ภาวะโลกร้อน (Global Warming) คอื ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หมายถึง การท่ีอุณหภูมิเฉล่ียของอากาศบนโลกสูงข้ึน ไม่วา่ จะเป็นอากาศบริเวณใกลผ้ วิ โลกและน้าในมหาสมุทร ในช่วง 100 ปี ที่ผา่ นมาอุณหภมู ิเฉล่ียของโลกสูงข้ึนถึง 0.74 ?0.18 องศาเซลเซียส และจากแบบจาลองการคาดคะเนภมู ิอากาศพบวา่ ในปี พ.ศ. 2544 – 2643 อุณหภมู ิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มข้ึนถึง 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส สาเหตุที่ทาใหเ้ กิดภาวะโลกร้อนก็เพราะวา่ กา๊ ซเรือนกระจกท่ีเพ่มิ ข้ึนจากการทากิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ ไมว่ า่ จะเป็นการเผาผลาญถ่านหินและเช้ือเพลิง รวมไปถึงสารเคมีที่มีส่วนผสมของกา๊ ซเรือนกระจกที่มนุษยใ์ ช้ และอื่นๆอีกมากมาย จึงทาใหก้ า๊ ซเรือนกระจกเหล่าน้ีลอยข้ึนไปรวมตวั กนั อยบู่ นช้นั บรรยากาศของโลก ทาใหร้ ังสีของดวงอาทิตยท์ ่ีควรจะสะทอ้ นกลบั ออกไปในปริมาณท่ีเหมาะสม กลบั ถูกกา๊ ซเรือนกระจกเหล่าน้ีกกั เกบ็ ไว้ ทาใหอ้ ุณหภมู ิของโลกค่อยๆ สูงข้ึนจากเดิม ผลกระทบของภาวะโลกร้อนน้นั กม็ ีใหเ้ ราเห็นกนั อยบู่ อ่ ยๆ สภาพลมฟ้ าอากาศท่ีผดิ แปลกไปจากเดิม
ภยั ธรรมชาติที่รุนแรงมากข้ึน น้าท่วม แผน่ ดินไหว พายทุ ่ีรุนแรง อากาศที่ร้อนผดิ ปกติจนมีคนเสียชีวิต รวมไปถึงโรคระบาดชนิดใหม่ๆ หรือโรคระบาดที่เคยหายไปจากโลกน้ีแลว้ กก็ ลบั มาใหเ้ ราไดเ้ ห็นใหม่ และพาหะนาโรคท่ีเพ่มิ จานวนมากข้ึน ในอนาคตคาดวา่ ผลกระทบของภาวะโลกร้อนจะรุนแรงมากข้ึนเร่ือยๆเราสามารถช่วยกนั ลดภาวะโลกร้อนไดห้ ลายวธิ ี หลกั ๆกเ็ ห็นจะเป็นการใชพ้ ลงั งานอยา่ งคุม้ คา่ และประหยดั เพราะวา่ พลงั งานท่ีพวกเราใช้กนั อยทู่ ุกวนั น้ีกวา่ จะมาถึงให้เราไดใ้ ชน้ ้นั ตอ้ งผา่ นกระบวนการข้นั ตอนในการผลิตมากมาย และแต่ละข้นั ตอนก็จะทาใหเ้ กิดกา๊ ซเรือนกระจกข้ึนมา เพราะฉะน้นั การลดใชพ้ ลงั งานกเ็ ป็นอีกวธิ ีหน่ึงที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ เช่น การปิ ดไฟเมื่อไม่ไดใ้ ช้ การใชน้ ้าอยา่ งประหยดั การใชจ้ กั รยานแทนรถยนตใ์ นการเดินทางใกลๆ้ และอ่ืนๆอีกมากมาย การปลูกตน้ ไมก้ ็เป็นวธิ ีหน่ึงท่ีจะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ อยา่ งท่ีเรารู้กนั ดีวา่ ในเวลากลางวนั ตน้ ไม้น้นั จะช่วยหายใจเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซดเ์ ขา้ ไป และหายใจออกมาเป็ นก๊าซออกซิเจน เปรียบเสมือนเคร่ืองฟอกอากาศใหก้ บั โลกของเราโดยแท้ แตท่ วา่ ปัจจุบนั ป่ าไมถ้ ูกทาลายและมีจานวนลดลงไปอยา่ งมากฉะน้นั ถา้ เราทุกคนช่วยกนั ปลูกตน้ ไม้ ก็เหมือนกบั ช่วยเพิ่มเคร่ืองฟอกอากาศใหก้ บั โลกของเราสภาวะโลกร้อน สภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะท่ีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงข้ึน ซ่ึงเป็นสาเหตุที่ทาใหภ้ ูมิอากาศเปล่ียนแปลง ภาวะโลกร้อนอาจจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝน ระดบั น้าทะเล และมีผลกระทบอยา่ งกวา้ งขวางต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ ปรากฏการณ์ท้งั หลายเกิดจากภาวะโลกร้อนข้ึนท่ีมีมูลเหตุมาจากการปล่อยก๊าซพษิ ต่าง ๆจากโรงงานอุตสาหกรรมทาใหแ้ สงอาทิตยส์ ่องทะลุผา่ นช้นั บรรยากาศมาสู่พ้นื โลกไดม้ ากข้ึนซ่ึงนนั่ เป็นท่ีรู้จกั กนั โดยเรียกวา่ สภาวะเรือนกระจก กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ มีปริมาณเพ่ิมข้ึน เน่ืองจากการเผาไหมใ้ นรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเผาไหม้เช้ือเพลิง โรงงานอุตสาหกรรม การเผาป่ าเพ่ือใชพ้ ้ืนท่ีสาหรับอยอู่ าศยั และการทาปศุสตั ว์ เป็นตน้ โดยการเผาป่ าเป็นการปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดข์ ้ึนสู่ช้นั บรรยากาศไดโ้ ดยเร็วท่ีสุด กา๊ ซมีเทน(CH4) เกิดข้ึนจากการยอ่ ยสลายของซากส่ิงมีชีวติ แมว้ า่ มีกา๊ ซมีเทนอยใู่ นอากาศเพียง 1.7 ppmแตก่ ๊าซมีเทนมีคุณสมบตั ิของก๊าซเรือนกระจกสูงกวา่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวคือดว้ ยปริมาตรที่เท่ากนั
ก๊าซมีเทนสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรดไดด้ ีกวา่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กา๊ ซไนตรัจออกไซด์ (N2O) ปกติก๊าซชนิดน้ีในธรรมชาติเกิดจากการยอ่ ยสลายซากสิ่งมีชิวติ โดยแบคทีเรีย แต่ท่ีมีเพ่ิมสูงข้ึนในปัจจุบนั เน่ืองมาจากอุตสาหกรรมที่ใชก้ รดไนตริกในกระบวนการผลิต เช่นอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน อุตสาหกรรมเคมีและพลาสติกบางชนิด เป็นตน้ กา๊ ซไนตรัสออกไซดท์ ่ีเพ่มิ ข้ึนส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเพมิ่ พลงั งานความร้อนสะสมบนพ้นื ผวิ โลกประมาณ 0.14 วตั ต/์ ตารางเมตร นอกจากน้นั เมื่อก๊าซไนตรัสออกไซดล์ อยข้ึนสู่บรรยากาศช้นั สตราโตสเฟี ยร์ มนั จะทาปฏิกิริยากบั กา๊ ซโอโซน ทาใหเ้ กราะป้ องกนั รังสีอลั ตราไวโอเล็ตของโลกลดนอ้ ยลง กา๊ ซโอโซน (O3) เป็นกา๊ ซท่ีประกอบดว้ ยธาตุออกซิเจนจานวน 3 โมเลกุล มีอยเู่ พียง 0.0008% ในบรรยากาศ โอโซนไม่ใช่กา๊ ซที่มีเสถียรภาพสูง มนั มีอายอุ ยใู่ นอากาศไดเ้ พยี ง 20 - 30 สปั ดาห์ แลว้ สลายตวัโอโซนเกิดจากกา๊ ซออกซิเจน (O2) ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตแลว้ แตกตวั เป็นออกซิเจนอะตอมเด่ียว (O)จากน้นั ออกซิเจนอะตอมเด่ียวรวมตวั กบั ก๊าซออกซิเจนและโมเลกลุ ชนิดอ่ืน (M)ท่ีทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลาง แลว้ใหผ้ ลผลิตเป็นกา๊ ซโอโซนออกมา ผลกระทบจากสภาวะโลก การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศโลกอนั เน่ืองมาจากกิจกรรมของมนุษย์ก่อใหเ้ กิดผลกระทบในระดบั โลกและระดบั ภมู ิภาคท้งั ทางกายภาพและชีวภาพ ดงั น้ีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอนั เนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย์ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบในระดบั โลกและระดบั ภูมิภาคท้งั ทางกายภาพและชีวภาพ ดงั น้ีระดับนา้ ทะเลขึน้ สูง หากอุณหภมู ิเฉลี่ยของโลกเพมิ่ สูงข้ึนอีก 1.4-5.8 องศาเซลเซียสจะส่งผลใหน้ ้าแขง็ ที่ข้วั โลกละลาย และระดบั น้าทะเลเฉล่ียสูงข้ึนอีก 14 - 90 เซนติเมตร ซ่ึงจะส่งผลกระทบ ไดแ้ ก่ การสูญเสียท่ีดินการกดั เซาะและการพงั ทลายของชายฝ่ัง ในส่วนของพ้ืนท่ีที่จะไดร้ ับความเสียหายมากท่ีสุด คือหมู่เกาะเลก็ ๆ เช่น หมเู่ กาะในมหาสมุทรอินเดีย และทะเลแคริเบียน รวมถึงสามเหล่ียมปากแม่น้าในพ้ืนท่ีราบลุ่ม เช่น สามเหล่ียมปากแมน่ ้าไนลใ์ นประเทศอียปิ ต์ หากระดบั น้าทะเลเพ่ิมข้ึน 50 ซม.จะมีผลกระทบตอ่ ประชากรโลกประมาณ92 ล้านคน ตวั อยา่ งเช่น ระดบั น้าทะเลท่ีสูงข้ึน 1 เมตรจะทาใหป้ ระเทศอียปิ ตเ์ สียพ้ืนท่ีดินเพ่ิมข้ึน 1เปอร์เซ็นต์ เนเธอร์แลนด์ 6 เปอร์เซ็นต์ บงั คลาเทศ 17.5 เปอร์เซ็นต์ และ หมเู่ กาะมาฮูโรในเกาะมาร์แชล 80เปอร์เซ็นต์
สภาพอากาศรุนแรง เมื่ออุณหภมู ิเฉล่ียของโลกเพม่ิ สูงข้ึน ภยั ธรรมชาติตา่ งๆมีแนวโนม้ วา่ จะเกิดบ่อยคร้ังและรุนแรงมากยง่ิ ข้ึน เช่น ภยั แลง้ ไฟป่ า พายไุ ตฝ้ ่ นุ โซนร้อน น้าท่วม และการพงั ทลายของช้นั ดินเป็ นตน้ ตวั อยา่ งที่เห็นได้ชดั ของปรากฎการณ์เหล่าน้ี ไดแ้ ก่ พายไุ ซโคลนที่เขา้ ถล่มรัฐโอริสสา ในประเทศอินเดีย และคร่าชีวติ ผคู้ นนบั หม่ืนในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2542 สภาวะคล่ืนความร้อน (Heat Wave) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2542 ท่ีทาลายพชื ผลการเกษตรในแถบตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา และทาใหม้ ีผเู้ สียชีวติ 140คน รวมท้งั ปรากฎการณ์น้าท่วมใหญ่ในจีน ความแหง้ แลง้ รุนแรงในซูดาน และเอธิโอเปี ย ตลอดช่วงปี พ.ศ.2542-43 เป็นตน้ปะการังฟอกสี สีสนั ที่สวยงามของปะการังน้นั มาจากสาหร่ายเซลลเ์ ดียวขนาดเล็กที่พ่ึงพาอาศยั อยใู่ นเน้ือเยอ่ื ช้นั ในของปะการัง หากอุณหภูมิของน้าทะเลเพิม่ สูงข้ึน อนั เน่ืองมาจากภาวะโลกร้อน เพียง 2-3 องศาเซลเซียสสาหร่ายน้นั จะตายไป เมื่อปะการังไม่มีอาหาร ปะการังกจ็ ะตายและกลายเป็นสีขาว ปรากฎการณ์น้ีเรียกวา่ ปะการังฟอกสี หรือการเปลี่ยนสีของปะการัง การศึกษาวจิ ยั ที่สถาบนั สมุทรศาสตร์แห่งฟลอริดา้ (Florida Institute of Oceanography) ระบุวา่ เกิดการฟอกสีของปะการังสูงสุดในช่วงหลายสิบปี ท่ีผา่ นมาในออสเตรเลีย จีน ญี่ป่ ุน ปานามา ไทย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ อินเดีย อินโดนีเซีย เคนยาประเทศในบริเวณทะเลแดง เปอโตริโก จาไมกา้ โดยเฉพาะ แนวปะการัง Great Barrier Reef นอกชายฝ่ัง
ออสเตรเลีย ซ่ึงเป็นแหล่งอาศยั ของปะการังพนั ธุ์หายากที่ใกลส้ ูญพนั ธุ์ ผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ ภยั ธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนอยา่ งรุนแรง เช่น ภาวะน้าท่วม และคล่ืนร้อนลว้ นส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษยท์ ้งั ทางตรงและทางออ้ ม เช่น อุณหภูมิที่สูงข้ึนจะทาใหย้ งุ ลายซ่ึงเป็นพาหะนาไขม้ าลาเรียและไขเ้ ลือดออกขยายตวั เพิ่มข้ึน ส่งผลใหม้ ีผปู้ ่ วยดว้ ยโรคมาลาเรียเพิ่มข้ึนประมาณ 50-80 ลา้ นคนต่อปี โดยเฉพาะในเขตศูนยส์ ูตรและเขตร้อน เช่นเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ โครงการสิ่งแวดลอ้ มของสหประชาชาติ ระบุวา่ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศจะกระทบกระบวนการผลิตอาหาร สุขอนามยั และก่อใหเ้ กิดปัญหาดา้ นสังคมและเศรษฐกิจตามมาส่ิงเหล่าน้ีก็จะยิ่งก่อใหเ้ กิดปัญหาดา้ นสุขภาพท่ีเกิดข้ึนในประเทศเขตร้อนช้ืน เช่น โรคทอ้ งร่วง โรคขาดอาหาร โรคหอบหืดและโรคภูมิแพ้อื่นๆยงิ่ ไปกวา่ น้นั อุณหภมู ิท่ีสูงข้ึน จะลดปริมาณน้าสารอง และเพ่มิ ปริมาณจุลชีพเลก็ ๆ ในอาหารและน้าก่อใหเ้ กิดโรค เช่น โรคอาหารเป็นพิษผลกระทบของภาวะโลกร้อนดงั กล่าว ก่อใหเ้ กิดความเสียหายท่ีรุนแรงโดยจะเกิดกบั กลุ่มประเทศกาลงั พฒั นาท่ียากจนรุนแรงมากท่ีสุด เน่ืองจากประเทศกาลงั พฒั นาโดยเฉพาะเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรท่ีลดลงจากสภาพอากาศแปรปรวน และจะส่งผลกระทบท่ีรุนแรงต่อปริมาณอาหารสารอง และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศที่ตอ้ งพ่งึ พาการส่งออกสินคา้ ทางการเกษตรเป็ นหลกั ประเทศไทยเองก็เป็นหน่ึงในประเทศกาลงั พฒั นาท่ีจะไดร้ ับผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศโลกเช่นเดียวกนั ผลกระทบต่อการเกษตรและแหล่งนา้ การศึกษาของสถาบนั สิ่งแวดลอ้ มไทย ระบุวา่ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีมีตอ่ ภาคการเกษตรในประเทศไทยสมั พนั ธ์กบั ปริมาณน้า ในประเทศไทยมีแนวโนม้ วา่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทาใหป้ ริมาณน้าลดลง (ประมาณ 5 - 10 เปอร์เซ็นต)์ ซ่ึงจะมีผลต่อผลผลิตดา้ นการเกษตร โดยเฉพาะขา้ ว ซ่ึงเป็นพชื เศรษฐกิจท่ีสาคญั และตอ้ งอาศยั ปริมาณน้าฝนและแสงแดดที่แน่นอน รวมถึงความช้ืนของดินและอุณหภูมิเฉล่ียที่พอเหมาะดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ของภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อนเป็นสิ่งที่เกิดข้ึนจริง ในปัจจุบนั โลกของเราร้อนกวา่ ที่เคยเป็นมาใน 2 พนั ปี ท่ีผา่ นมา หากสภาพน้ียงั เกิดข้ึนต่อไป เมื่อทศวรรษน้ีสิ้นสุดลง อุณหภมู ิของโลกมีแนวโนม้ ที่จะพุง่ สูงกวา่ ท่ีเคยเป็นมาใน 2ลา้ นปี ที่ผา่ นมา ถึงแมว้ า่ เมื่อศตวรรษที่ 20 สิ้นสุดลง สภาพอากาศอาจจะไม่ร้อนที่สุดในประวตั ิศาสตร์ของโลก แต่สิ่งที่ไม่เคยเกิดข้ึนก็คือความร้อนน้นั เกิดข้ึนทว่ั โลก และไมส่ ามารถอธิบายไดด้ ว้ ยกลไกทางธรรมชาติท่ีใชอ้ ธิบายความร้อนในช่วงเวลาท่ีผา่ นมา ขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์ในวงกวา้ งเห็นร่วมกนั วา่
มนุษยชาติมีส่วนอยา่ งมากในการทาใหเ้ กิดความเปล่ียนแปลงน้ี และทางเลือกท่ีเราเลือกกระทาในวนั น้ีจะเป็นตวั กาหนดสภาพภูมิอากาศในอนาคตเราทาให้สภาพอากาศเปลย่ี นแปลงอย่างไร เป็นเวลามากกวา่ 1 ทศวรรษแลว้ ที่ผคู้ นพ่ึงพาเช้ือเพลิงฟอสซิล เช่น น้ามนั ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการพลงั งาน การเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดซ์ ่ึงก่อใหเ้ กิดภาวะโลกร้อนออกสู่บรรยากาศ ก๊าซเรือนกระจกอื่นๆ ท่ีสร้างผลกระทบมากกวา่ กเ็ ป็นสาเหตุเช่นกนั รวมถึงการทาลายป่ าอยา่ งมหาศาล \"ปัจจุบนั ความเขา้ ใจขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์ของภาวะโลกร้อนน้นั แจ่มชดั เพียงพอแลว้ ที่จะเป็นเหตุผลสาหรับประเทศตา่ งๆ ใหล้ งมือปฏิบตั ิทนั ที\"ความจริงทเี่ รารู้ แมว้ า่ จะยงั มีความไมแ่ น่นอนตา่ งๆ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างเร่ืองเวลา ขอบเขต และ ภมู ิภาค ของภาวะโลกร้ อน แตม่ ีการยอมรับร่วมกนั เรื่องขอ้ เทจ็ จริงทางวทิ ยาศาสตร์ที่สาคญั ๆ ดงั ต่อไปน้ี • ก๊าซตา่ งๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซตใ์ นบรรยากาศน้นั ก่อใหเ้ กิด \"ปรากฏการณ์เรือนกระจก\" ซ่ึงกกัเก็บความร้อนเอาไวแ้ ละรักษาโลกใหอ้ บอุ่นพอที่จะหล่อเล้ียงส่ิงมีชีวติ ดงั ทีเราทราบกนั ดี
• การเผาไหมเ้ ช้ือเพลิงฟอสซิล (ถ่านหิน น้ามนั ฯลฯ) ปล่อยคาร์บอนไดออกไซตอ์ อกสู่บรรยากาศเพ่ิมข้ึนอีก แมว้ า่ คาร์บอนออกไซตจ์ ะไมใ่ ช่ตวั การสร้างผลกระทบมากที่สุด แต่ก็เป็นก๊าซมนุษยเ์ ป็นผู้ก่อใหเ้ กิดมากที่สุด เนื่องถูกปล่อยออกมาปริมาณมาก • ปัจจุบนั ความเขม้ ขน้ ของคาร์บอนไดออกไซตใ์ นบรรยากาศอยใู่ นระดบั สูงท่ีสุดใน 150,000 ปี • คาดวา่ ทศวรรษ 1990 เป็นทศวรรษที่ร้อนท่ีสุดในประวตั ิศาสตร์ และ ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) เป็นปี ที่ร้อนที่สุดนอกจากนีย้ งั ได้ยอมรับร่วมกันอย่างกว้างขวางในส่ิงต่อไปนี้ • ความร้อนท่ีเพิ่มข้ึนในระดบั หน่ึง นนั่ คือ ราว 1.3 องศาเซลเซียส (2.3 องศาฟาเรนไฮท)์ เมื่อเทียบกบัระดบั ก่อนยคุ อุตสาหกรรม อาจเป็นส่ิงท่ีหลีกเลี่ยงไมไ่ ดเ้ ม่ือพจิ ารณาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจนถึง
ปัจจุบนั การจากดั ความร้อนใหอ้ ยตู่ ่ากวา่ 2 องศาเซลเซียส (3.6 ฟาเรนไฮท)์ น้นั เป็ นสิ่งจาเป็นเพ่ือป้ องกนัไมใ่ หเ้ กิดผลกระทบจากภาวะโลกร้ อน • ถา้ ไม่สามารถควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ภาวะโลกร้อนใน 100 ปี ขา้ งหนา้ จะเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็วกวา่ ที่เคยเป็นมาต้งั แต่กาเนิดอารยธรรมมนุษย์ • เป็นไปไดส้ ูงมากที่กลไกการตอบโตข้ องสภาพภมู ิอากาศจะนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศแบบทนั ทีและไม่สามารถกลบั คืนเหมือนเดิม ไม่มีใครรู้วา่ ภาวะโลกร้อนจะตอ้ งรุนแรงมากข้ึนเพียงใดจึงจะจุดชนวนใหเ้ กิด \"สถานการณ์วนั สิ้นโลก\" / ขอบคุณขอ้ มูลจาก greenpeace.org
40 วธิ ีลดภาวะโลกร้อน1. ถอดปลก๊ั ไฟฟ้ าทุกคร้ังท่ีเลิกใชง้ านเครื่องใชไ้ ฟฟ้ า รู้มย๊ั คะวา่ การใชไ้ ฟฟ้ าในบา้ นมีส่วนทาใหเ้ กิดก๊าซเรือนกระจกถึง 16%2. หนั มาใชพ้ ลงั งานแสงอาทิตยใ์ นการตากผา้ แทนการ อบผา้ ในเคร่ืองซกั ผา้3. การรีดผา้ ควรรีดคร้ังละมาก ๆแทนการัดทีละตวั เพ่ือประหยดั การใชไ้ ฟฟ้ า4. ปิ ดแอร์บา้ ง แลว้ หนั มาใชพ้ ดั ลมหรือวา่ เปิ ดหนา้ ตา่ งให้อากาศถ่ายเทมากข้ึน5. เวลาไปที่หา้ งสรรพสินคา้ อยา่ เปิ ดประตูทิง้ ไว้ เพราะแอร์จะทางานหนกั มากวา่ ปกติ6. ใชบ้ นั ไดแทนการใชล้ ิฟท์ นอกจากจะเป็ นการไดอ้ อกกาลงั กายแลว้ ยงั ประหยดั ไดเ้ ยอะข้ึนรู้ม้ยั คะวา่ การกดลิฟตห์ น่ึงคร้ังจะเป็นการเสียค่าไฟถึงคร้ังละ 7 บาท7. ปิ ดไฟดวงที่ไมจ่ าเป็ น โดยเปิ ดเฉพาะดว้ ยที่เราจาเป็นตอ้ งใชจ้ ริง ๆ
8. ลดๆ การเล่นเกมลงบา้ ง เพราะนอกจากสายตาจะเสียแลว้ ยงั เปลืองไฟมาก ๆ อีกดว้ ย9. ตเู้ ยน็ สมยั คุณแม่ยงั สาว ขายทิ้งไปไดแ้ ลว้ เพราะกินไฟมากกวา่ ตูเ้ ยน็ ใหมถ่ ึง 2 เท่า10. บอกคุณพอ่ คุณแมใ่ หเ้ ปล่ียนไปใชไ้ ฟแบบหลอด LED จะไดไ้ ฟท่ีสวา่ งกวา่ และประหยดั กวา่ หลอดปกติ40%11. ยดื อายตุ เู้ ยน็ ดว้ ยการไม่นาอาหารร้อนเขา้ ตูเ้ ยน็ และหลกั เลี่ยงการนาถุงพลาสติกใส่ของในตูเ้ ยน็ เพราะจะทาใหต้ เู้ ยน็ จ่ายความเยน็ ไดไ้ มท่ ว่ั ถึงอาหาร12. ละลายน้าแขง็ ที่เกาะในตเู้ ยน็ เป็นประจา เพราะตเู้ ยน็ จะกินไฟมากข้ึนเมื่อมีน้าแขง็ เกาะ13. ใชร้ ถเมล์ รถไฟฟ้ าแทนการใชร้ ถส่วนตวั14. ถา้ ไมไ่ ดไ้ ปไหนไกล ๆ ใหใ้ ชจ้ กั รยาน หรือเดินไปก็ดีนะคะ ไดอ้ อกกาลงั กายไปในตวั ดว้ ย15. ใชก้ ระดาษแต่ละแผน่ อยา่ งประหยดั กระดาษรียทู หนงั สือพมิ พ์ เพราะกระดาษเหล่าน้นั มาจากการตดัตน้ ไม้16. เส้ือผา้ ท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ เอาไปบริ จาคบา้ งก็ได้ เพราะในบางบริษทั มีการรับ บริจาคเส้ือที่ใชแ้ ลว้ จะนาไปหลอมมาทาเป็นเส้นใยใหมอ่ ีกคร้ัง ซ่ึงจะช่วยลดก๊าซเรือนกระจกไดถ้ ึง 71%17. ลดใชพ้ ลาสติก โดยใชข้ องที่สามารถนามารีไซเคิลได้ เช่น กระเป๋ าผา้ หรือกระติกน้า18. พยายามทานอาหารใหห้ มด เพราะเศษอาหารเหล่าน้นั ก่อใหเ้ กิดก๊าซมีเทน ซ่ึงก่อให้เกิดความร้อนต่อโลกเพิ่มข้ึน19. ร่วมกนั ประหยดั น้ามนั แบบ Car Pool เพอ่ื ช่วยประหยดั น้ามนั และยงั เป็นการลดจานวนรถติดบนถนนไดอ้ ีกทางดว้ ยคะ่20. พยายามลดเน้ือสัตวท์ ่ีเค้ียวเอ้ืองอยา่ ง ววั เพราะมูลของสัตวเ์ หล่าน้นั จะปล่อยกา๊ ซมีเทน
21 กินผกั ผลไมเ้ ยอะๆ เพราะอุตสาหกรรมการเกษตรไมป่ ล่อยกา๊ ซมีเทนที่เป็นตวั เพิ่มความร้อนใหอ้ ากาศ22. กระดาษหนงั สือพมิ พไ์ ม่ใชแ้ ลว้ อยา่ ทิ้ง สามารถนามาเช็ดกระจกใหใ้ สแจ๋วได้23. ใชเ้ ศษผา้ เช็ดส่ิงสกปรกแทนกระดาษชาระ24. มองหาผลิตภณั ฑท์ ี่มีสญั ลกั ษณ์ช่วยรักษาสิ่งแวดลอ้ ม เช่น ป้ ายฉลากเขียว ประหยดั ไฟเบอร์ 5 มาตรฐาน25. ไปตลาดสดแทนซูเปอร์มาร์เก็ตบา้ ง ซ้ือผกั ผลไม้ หมู ไก่ ปลา เพราะสินคา้ ท่ีห่อดว้ ยพลาสติกและโฟมน้นั จะทาใหเ้ กิดขยะจานวนมากมายมหาศาล26. ใชน้ ้าประปาอยา่ งประหยดั เพราะระบบการผลิตน้าประปาของเทศบาล ตา่ ง ๆ ตอ้ งใชพ้ ลงั งานจานวนมากในการทาใหน้ ้าสะอาด27. ลดปริมาณการทิง้ ขยะลงบา้ ง28. ป้ องกนั การปล่อยกา๊ ซมีเทนสู่บรรยากาศดว้ ยการแยกขยะอินทรีย์ เช่น พวกเศษผกั และเศษอาหารออกจากขยะอื่น ๆ ที่สามารถนาไปรีไซเคิลไดม้ าใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์29. บอกคุณพอ่ คุณแม่ใหข้ บั รถความเร็วไมเ่ กิน 80 กม./ชม.30. ทาหลงั คาบา้ นดว้ ยสีอ่อน เพอ่ื ช่วยลดการดูดซบั ความร้อน31. ปลูกตน้ ไมเ้ พิ่มข้ึน เพื่อเพ่ิมออกซิเจนใหอ้ ากาศ ปลูกไผแ่ ทนร้ัว ตน้ ไผเ่ ติบโตเร็วเป็ นร้ัวธรรมชาติท่ีสวยงาม และยงั ดูดซบั คาร์บอนไดออกไซดไ์ ดด้ ี อาจจะลาบากไปหน่อยแตก่ เ็ ก๋ไมน่ อ้ ยนะคะ33. เลือกใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีซ้ือเติมใหม่ได้ เพือ่ เป็ นการลดขยะจากห่อของบรรจุภณั ฑ์34. ลดปริมาณขยะโดยใชห้ ลกั 3R คือ Reuse, Recycle, Reduce35. ไม่ใชป้ ๋ ุยเคมีในสวนไมป้ ระดบั ที่บา้ น แตข่ อให้เลือกใชป้ ๋ ุยหมกั จากธรรมชาติแทน
36. ทานสเตก็ และแฮมเบอร์เกอร์ในร้านใหญ่ ๆ ใหน้ อ้ ยลงบา้ งเพราะอุตสาหกรรมเน้ือระดบั นานาชาติผลิตกา๊ ซเรือนกระจกถึง 18 % สาเหตุหลกั ก็คือไนตรัสออกไซด์และมีเทนจากมูลววั37. มีส่วนร่วมกิจกรรมรณรงคส์ ิ่งแวดลอ้ มเพื่อช่วยเผยแพร่ และการลดปัญหาโลกร้อน38. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ไม่ฟ้ ุงเฟ้ อฟ่ ุมเฟื อย ตามพระราชดารัสของในหลวงนะคะ39. ประหยดั พลงั งานเทา่ ท่ีจะทาไดท้ ้งั น้า ไฟ น้ามนั เพ่ือใหล้ ูกหลานของเรามีส่ิงเหล่าน้ีใชก้ นั ตอ่ ไปในอนาคต40. อยา่ ลืมนาวธิ ีดี ๆ เหล่าน้ีไปบอกตอ่ เพอื่ น ๆ ดว้ ยนะคะ
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: