Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สระในภาษาไทย

สระในภาษาไทย

Published by kantama1995, 2019-06-16 02:53:00

Description: ความหมาย
รูปสระ
เสียงสระ
การออกเสียง
การใช้สระ

Keywords: 21 รูป 32 เสียง

Search

Read the Text Version

สระ หมายถึง เครือ่ งหมายใช้แทนเสียงทีเ่ ปล่งออกมา ตามหลักภาษา ถือวา่ พยัญชนะจาเปน็ ต้องอาศยั สระจงึ จะออกเสียงได้

รปู สระ 11. เ เรียกว่า ไม้หน้า 12. ใ เรียกว่า ไม้มว้ น รูปสระในภาษาไทยมี ๒๑ รูปดงั น้ี 13. ไ เรียกว่า ไม้มลาย 14. โ เรียกว่า ไม้โอ 1. ะ เรียกว่า วสิ รรชนีย์ 15. อ เรียกว่า ตวั ออ 2. เรียกว่า ไม้หันอากาศ หรือ ไม้ผัด 16. ย เรียกว่า ตัวยอ 3. เรียกว่า ไม้ไต่คู้ 17. ว เรียกว่า ตวั วอ 4. า เรียกว่า ลากข้าง 18. ฤ เรียกว่า ตัว ฤ (รึ) 5. เรียกว่า พินทุ หรอื พิทอุ ิ 19. ฤๅ เรียกว่า ตัว ฤๅ (รือ) 6. เรียกว่า ฝนทอง 20. ฦ เรียกว่า ตวั ฦ (ลึ) ปัจจุบันเลิกใช้ 7. ่ เรียกว่า ฟันหนู 21. ฦๅ เรียกว่า ตวั ฦๅ (ลือ) ปัจจบุ นั เลิกใช้ 8. เรียกว่า นฤคหติ หรอื หยาดน้าค้าง 9. เรียกว่า ตนี เหยียด 10. เรียกว่า ตีนคู้



เสียงสระ 5 เสียง - สระเสียงส้ัน ได้แก่ สระทีอ่ อกเสียงส้ัน คือ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อา ไอ ใอ เอา - สระเสียงยาว ได้แก่ สระทีอ่ อกเสียงยาว คือ อา อี อื อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เออื อัว ฤๅ ฦๅ - สระเดี่ยว ได้แก่ สระที่เปล่งเสียงออกมาเปน็ เสียงเดียว ไม่มีเสียงอน่ื ประสมมี 18 ตวั ได้แก่ อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ เออะ เออ โอะ โอ เอาะ ออ - สระประสม คอื สระที่มเี สียงสระเดีย่ ว 2 ตัวประสมกนั มี 6 ตัวได้แก่ 1. เอียะ เสียง อิ กับ อะ ประสมกัน 2. เอีย เสียง อี กับ อา ประสมกัน 3. เอือะ เสียง อึ กบั อะ ประสมกนั 4. เอือ เสียง อื กบั อา ประสมกัน 5. อัวะ เสียง อุ กบั อะ ประสมกัน 6. อัว เสียง อู กบั อา ประสมกัน - สระเกิน คือ สระที่มเี สียงซ้ากับสระเดี่ยว ตา่ งกนั ก็แตว่ ่าสระเกินจะมีเสียงพยัญชนะประสมหรอื สะกดอยู่ด้วย มี 8 ตัว ได้แก่ 1. ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ (รึ รอื ลึ ลอื ) มเี สียงพยญั ชนะ ร ล ประสมอยู่ 2. อา มเี สียง อะ และพยัญชนะ ม สะกด 3. ใอ ไอ มเี สียง อะ และพยัญชนะ ย สะกด (คือ อยั ) 4. เอา มีเสียง อะ และพยญั ชนะ ว สะกด

การใชส้ ระ สระอะ (-ะ) เขียนไว้หลังพยัญชนะ เมื่อนามาประสมกบั พยญั ชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะน้ันประสมด้วย สระอะ เช่น กะ จะ ปะ สระอา (-า) เขียนไว้หลังพยัญชนะ เมือ่ นามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมด้วย สระอา เช่น มา กา ตา สระอิ (-ิ) เขียนไว้บนพยญั ชนะ เมอ่ื นามาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมด้วย สระอิ เช่น บิ สิ มิ สระอี (-ี) เขียนไว้บนพยญั ชนะ เมอ่ื นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมด้วยสระ อี เชน่ ปี ดี มี สระอึ (-ึ) เขียนไว้บนพยัญชนะ เมอ่ื นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมด้วยสระ อึ เชน่ หึ สึ สระอื (-ื) เขียนไว้บนพยญั ชนะ เมอ่ื นามาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะนั้นประสมด้วย สระอื แต่การใช้สระอื ตอ้ งมี อ มาประกอบด้วย เช่น มือ ถือ ลือ สระอุ (-ุ) เขียนไว้ใต้พยัญชนะ เมอ่ื นามาประสมกบั พยญั ชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระ อุ เช่น ผุ มุ ยุ สระอู (-ู) เขียนไว้ใต้พยัญชนะ เม่อื นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมด้วยสระ อู เช่น ดู รู งู สระเอะ (เ-ะ) เขียนไว้ทั้งหน้าและหลังพยญั ชนะ เมอ่ื นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะ นั้นประสมด้วยสระเอะ เช่น เละ เตะ เกะ สระเอ (เ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมือ่ นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะนั้นประสมด้วย สระเอ เช่น เก เซ เข สระแอะ (แ-ะ) เขียนไว้ทั้งหน้าและหลงั พยญั ชนะ เม่อื นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะ น้ันประสมด้วยสระแอะ เช่น และ แพะ แกะ

สระแอ (แ-) เขียนไว้หน้าพยญั ชนะ เม่อื นามาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมด้วย สระแอ เช่น แล แพ แก สระเอียะ (เ-ียะ) เขียนไว้ท้ังหนา้ บน และหลงั พยัญชนะ เมอ่ื นามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียง พยัญชนะน้ันประสมด้วยสระเอียะ เช่น เผยี ะ เพียะ เกียะ สระเอีย (เ-ีย) เขียนไว้ท้ังหน้าและหลังพยญั ชนะ เมอ่ื นามาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะ น้ันประสมด้วยสระเอีย เช่น เสีย เลีย เปีย สระเอือะ (เ-ือะ) เขียนไว้ท้ังหนา้ บน และหลงั พยญั ชนะ สระเอือ (เ-ือ) เขียนไว้ทั้งหน้า บน และหลงั พยัญชนะ เม่อื นามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียง พยญั ชนะน้ันประสมด้วยสระเอือ เช่น เสอื เรือ เจอื สระอวั ะ (-ัวะ) เขียนไว้บน และหลังพยญั ชนะ เม่อื นามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะนั้น ประสมด้วยสระอวั ะ เช่น ผัวะ ยัวะ สระอวั (-ัว) เขียนไว้บน และหลงั พยญั ชนะ เม่อื นามาประสมกบั พยญั ชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะน้ัน ประสมด้วยสระอวั เช่น ตวั รัว หวั สระโอะ (โ-ะ) เขียนไว้หน้า และหลังพยัญชนะ เม่อื นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้น ประสมด้วยสระโอะ เช่น โปะ โละ แต่ถ้ามีตัวสะกด จะตัดสระโอะออกเหลอื แตพ่ ยญั ชนะต้นกับตัวสะกด เรียกว่า สระโอะลดรูป เช่น คน รก จง สระโอ (โ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมือ่ นามาประสมกบั พยัญชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะน้ันประสมด้วย สระโอ เช่น โต โพ โท สระเอาะ (เ-าะ) เขียนไว้ทั้งหน้า และหลงั พยญั ชนะ เมื่อนามาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียง พยัญชนะนั้นประสมด้วยสระเอาะ เช่น เลอะ เถอะ เจอะ สระออ (-อ) เขียนไว้หลงั พยญั ชนะ เม่อื นามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียงพยัญชนะนั้นประสม ด้วยสระออ เช่น ขอ รอ พอ สระเออะ (เ-อะ) เขียนไว้ทั้งหนา้ และหลังพยัญชนะ เม่ือนามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียง พยญั ชนะนั้นประสมด้วยสระเออะ เช่น เลอะ เถอะ เจอะ

สระเออ (เ-อ) เขียนไว้ทั้งหน้า และหลังพยัญชนะ เม่ือนามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะ น้ันประสมด้วยสระเออ เช่น เจอ เธอ เรอ ถ้ามี ย สะกด จะตัด อ ออกแล้วตามด้วย ย เลย เชน่ เขย เกย เฉย เรียกว่า สระเออลดรูป ถ้ามีตัวสะกดอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช้ ย จะเปลี่ยน อ เป็นสระอิ เชน่ เกิด เลิก เงนิ เรียกว่า สระเออเปลี่ยนรูป สระอา (-ำ) เขียนไว้บนและหลังพยญั ชนะ เม่ือนามาประสมกับพยัญชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะน้ัน ประสมด้วยสระอา เช่น รา ทา จา สระใอ (ใ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมือ่ นามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมดว้ ย สระใอ มีท้ังหมด 20 คา ได้แก่ ใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้ ใด ใต้ ใน ใบ้ ใฝ่ ใย สะใภ้ ใส ใส่ ให้ ใหม่ ใหล ใหญ่ หลงใหล ใหญ่ สระไอ (ไ-) เขียนไว้หน้าพยัญชนะ เมื่อนามาประสมกับพยญั ชนะ จะออกเสียงพยัญชนะน้ันประสมด้วย สระไอ เช่น ไป ไซ ไส ใชก้ บั คาทีม่ าจากภาษาองั กฤษ เช่น ไกด์ ไมล์ สไลด์ ใชก้ ับคาที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตที่แผลงสระอิเป็นสระไอ เช่น ตรี - ไตร ใชก้ บั คาที่มาจากภาษาเขมร เช่น สไบ สระเอา (เ-า) เขียนไว้หน้าและหลังพยญั ชนะ เม่อื นามาประสมกบั พยญั ชนะ จะออกเสียงพยญั ชนะนั้น ประสมด้วยสระเอา เช่น เกา เผา เรา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook