Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PDF Part 1 Introduction to Biology

PDF Part 1 Introduction to Biology

Published by panvarot.u, 2021-07-27 04:56:31

Description: PDF Part 1 Introduction to Biology

Keywords: biology

Search

Read the Text Version

1

1 อาหารที่สิ่งมีชีวิตกินเข้าไปจะถูก คนและสัตว์จะมีการเคลื่อนไหวหรือ นาไปใช้ในกระบวนการต่าง ๆ เคลื่อนที่อย่างชัดเจน เน่ืองจากมี เพื่ อการเจริญเตบิ โต อวยั วะท่ีใช้ในการเคลอื่ นที่

2 มีการนาแก๊สออกซเิ จนเขา้ ไป เ มื่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต ไ ด้ รั บ อ า ห า ร สลายสารอาหารเพ่ื อนาไปสร้าง อากาศ น้า และแร่ธาตุ จะทาให้ เป็นพลังงาน เป็นปฏิกิริยาเคมี ร่ า ง ก า ย เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ ต่ จ ะ ท่ี เ รี ย ก ว่ า เ ม แ ท บ อ ลิ ซึ ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ต า ม อ า ยุ ขั ย แ ล ะ มี (Metabolism) ขนาดจากดั เ ป็ น ก า ร ป ฏิ ส น ธิ ร ะ ห ว่ า ง อ สุ จิ ของเพศผู้กับไข่ของเพศเมีย มีท้ัง การสืบพั นธุแ์ บบอาศยั เพศ และแบบ ไมอ่ าศยั เพศ

3 อาจเป็นการตอบสนองเพ่ื อ หาอาหาร หลบหลีกศัตรู หรือ ป รั บ ตั ว ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ สภาพแวดล้อมเพ่ื อการอยู่รอด เ ป็ น ก า ร รั ก ษ า ส ภ า พ ข อ ง ก า ร ดารงชีวิตให้เป็นไปตามปกติ เช่น การคายน้าของพื ช การขับถ่าย การรักษาระดับอุณหภูมิในร่างกาย เป็นต้น

2

4 ชีววิทยา หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ภาษาอังกฤษอ่านว่า Biology มรี ากศัพท์มาจากภาษากรีก คาวา่ Bios แปลว่า สิ่งมีชีวิต (life) และคาว่า logos แปลว่า วิชาหรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล โดยจัดเป็นสาขาหนึ่งของวิชา วิทยาศาสตร์

5 วิชาชีววิทยาเป็นวิชาที่สามารถแตกออกเป็นสาขาย่อยได้มากมาย จึงเป็นวิชาหนึ่งที่มีเนื้อหาและรายละเอียดที่ค่อนข้างมาก ผู้เรียนต้องใช้ความ พยายามในการจดจาและทาความเขา้ ใจกบั เน้ือหาเปน็ อย่างมาก ช่อื วชิ า ชอ่ื ภาษาองั กฤษ ศึกษาเกยี่ วกับ กายวภิ าคศาสตร์ Anatomy โครงสร้างภายในของร่างกาย Physiology กลไกการทางานของอวยั วะตา่ ง ๆ สรรี วิทยา Botany พชื พฤกษศาสตร์ Genetics การถ่ายทอดลกั ษณะพันธุกรรมในส่ิงมชี ีวติ พันธุศาสตร์ Histology การจัดระเบยี บและหนา้ ทข่ี องเนอื้ เยือ่ ต่าง ๆ มญิ ชวทิ ยา รูปรา่ งลักษณะภายนอกและภายใน สัณฐานวิทยา Morphology

6 ชอ่ื วิชา ชื่อภาษาอังกฤษ ศกึ ษาเกีย่ วกบั เซลลว์ ิทยา Cytology โครงสร้าง หน้าท่ี และสว่ นประกอบของเซลล์ คพั ภะวิทยา การเจริญเติบโตของตวั อ่อนในสัตวห์ รือต้น Embryology อ่อนในพชื นเิ วศวิทยา ความสมั พนั ธข์ องสง่ิ มชี วี ติ กับสิง่ แวดล้อม ววิ ฒั นาการ Ecology ระยะเวลาที่กาเนดิ สิ่งมีชวี ติ นั้น ๆ บนโลก อนกุ รมวธิ าน Evolution การจัดจาแนกหมวดหมขู่ องสิ่งมีชีวติ สตั ววทิ ยา Taxonomy สตั ว์ จลุ ชวี วทิ ยา Zoology สิ่งมชี วี ติ ชนั้ ตา่ มขี นาดเลก็ กีฏวทิ ยา Microbiology แมลง ปักษวี ทิ ยา Entomology นก Ornithology

7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ โดยมีหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต เรียกว่า เซลล์ (Cell) เปน็ องคป์ ระกอบ และเซลล์หลาย ๆ เซลล์จะทางานประสานกนั เกิดเป็นการ จดั ระบบทมี่ คี วามซบั ซ้อนข้นึ ดังภาพ

3

8 - การป้องกนั และรกั ษาโรค - การฝากถ่ายตวั อ่อน - การปอ้ งกันโรคตดิ ต่อ

9 - การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื - การวจิ ยั และพัฒนาพันธ์พุ ชื - การปรับปรงุ พนั ธพุ์ ืช

10 - การผสมและขยายพันธุส์ ัตว์ - การคดั เลอื กพันธส์ุ ัตว์ - การปอ้ งกันโรคระบาดในสตั ว์

11 - ใชใ้ นการบาบัดน้าเสีย - ป้องกนั การทาลายหว่ งโซอ่ าหาร

12 ตต--อ่อ่ ปใสสชอ้ัตง่ิ ใ้ มงวนชกชี์หกีวนัวีราจิตือกรรอมาบิยรยนาทธ่าุษบงารยัดมลร์เนีคามพ้ายุณ่ือเ(หสกbธ่วยีาiรงoรรโeศซมtกึอ่hไษาiมcหา่ทsหา)ารรหรือ้ามกยาายรหวถรจิ ือึงยั ทกาาอรันปตฏริบาัตยิ การศึกษาทางชีววิทยามีประโยชน์อย่างมาก แต่เนื่องจากการศึกษาชีววิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ สิ่งมีชีวิต ดังนั้น การนาความรู้ทางชีววิทยาไปใช้ย่อม ส่งผลต่อสิ่งมชี ีวติ โดยตรง จงึ ตอ้ งคานึงถงึ จริยธรรม Support cruelty free products

13

14

15

4

16 เป็นวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์นาไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือการค้นหาคา ตอบที่ คาดคะเนไว้ เป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าให้ได้มาในสิ่งที่อยากรู้ อยากพิสูจน์ทดลอง ให้ได้ข้อเท็จจริง (fact) ซึ่งสามารถนาคาตอบที่ได้มาสรุปแล้วนาไปเผยแพร่ต่อได้ วิธกี ารทางวิทยาศาสตรม์ ีขั้นตอน ดงั นี้ 1. การกาหนดปญั หา (problem) 2. การตง้ั สมมติฐาน (hypothesis) 3. การตรวจสอบสมมตฐิ าน (testing the hypothesis) 4. การรวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มูล (data complication and analysis) 5. การสรปุ ผลการทดลอง (conclusion experiment)

17 เกิดจากการสังเกต โดยเป็นการใช้ประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ในการสารวจตรวจสอบและเก็บ ขอ้ มลู อย่างละเอยี ด ซึง่ ข้อมลู แบง่ ออกเป็น 3 แบบ คอื 1 ขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ เช่น สี กล่ิน รส หรอื ความรูส้ ึก 2 ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ เช่น จานวน เวลา ปรมิ าตร หรอื น้าหนกั 3 ขอ้ มูลการเปลีย่ นแปลง เป็นการ สังเกตวัตถหุ รอื สถานการณใ์ นขณะน้ัน

18 เปน็ การคาดคะเนคาตอบของปัญหาอยา่ งมเี หตผุ ล โดยอาศัยทกั ษะการสงั เกต ซึ่งคาตอบท่ีคาดคะเนอาจจะไมถ่ กู ต้องกไ็ ด้ เชน่ ขอ้ มูลจากการสงั เกต พชื หลายชนิดท่ีอยูใ่ กล้เคียงกับสะเดา ที่ใบพืชมรี อ่ งรอย การกัดกนิ ของตัวหนอน แต่ไมม่ รี อ่ งรอยของการกัดกนิ ทีใ่ บสะเดา ปญั หา ใบสะเดามสี ารบางชนิดทีเ่ ป็นสารฆา่ แมลงหรอื ไม่ สมมตฐิ าน 1. ใบพชื ที่แมลงกดั กนิ เป็นอาหารท่ีแมลงเหลา่ น้นั ชอบ 2. ใบสะเดามสี ารทีฆ่ า่ แมลงได้ แมลงจงึ ไม่กนิ ใบสะเดา 3. ใบพืชทีแ่ มลงกัดกนิ ไม่มีสารที่ฆา่ แมลง

19 การต้งั สมมตฐิ านอาจใชค้ าว่า ถ้า (if) ............. ดังนัน้ (then) ............. เช่น สมมติฐาน ถา้ ใบสะเดามีสารท่ีฆา่ แมลงได้ ดงั นน้ั แมลงจงึ ไม่กดั กนิ ใบสะเดา

3. การตรวจสอบสมมตฐิ าน (testing the hypothesis) 20 เป็นการนาสมมติฐานใดสมมติฐานหนึ่งมาตรวจสอบเพื่อหาคาตอบ จากสมมติฐานที่ตั้งไว้ การตรวจสอบทาได้หลายวิธี แต่ในทางวิทยาศาสตร์ นิยมใช้วิธีการทดลอง (experiment) มากท่ีสุด

3. การตรวจสอบสมมตฐิ าน (testing the hypothesis) 21 ในกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองต้องควบคุมปัจจัยที่มี ผลต่อการทดลอง เรียกว่า ตัวแปร (Variable) คือ สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทดลอง ตวั แปรแบ่งออกเปน็ 3 ชนดิ คือ 1) ตัวแปรต้น, ตัวแปรอิสระ คือ ตัวแปรที่ต้องศึกษาทาการตรวจสอบ และดูผลของมนั เป็นตวั แปรทเ่ี รากาหนดข้นึ มา 2) ตัวแปรตาม คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนแปลงไปตามตัวแปรอิสระ เพราะ เป็นผลของตัวแปรอิสระ 3) ตัวแปรควบคุม คอื ส่ิงท่ีตอ้ งควบคมุ ใหค้ งที่ตลอดการทดลอง

ตัวอย่างที่ 1 22 ถ้าปริมาณนา้ มผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของต้นไม้ ดงั น้ัน ต้นไมท้ ี่ได้รบั น้ามากจะเจริญเตบิ โตได้ดกี วา่ ตน้ ทไ่ี ด้รับนา้ นอ้ ย ตวั แปรตน้ : ปรมิ าณน้า ตวั แปรตาม : การเจรญิ เติบโตของต้นไม้ ตัวแปรควบคุม : สถานท่ีปลกู ปริมาณแสงทไ่ี ดร้ บั

ตวั อยา่ งท่ี 2 23 สขี องอาหารที่ไก่ไดก้ นิ นา่ จะมีผลต่อสีของไข่ไก่ ตัวแปรตน้ : สขี องอาหาร ตวั แปรตาม : สขี องไขไ่ ก่ ตัวแปรควบคมุ : ปรมิ าณอาหาร พันธไุ์ ก่ อายไุ ก่

ตวั อยา่ งที่ 3 24 การออกกาลังกายนานกว่า 1 ช่วั โมง นา่ จะทาให้ รา่ งกายออ่ นล้า ตวั แปรต้น : ระยะเวลาการออกกาลังกาย ตวั แปรตาม : ความออ่ นลา้ ของร่างกาย ตัวแปรควบคมุ : วิธีการออกกาลังกาย อายุ เพศ น้าหนัก สว่ นสูง

4. การรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูล (data complication and analysis) 25 เป็นการนาข้อมูลที่ไดจ้ ากการสงั เกต สืบค้น ผลการทดลอง รวมถึงข้อเท็จจริง ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปลต้นและตัวแปรตาม ซึง่ สามารถนาขอ้ มูลเหลา่ นี้มาเขยี นนาเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ เชน่ กราฟ แผนภมู ิ ผังมโนทศั น์ เพอ่ื แสดงให้เห็นถึงความสัมพนั ธร์ ะหว่างตวั แปรตน้ และตวั แปรตาม

5. การสรปุ ผลการทดลอง (conclusion experiment) 26 เป็นการนาข้อมูลการวิเคราะห์ผลการทดลองหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลไว้ มาลงข้อสรุปว่าผลที่ได้สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่ พร้อมกับมกี ารอภิปรายขอ้ มลู ประกอบ

5

27 1. กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สง (Light microscope) - กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงแบบธรรมดา - กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบสเตอริโอ 2. กล้องจุลทรรศนแ์ บบอิเล็กตรอน (Electron microscope) - กลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บบสอ่ งผา่ น (TEM : Transmission Electron Microscope) - กล้องจลุ ทรรศนแ์ บบสอ่ งกราด (SEM : Scanning Electron Microscope)

28

1 แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ แบบธรรมดาและแบบเชงิ ประกอบ 29 1. แบบธรรมดา (simple light microscope) เปน็ กล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงทปี่ ระกอบดว้ ยเลนส์ขยาย เพียงชุดเดียว กลอ้ งจลุ ทรรศน์ชนิดน้ีเทยี บไดก้ บั แว่นขยาย 2. แบบเชิงประกอบ (compound light microscope) เปน็ กลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงที่ประกอบดว้ ยเลนสข์ ยาย 2 ชุด คือเลนสใ์ กลว้ ัตถุ และเลนส์ใกล้ตา กาลงั ขยาย สดุ ทา้ ย คอื ผลคูณของกาลังขยายของเลนส์ใกลว้ ตั ถุกับ กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา

30 2 เป็นกลอ้ งจลุ ทรรศนท์ ใ่ี ชล้ าอิเลก็ ตรอนในการทางานแทนแสงสวา่ งธรรมดา มคี วามสามารถในการแจก แจงรายละเอียดไดม้ ากกวา่ กล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงประมาณ 1,000 เท่า มี 2 ชนิด คอื TEM และ SEM RBC from TEM 1. TEM (Transmission Electron Microscope) ภาพที่เห็นเป็นภาพ 2 มิติ และมคี วามสามารถขยายภาพได้ มากกว่า 1 ล้านเทา่ ทาให้นักชวี วทิ ยามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั โครงสร้างและการทางานของโครงสร้างของเซลล์มากข้นึ RBC from SEM 2. SEM (Scanning Electron Microscope) ภาพจาก SEM มีความคมชดั น้อยกว่าภาพจาก TEM แต่จะ เห็นภาพของผวิ วัตถุ ความลกึ และลักษณะรปู รา่ งแบบ 3 มิติ

31 เ ป ็ น ก ล ้ อ ง จ ุ ล ท ร ร ศ น ์ ท ี ่ ใ ช้ภ แหล่งกาเนิดแสงเป็นแสงจากดวง อาทิตย์หรือหลอดไฟฟ้าผ่านเลนส์รวม แสง ภาพทีไ่ ด้จากกลอ้ ง : ภาพเสมอื นหวั กลับขนาดใหญก่ ว่าวัตถุ ภ วัตถจุ ริง ภาพทเี่ หน็ จากกลอ้ ง

1 สว่ นท่ีทาหน้าท่ีเปน็ ตัวกลอ้ ง 32 ลากลอ้ ง (body tube) ส่วนที่เชื่อมระหวา่ งเลนส์ใกลว้ ตั ถุและ arm body tube เลนสใ์ กลต้ า ทาหนา้ ทปี่ อ้ งกนั แสงภายนอกทีไ่ ม่ใชแ่ สงจาก Stage clip แหล่งกาเนดิ แสงเข้าสู่ตวั กล้อง base ทีห่ นีบสไลด์ (stage clip) ทาหนา้ ทีห่ นบี สไลด์ทจี่ ะใชส้ ่องดูให้ วางอยู่แนน่ บนแทน่ สไลด์ แขนกล้อง (arm) ส่วนที่เชื่อมลากล้องเข้ากับส่วนฐานของกล้อง และใชเ้ ปน็ ที่จับยดึ กลอ้ งขณะขนย้ายหรอื กาลงั ใชก้ ลอ้ ง ฐานกล้อง (base) ส่วนทอ่ี ยลู่ ่างสดุ ของตวั กล้อง ทาหน้าทต่ี ั้ง วางบนโตะ๊ และรองรบั นา้ หนักท้ังหมดของตัวกลอ้ ง

2 ส่วนท่ีทาหนา้ ทใ่ี นการรบั แสง 33 กระจกเงา (mirror) ทาหน้าทร่ี บั แสงจากแหล่งกาเนิดแสงแล้ว mirror สะท้อนเขา้ สลู่ ากล้อง ปจั จุบนั ไดพ้ ฒั นามาใช้หลอดไฟฟ้าแทน condenser ซึง่ สะดวกตอ่ การใช้งานในขณะทีม่ แี สงน้อยหรอื เวลากลางคืน เลนสร์ วมแสง (condenser) ทาหนา้ ทีร่ วมแสงท่จี ะผา่ นวตั ถุที่ วางบนแทน่ วางสไลด์ เพอื่ ปรบั ความเข้มของแสง ไดอะแฟรม (diaphragm) ส่วนที่อยู่ใต้แท่นวางสไลด์และอยู่ติด diaphragm กับเลนส์รวมแสง ทาหน้าที่ปรับปริมาณแสงให้เข้าสู่ลากล้อง ในขณะใช้กาลงั ขยายสูง ซงึ่ จะมีผลต่อความคมชัดของภาพ

3 ส่วนท่ีทาหนา้ ทปี่ รบั ภาพ 34 ปมุ่ ปรบั ภาพหยาบ (coarse adjustment) สว่ นทเี่ ปน็ ลอ้ ขนาด ใหญ่ ใช้ปรบั โฟกัสภาพใหเ้ ห็นภาพคมชัด แต่สว่ นใหญ่ใชป้ รับ อย่างหยาบเพอ่ื หาตาแหน่งภาพ ปุม่ ปรบั ภาพละเอยี ด (fine adjustment) ส่วนทีเ่ ปน็ ลอ้ ขนาด เลก็ ใช้ปรบั ภาพใหช้ ัดขึ้นกวา่ เดิมหลงั จากใชป้ มุ่ ปรบั ภาพหยาบ หรอื ขณะทใี่ ช้กาลงั ขยายสูงข้ึน fine adjustment coarse adjustment

4 ส่วนท่ที าหน้าทีข่ ยายภาพ eyepiece lens 35 เลนส์ใกล้วตั ถุ (objective lens) ส่วนท่ีอย่ตู ดิ กับจานหมุน (revolving revolving nosepiece) ซึ่งมีหลายอัน แต่ละอันจะระบุกาลังขยายไว้จากต่าไปหา nosepiece สูง เช่น 4X 10X 40X และ 100X (X หมายถึง กาลังเท่าที่ขยายได้) objective lens หากต้องการเปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ควรจับที่จานหมุน ไม่ควรจับ ที่กระบอกเลนส์ เลนส์ใกลต้ า (eyepiece lens) ส่วนทีอ่ ยู่ติดกบั ลากลอ้ ง อาจจะ มี 1 หรือ 2 อัน มกี าลงั ขยายระบุไว้ เช่น 5X 10X และ 15X

36 12 ขั้นที่ 1 วางสไลด์ที่ต้องการส่องบนแท่นวาง ขั้นที่ 2 ปรับระยะห่างระหว่างตา สาหรับกล้อง สไลด์ เปิดไฟกล้องจุลทรรศน์ ควรให้จุด ชนิด 2 ตา ปรับหาระยะห่างระหว่างตา และ วงกลมของแสงอยู่ตรงกลางใกล้เคียงกับ ปรบั Diopter ที่ตาข้างใดขา้ งหน่ึง เพื่อให้ระยะ บริเวณทีต่ อ้ งการสอ่ งมากที่สดุ โฟกัสที่เท่ากัน ในกรณีผู้ใช้งานสวมแว่นให้ทา การถอดแว่นออก

37 34 ขั้นที่ 3 ปรับโฟกัส หาระยะโฟกัสที่ชัดที่สุด โดยเริ่ม ขั้นที่ 4 ปรับละเอียด เมื่อปรับภาพ จากเลนสว์ ตั ถุท่ีขนาดกาลงั ขยายต่าสุดก่อน จากนั้น หยาบจนพอมองเห็นภาพให้ทาการ ค่อยเพิ่มกาลังขยายให้สูงขึ้น โดยปรับปุ่มปรับภาพ ปรับด้วยปุ่มปรับภาพแบบละเอียด หยาบ เน่อื งจากเลนส์กาลังขยายต่าสุดจะเป็นเลนส์ ควบคู่กับการเลอื่ นสไลด์ ที่เห็นภาพกวา้ งทส่ี ุด ทาใหง้ า่ ยในการหาจุดทจ่ี ะส่อง

38 56 ขั้นที่ 5 ปรับปริมาณแสง โดยปรับท่ี ขั้นที่ 6 ปรับกาลังขยายให้สูงขึ้น เมื่อไม่ขนาดของ ไดอะแฟรมใต้แท่นวางสไลด์เพื่อควบคุม วัตถุที่ส่องมีขนาดเล็กจนไม่สามารถมองเห็นได้ให้ แสงในปริมาณที่พอเหมาะ การลดความ ปรับกาลังขยายให้สูงขึ้น โดยเลนส์ 100X ควรใช้ Oil กว้างของไดอะแฟรมลงเมื่อกาลังขยาย หยดลงบนกระจกปิดสไลด์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน สูงขน้ึ การมองเห็นด้วย โดยให้เลนส์สัมผัสกับ Oil และ กระจกปิดสไลด์

7 39 ขั้นที่ 7 เก็บทาความสะอาด เมื่อใช้งานเสร็จให้เก็บ สาหรบั กาลังขยาย 40X และ โดยใช้ถุงคลุมหรือเก็บไว้ในที่ที่ไม่มีฝุ่น และ 100X แนะนาให้ใช้การปรับโฟกัส ความชื้นต่า โดยเช็ดทาความสะอาดด้วยกระดาษ เฉพาะปุ่มปรับละเอียดอย่าง เชด็ เลนสห์ รอื นา้ ยาสาหรับเชด็ เลนส์ ระมัดระวัง เพราะการกระทบกัน ของสไลด์และเลนส์สามารถสร้าง ความเสยี หายใหก้ บั เลนสไ์ ด้

40 1. การยกกล้อง ควรใช้มือหน่ึงจบั ทแ่ี ขนกล้อง (arm) และอกี มือหนึ่งรองท่ฐี าน (base) และต้องให้ ลากล้องตัง้ ตรงเสมอเพอ่ื ป้องกนั การเลื่อนหลดุ ของเลนส์ใกลต้ า ซงึ่ สามารถถอดออกได้งา่ ย 2. ขณะทต่ี ามองผ่านเลนส์ใกล้ตา เมอื่ จะต้องหมุนปมุ่ ปรับภาพหยาบตอ้ งมองด้านขา้ งตามแนว ระดบั แทน่ วางวตั ถุ และหมุนใหเ้ ลนส์ใกล้วัตถกุ บั แท่นวางวตั ถุเคลื่อนเขา้ หากัน เพราะเลนส์ใกล้ วตั ถอุ าจกระทบกระจกสไลด์ทาใหเ้ ลนส์แตกได้ 3. การหาภาพต้องเริ่มตน้ ดว้ ยเลนส์วัตถกุ าลงั ขยายต่าสดุ ก่อนเสมอ และปรับหาภาพให้ชัดเจนก่อน จงึ ค่อยใชเ้ ลนสใ์ กลว้ ตั ถุทม่ี ีกาลงั ขยายสงู ขน้ึ 4. เมอื่ ใชเ้ ลนสใ์ กลว้ ัตถทุ ่มี ีกาลงั ขยายสงู ถ้าจะปรับภาพใหช้ ดั ใหห้ มุนเฉพาะปุ่มปรับภาพละเอียด เทา่ น้ัน 5. หา้ มใช้มอื แตะเลนส์ ในการทาความสะอาดใหใ้ ช้กระดาษสาหรับเชด็ เลนส์เช็ดเทา่ นนั้ 6. เมอ่ื ใชเ้ สร็จแลว้ ตอ้ งเอาวัตถทุ ีศ่ กึ ษาออก เช็ดแทน่ วางวตั ถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด หมุนเลนส์ ใกล้วัตถกุ าลังขยายต่าสุดให้อยูต่ รงกับลากล้อง และเลอื่ นลากลอ้ งลงตา่ สุด ปรับกระจกใหอ้ ยู่ ในแนวต้ังได้ฉากกบั แท่นวางวตั ถุเพ่อื ไม่ใหฝ้ ุน่ ลง แลว้ เก็บใสก่ ล่องหรอื ใส่ตู้ให้เรยี บรอ้ ย

41 หลงั จากใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์เสร็จ ใช้ผ้าที่สะอาดและแห้งเช็ดทาความสะอาด ส่วนที่เป็นโลหะ สาหรับส่วนที่เป็นเลนส์และกระจกทาความสะอาดโดยใช้กระจก เช็ดเลนส์เท่านั้น เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ตั้งฉากกับตัวกล้อง หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มี กาลงั ขยายตา่ สุดใหอ้ ยู่ในแนวลากล้องแลว้ เลอื่ นใหอ้ ย่ใู นระดบั ต่าสุด ปรบั กระจกเงา ให้อยู่ในแนวตั้งฉากกับพื้น ใช้ผ้าคลุมไว้เมื่อเลิกใช้งาน อย่าเก็บกล้องไว้ในที่ชื้น เพราะจะทาให้เลนส์ขน้ึ รา จดจำแล้วอยำ่ ลมื นำไปใชด้ ้วยนะคะ