาดก อธษิ ฐานบารมี มโหสถชาดก ปญั ญาบารมี วธิ ุรชาดก วธิ รุ ชาดก วิธุรชาดก วิธรุ ชาดก
ทศชาติ ทศบารมี ภูรทิ ัตตชาดก ศลี บารมี จันทกมุ ารชาดก ขนั ติบารมี พรหมนารทชาดก วธิ รุ ชาดก อุเบกขาบารมี เวสสนั ดรชาดก พรหมนารทชาดก สจั จบารมี วธิ รุ ชาดก ทานบารมี ตวั อยา่ ง ทศชาตทิ ่ีเป็นที่รูจ้ ักและนยิ ม ๑. เวสสนั ดรชาดก ๒. มโหสถชาดก ๓. มหาชนกชาดก
เวสสันดรชาดก ชาดกน้ีแสดงถึงทานบารมีจนถึงข้นั สูงสุด คือ “ปรมตั ถบารมี” ดว้ ยการ ประทานชายา พระโอรสธิดาใหเ้ ป็นทาน ซ่ึงแทนที่จะเป็นการเห็นแก่ตวั เอาตวั รอด กลบั แสดงถึงความเป็นผเู้ สียสละอยา่ งยง่ิ ยวด ดว้ ยเหตุผลดงั ต่อไปน้ี ๑. พระเวสสนั ดร เป็นพระโพธิสตั ว์ ผตู้ ้งั ปณิธาน เพือ่ ตรัสรู้ เป็นพระพทุ ธเจา้ เพอื่ ท่ีจะไดส้ ามารถช่วยเหลือสตั วโ์ ลกท้งั ปวงใหพ้ น้ ทุกข์ ๒. พระเวสสนั ดร บริจาคชา้ งปัจจยั นาคเป็นทานแก่ พราหมณ์ท้งั แปดจากแควน้ กลิงครัฐ กเ็ พราะสงสารชาวเมืองกลิงครัฐที่ ตอ้ งเผชิญกบั ภาวะขา้ วยากหมากแพง ผคู้ นอดอยาก ๓. เม่ือคร้ังถูกเนรเทศจากเมือง พระองคไ์ ม่ตอ้ งการใหพ้ ระ ชายาและพระโอรสธิดาตอ้ งลาบากดว้ ย จึงทรงหาทางส่งพระชายาและ พระโอรสธิดากลบั เมือง เพียงรอโอกาสท่ีเหมาะสมเท่าน้นั
แคว้นสีพี พระราชทานชา้ งปัจจยั นาค แก่พราหมณ์ท้งั แปด แห่งเมืองกลิงครัฐ แห่งเมืองกลิงครัฐ
กราบทูลพระเจา้ สญั ชยั
พระนางมทั รี
เมืองเจตราช
พรานเจตบตุ ร เขาวงกต
นางอมติ ดา ณ หมู่บ้านทุนนวฐิ
อจุตฤาษี หลงเช่ือคารมของชูชกเจา้ เล่ห์
ไวพ้ นั ตาลึงทอง แต่พระกณั หาน้นั เป็นหญิง พระบิดาจึงตีค่าตวั ไวส้ ูง เพื่อมิใหผ้ ใู้ ดมาไถ่ตวั หรือ ซ้ือขายไปไดง้ ่ายๆ พระกณั หา น้นั มีค่าตวั เท่ากบั ทรัพยเ์ จด็ ชีวติ เจด็ สิ่ง เช่น ขา้ ทาส หญิงชาย เป็นตน้ สิ่งละเจด็ ร้อย กบั ทองคาอีกร้อยตาลึง
ทางสองแพง่ •1. นางอมิตดา •2. กรุงเชตดุ ร
พร 8 ประการทพ่ี ระอินทรป์ ระทานแกพ่ ระเวสสันดร • ขอใหพ้ ระบดิ าหายโกรธ และออกมารบั กลบั เขา้ เมือง • ขอใหไ้ ดป้ ลดปลอ่ ยนกั โทษพน้ จากพนั ธนาการ • ขอใหม้ ีพระราชทรพั ย์ เพ่ือพระราชทานแก่คนยากจน • ขอใหอ้ ยา่ ลอุ านาจสตรี ประพฤตผิ ดิ ในภรรยาของผอู้ ่ืน • ใหม้ ีพระโอรส มีเกียรติยศ ปราบขา้ ศกึ ศตั รูใหพ้ า่ ยแพไ้ ดท้ กุ ครงั้ • ขอใหฝ้ นแกว้ ๗ ประการตกลง ประทานความ อยเู่ ยน็ เป็นสขุ ท่วั พระนคร • เม่ือสวรรคตแลว้ ขอใหอ้ บุ ตั ใิ นสวรรคช์ นั้ ดสุ ิต จากนนั้ • ขอใหจ้ ตุ ิในโลกมนษุ ย์ เพ่ือบรรลพุ ระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณใน อนาคตกาล
ภรรยาเศรษฐีแห่งบ้านปาจนี ยวมัชฌคาม ให้กาเนิดทารกน้อยผู้กาแท่งโอสถ (ยา)
แท่งโอสถน้นั เม่ือนาไปฝนกบั หินบดแลว้ สามารถนามารักษาโรคต่าง ๆ ได้
พระเจา้ พระเทหราช ฝันประหลาด จึงใหพ้ ราหมณ์
ทานายวา่ จามีนกั ปราชญ์ คนนึงถือกาเนิดข้ึนมาซ่ึงจะหาใครเสมอเหมือนไมไ่ ด้
เม่ืออายุ ๗ ขวบ มโหสถกม็ ีชื่อเสียงร่าลือไปไกลวา่ มีสติปัญญาและไหวพริบ เป็นเลิศจนพระเจา้ วเิ ทหราชแห่งมิถิลานคร สร้างศาลาต่างระดบั
Search