1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทส่ิงประดษิ ฐ์ เรือ่ ง สรา้ งสรรคส์ ่ิงประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอร์นเิ จอรล์ อยได้ ด้วยกระบวนการสตรมี ศกึ ษา (STEAM EDUCATION) โดย ๑. เดก็ ชายภตู ะวนั บญุ เฮา้ ๒. นางสาววรศิ รา รวดเรว็ ๓. นางสาวพมิ ลพรรณ อาษาราช ครทู ่ปี รกึ ษา ๑. นายจริ ะโชติ ยะไชยศรี ๒. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด โรงเรยี นบา้ นแก้ง สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ รายงานฉบับน้ีเป็นสว่ นประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดษิ ฐ์ ระดบั ชัน้ ม.๑ - ๓ เน่อื งในงานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ครง้ั ที่ ๗๐ วันท่ี 28 เดอื นธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๕
2 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิง่ ประดษิ ฐ์ เรอ่ื ง สร้างสรรคส์ ง่ิ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอร์นิเจอรล์ อยได้ ดว้ ยกระบวนการสตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) โดย ๑. เดก็ ชายภูตะวัน บุญเฮา้ ๒. นางสาววริศรา รวดเรว็ ๓. นางสาวพิมลพรรณ อาษาราช ครูท่ีปรกึ ษา ๑. นายจริ ะโชติ ยะไชยศรี ๒. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด
3 ก ชื่อโครงงาน สรา้ งสรรค์ส่งิ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอร์นิเจอร์ลอยได้ ดว้ ยกระบวนการสตรมี ศกึ ษา (STEAM EDUCATION) ชื่อผูจ้ ัดทำโครงงาน ๑. เด็กชายภตู ะวัน บุญเฮ้า ๒. นางสาววริศรา รวดเรว็ ๓. นางสาวพมิ ลพรรณ อาษาราช ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาตอนตน้ ช่ือโรงเรียน โรงเรยี นบา้ นแกง้ ช่อื ครทู ่ีปรึกษา 1. นายจิระโชติ ยะไชยศรี 2. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... บทคดั ย่อ คณะผูจ้ ัดทำโครงงานไดจ้ ัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง สร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์เป็นเฟอร์นิเจอร์ลอยได้ด้วยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อประดิษฐ์เฟอร์นิเจอร์จากวัสดุเหลือใช้ที่มีในโรงเรียน โดยบูรณาการความรู้ตามแนวคิด สตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และให้นักเรียนเกิดความคิด สรา้ งสรรคแ์ ละเป็นการเพ่มิ มลู ค่าจากวสั ดุเหลือใช้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยคณะผจู้ ดั ทำไดส้ รา้ งเฟอรน์ ิเจอรจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้ท่ีมีอยใู่ นโรงเรียน โครงงานทจ่ี ดั ทำขึ้นมุ่งพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด นำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาบูรณาการให้สรา้ งผลงาน ที่ใช้ความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ คิดแก้ปัญหา และยังเป็นการบูรณาการความรู้จากหลากหลายวิชาตามแนวคิดสตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้ท่ีมีในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด และยังช่วยฝึก อาชีพในการเชอ่ื มเหล็กเพอื่ สรา้ งรายไดใ้ นอนาคต
4 ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบบั นสี้ ำเร็จได้ด้วยความกรณุ าจาก นายสกลใจ ชว่ ยรักษา ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นแก้ง ทก่ี รณุ าให้คำปรึกษา แนะนำแนวทางการศกึ ษาคน้ ควา้ ทีถ่ ูกตอ้ ง และสนับสนุนด้านอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื สถานท่ี ในการทำกิจกรรมจนทำให้โครงงานนส้ี ำเรจ็ ได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคณุ นางสาวเมตตา ชาญฉลาด และนายจิระโชติ ยะไชยศรี ครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านแก้ง ท่ีให้คำนำแนะนำ ข้อเสนอแนะทด่ี ใี นการ ปรบั ปรุงแก้ไขงานฉบับน้ใี ห้ถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ยง่ิ ข้นึ สุดท้ายนี้ ผจู้ ัดทำขอขอบคณุ เพื่อน ๆ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ โรงเรียนบา้ นแกง้ ทุกคนที่คอยช่วยเหลอื ให้คำปรึกษา และเปน็ กำลงั ใจในการทำงาน รวมทงั้ ทุกทา่ นทีม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งมา ณ โอกาสน้ี คณะผ้จู ดั ทำ
5 ค สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ บทคดั ย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข บทท่ี 1 บทนำ 1 ท่มี าและความสำคัญ 1 วตั ถุประสงค์ 1 สมมติฐาน 2 ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า 2 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั 3 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง 4 แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกบั การจัดการเรียนรตู้ ามแนวคิดสตรีมศกึ ษา 6 (STEAM EDUCATION) แนวคดิ ทฤษฎีเกีย่ วกับการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน (Project Method) 8 แนวคดิ และทฤษฎีเก่ียวกับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ 10 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดำเนินการ 12 วธิ กี ารดำเนินการ 12 ข้นั ตอนการดำเนินการ 14 บทที่ 4 ผลการดำเนินการ 14 ผลการวางแผนในการทำโครงงาน 14 ผลการทำช้ินงาน/การนำไปใช้ 14 15 บทท่ี 5 สรปุ ผลการดำเนนิ การ/อภปิ รายผลการดำเนินการ 16 สรปุ ผลการดำเนินการ อภปิ รายผลการดำเนินการ จดุ เดน่ ของโครงงาน ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก
6 ง สารบัญตางราง ตารางที่ หนา้ ที่ 1 แสดงการเชื่อมโยงองค์ความรูก้ ารทำเฟอร์นเิ จอร์กบั การจดั การเรยี น 11 รตู้ ามแนวคิดสตรีมศกึ ษา (STEAM Education) 12 2 แสดงผลการทดสอบประสิทธิภาพดา้ นความแข็งแรงในการรบั นำ้ หนักของเฟอร์นิเจอร์ 3 แสดงผลการเปรยี บเทยี บต้นทุนในการทำเฟอรน์ ิเจอร์ทท่ี ำข้นึ เองกบั เฟอรน์ เิ จอร์ใน 13 ทอ้ งตลาด
สารบัญภาพ 7 ภาพท่ี 1 ผงั งาน (Flowchart) แสดงขั้นตอนการดำเนนิ งานของโครงงาน จ วทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสงิ่ ประดิษฐ์ เรื่อง สร้างสรรคส์ ่ิงประดิษฐท์ างวทิ ยาศาสตร์ เปน็ เฟอร์นิเจอร์ลอยได้ดว้ ยกระบวนการสตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) หน้า ภาพท่ี 2 เฟอรน์ ิเจอร์ท่ีจดั ทำข้ึน ได้แก่ โตะ๊ ท่วี างกระถางต้นไม้ เก้าอ้ี 9 10
๑ บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ทม่ี าและความสำคญั ของโครงงาน ปัจจุบันอุตสาหกรรมของโลกก้าวไปอย่างไม่หยุดนิ่ง แต่อีกด้านในความเจริญของอุตสาหกรรม กลบั ทำใหส้ ภาพแวดล้อมของโลกถูกทำลายและยังส่งผลกระทบตา่ ง ๆ มากมาย จึงทำใหม้ นุษย์เริ่มหันกลับมา มองพฤติกรรมในการใช้ชีวิตและการรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น อย่างในประเทศไทยเป็นประเทศที่กำลงั พัฒนา ด้านอุตสาหกรรม ทำให้สิ่งแวดล้อมภายในประเทศถูกทำลายเพราะอุตสาหกรรมต่าง ๆ หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาและให้ความสำคัญในการรักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้มีนโยบายเรื่องการรักษา สิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก หรือให้กล่องกระดาษแทนกล่องโฟม เพื่อเป็นการสร้างความ ตระหนกั ใหก้ ับประชากรในประเทศให้เหน็ ความสำคัญของการรักษาสงิ่ แวดล้อม กระบวนการผลิตเฟอรน์ ิเจอร์ในโรงงานอุตสาหกรรมมีการใช้ทรพั ยากรจากธรรมชาติเป็นจำนวนมาก มีการใช้วัสดุหลากหลายชนิด เพื่อทดแทนเหล็กและไม้ธรรมชาติซึ่งมีราคาสูงในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ปัจจุบัน ส่วนใหญ่หันมาใช้เศษเหล็กที่เหลือใช้และไม้วิทยาศาสตร์ซึ่งมีราคาถูกและผลิตได้ง่าย (วรรณี สหสมโชค. 2549:67) สตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการวิชา วทิ ยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) ศิลปะ (Arts) และ คณติ ศาสตร์ (Mathematics) เข้าด้วยกัน โดยมุง่ เน้นใหผ้ เู้ รียนเกิดองค์ความรู้และสามารถนาองคค์ วามร้ทู ี่ได้ ไปพัฒนาจนเกิดทักษะในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิต โดยมีปัจจัยสำคัญในการ จัดการเรียนรู้ 3 ส่วน คือ การนำเสนอสถานการณ์ (Presentation Situation) การออกแบบอย่างสร้างสรรค์ (Creative Design) และการสร้างความจับใจ (Emotional Touch) ผ่านการเรียนรู้เเละสร้างสรรค์ผลงาน ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ สมรรถนะ ตลอดจนบูรณาการการเรียนรู้ สู่การดำเนิน ชวี ิตประจำวนั เเละตอ่ ยอดองค์ความรู้ด้วยนวตั กรรมเพ่ือพัฒนาเเละตอบสนองต่อความต้องการทเี่ ปลี่ยนแปลง ไปในศตวรรษที่ 21 โรงเรยี นบ้านแกง้ มีปรมิ าณเหล็กและไม้ จากโตะ๊ -เกา้ อี้เก่าที่ชำรดุ และผุพงั เป็นจำนวนมาก ซ่ึงเศษวัสดุ บางอย่างนั้นยังสามารถนำกลับมาใช้ได้ คณะผู้จัดทำโครงงานจึงมีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพและบูรณาการกับวิชาโครงงานโดยใช้กระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) เพื่อนำวัสดุท่ี มีอยู่แต่เกิดการชำรุดมาเพิ่มมูลค่าให้เป็นส่วนผลิตในการสร้างตัวสินค้า และเพื่อดำเนินตามรอยเศรษฐกิจ พอเพียง ดัง่ พระราชดำรขิ องพระเจา้ อยหู่ วั ร.9 ดังน้นั คณะผ้จู ดั ทำไดส้ ร้างสรรค์โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทส่งิ ประดษิ ฐ์ เร่อื ง สร้างสรรค์ ส่ิงประดิษฐท์ างวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอรน์ เิ จอร์ลอยไดด้ ้วยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION)
๒ ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ประดิษฐ์เฟอรน์ ิเจอร์จากวัสดเุ หลอื ใช้ที่มีในโรงเรยี น โดยบูรณาการความรู้ตามแนวคิด สตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) ๒. เพอ่ื พฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๓. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์และเป็นการเพิ่มมูลค่าจากวสั ดเุ หลือใชต้ ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. เพ่ือให้เกดิ ความสามัคคีและร่วมมือกนั ปฏบิ ัตงิ าน 5. เพือ่ ฝกึ อาชพี และสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับนักเรียนในอนาคต ๑.๓ สมมติฐานการศึกษา กระบวนการสตรีมศกึ ษาสามารถนำเหลก็ เก่าจากโต๊ะ-เก้าอี้มาประดิษฐเ์ ป็นเฟอร์นเิ จอร์ได้ ซง่ึ สามารถรับน้ำหนักได้มากกวา่ 50 กิโลกรัม ๑.๔ ขอบเขตของโครงงาน ๑. การจดั การเรียนรแู้ บบโครงงาน (Project Method) ๒. การจัดการเรยี นรู้แบบตามแนวคิดสตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) ๓. ศกึ ษาหาข้อมลู เกย่ี วกบั เร่อื ง แรง ๔. ศกึ ษาหาข้อมูลเกยี่ วกบั การออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ ๑.๕ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ทำให้เกิดทักษะกระบวนการ STEAM EDUCATION และทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๒. สามารถเพมิ่ มูลค่าให้วัสดุเหลือใช้และลดปริมาณขยะที่มีในโรงเรยี น ๓. ทำใหเ้ กดิ ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ 4. ทำให้เกดิ ความสามัคคีในกลมุ่ และเป็นการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
๓ บทท่ี ๒ เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง จาการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ เรือ่ งเฟอร์นิเจอรล์ อยได้ คณะผจู้ ัดทำได้ศึกษา หาข้อมลู เพ่อื สรา้ งความพรอ้ มในการทำงาน เพ่ือให้โครงงานออกมาดีและออกมาสมบูรณ์ที่สดุ จงึ ไดศ้ ึกษา เอกสารต่าง ๆ โดยนนำเสนอเน้ือหาแยกตามลำดบั ดังรายละเอยี ดนี้ 1. แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกบั การจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิดสตรีมศกึ ษา (STEAM EDUCATION) 2. แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกับการจดั การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Method) 3. แนวคดิ และทฤษฎเี กย่ี วกับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ๒.๑ แนวคดิ ทฤษฎเี ก่ยี วกับการจดั การเรียนรู้ตามแนวคดิ สตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) ๒.๑.๑ ความหมายของ STEAM EDUCATION เจนจริ า สันตไิ พบลู ย์ (2561) กล่าวว่า แนวคิด STEAM เป็นการบรู ณา การสาระความรู้ใน วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม ศลิ ปะ และภาษา ซ่ึงการ สอน STEAM เปน็ การบูรณา ความรทู้ ่ีเชอื่ มโยงกัน ทำใหเ้ กิดความคดิ สร้างสรรคเ์ พ่ือแกป้ ัญหา โดยเริ่มจากใช้ความจำเดิมรว่ มกับความเขา้ใจ ในการเรยี นใหม่ สร้างองค์ความรู้แลว้ นำความรูท้ ่ีได้ไปใช้ กัการวิเคราะห์ ในการแกไขปญั หา ทำให้เกดิ การ สรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ เป็นการสอนทใ่ี หน้ ักเรียนไดล้ ง มือปฏิบัติ สบื ค้นคิดแกป้ ัญหา สร้างองค์ความร้ใู หม่ โดยใช้ ความรเู้ ดมิ ที่มอี ยู่เชื่อมโยง 5 สาขาวิชาคอื วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณติ ศาสตร์ เพ่อื ใช้แก้ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนจรงิ ในชวี ิตประจำวันหรือเป็นการสร้างนวตกั รรมใหม่ผ่านชิ้นงาน สภุ คั โอฬาพิริยกลุ (2562)กลา่ วว่า STEAM EDUCATION เปน็ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ โดยการบรู ณาการวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี(Technology) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) ศลิ ปะ (Arts) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เขา้ ด้วยกัน โดยมุ่งเนน้ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ องค์ความรู้และสามารถ นำองค์ความรู้ท่ีไดไ้ ปพฒั นาจนเกดิ ทกั ษะในการแก้ปัญหาและสร้าง สรรค์สง่ิ ใหมๆ่ ในการดำเนนิ ชีวติ ๒.๑.๒ องค์ประกอบของการจดั การเรียนรูต้ ามแนวคิด STEAM EDUCATION วสิ ตู ร โพธ์ิ เงิน (2560)ได้กลา่ วว่า องคป์ ระกอบของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ STEAM ดงั นี้ Science คอื ประวตั ิศาสตร์ ธรรมชาตสิ าระ แนวคดิ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ : ชีววิทยา ชวี เคมี เคมี ธรณวี ทิ ยา ฟิสกิ ส์และอวกาศ เทคโนโลยชี วี ภาพ และชีวการแพทย์ Technology คือ ธรรมชาตขิ องเทคโนโลยี เทคโนโลยีกบั สงั คม การออกแบบ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในโลก รวมถึงเทคโนโลยี : การเกษตร การก่อสรา้ ง การสือ่ สาร ขอ้ มลู การผลติ การแพทย์ ไฟฟ้าและพลงั งาน การผลิตและการขนสง่ Engineering คือ การใชเ้ หตผุ ลหลักการ และการสร้างสรรค์ บนพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยใี นการสร้างสรรค์ : การบินและอวกาศ การเกษตร สถาปัตยกรรม เคมีโยธา คอมพิวเตอร์ ไฟฟ้า สิง่ แวดล้อม ของเหลว อุตสาหกรรมและระบบเครอื่ งจักรกล สินแร่ นวิ เคลียรก์ องทัพเรือ และมหาสมุทร Arts คือ การสื่อสารการสรา้ งความเข้าใจ แนวคิด ทัศนคติ และขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ สง่ ตอ่ จากอดตี สู่ปจั จบุ ันและอนาคต : ทศั นศิลป์ ดนตรี การเคล่ือนไหวรา่ งกาย/นาฏศลิ ป์ การ แสดง ภาษา วรรณกรรม รวมทง้ั การศึกษา ประวัตศิ าสตร์ ปรัชญา การเมือง จติ วิทยา สังคมวิทยา เทววิทยา ฯลฯ
๔ Mathematic คือ ตัวเลข และการปฏบิ ัติ (คำนวณ): พชี คณิตแคลคลู สั เรขาคณิต ตรีโกณมติ ิ การสื่อสารและการวเิ คราะห์ ขอ้ มูลและความน่าจะเป็น และการดำเนนิ การแก้ปัญหาการมเี ห ตุ ผล และ หลักฐานทฤษฎี เจนจริ า สนั ตไิ พบูลย์ (2561) กล่าวว่าองค์ประกอบของการจดั การเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ดงั น้ี S หมายถึง Science หรือวิทยาศาสตร์ เปน็ สง่ิ มีชวี ิตและไม่มชี ีวิต คน พืช สัตว์ส่ิงของ การศึกษาธรรมชาติของโลก เปน็ การเรียนรูแ้ บบสืบค้น ทดลอง พสิ ูจน์ เป็นการเรยี นรเู้ พ่ือหาความจรงิ และ นำไปใช้ T หมายถงึ Technology หรือเทคโนโลยสี ารสนเทศ การนำสง่ิ ที่อยู่รอบตัวมาใช้ประโยชน์ เช่น ความรู้ ความคิด เทคนิคกระบวนการ เพ่ือสร้างสรรค์ พัฒนาหรือแก้ไขปญั หาในการท างานและ ในชวี ิต ประจ าวนั E หมายถงึ Engineering หรือ วิศวกรรมศาสตร์ การออกแบบ แก้ปญั หา และสรา้ งสรรค์ สง่ิ ใหมๆ่ ดว้ ยหลักการทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เพ่ือแก้ไขปญั หาและอำนวยความสะดวก ให้กับมนุษย์ A หมายถึง Arts หรอื ศิลปะศาสตร์ การใชศ้ ลิ ปะด้านต่าง ๆ ทศั นศลิ ป์ ดนตรี การแสดง การ เตน้ และการใชภ้ าษา เพ่ือช่วยใหเ้ กิดความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการพฒั นาหรือแก้ไขปัญหา ในการ ท างานและใน ชีวติ ประจ าวนั M หมายถึง Mathematic หรือคณติ ศาสตร์ การใชส้ ูตรวธิ ี การในการคำนวณ ปรมิ าณ จำนวนรูปร่าง จำนวนตวั เลข พนื้ ผวิ เรขาคณติ โครงสรา้ ง เพือ่ แก้ปัญหาและหาผลลพั ธ์ ๒.๒ การจัดการเรียนร้แู บบโครงงาน (Project Method) ๒.๒.๑ ความหมายของการจัดการเรยี นร้แู บบโครงงาน การจัดการเรยี นสอนโดยยึดผูเ้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง เรยี กช่ือแตกตา่ งกนั ไปในหลายลักษณะ เชน่ การจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง วิธีสอนแบบผเู้ รยี นเป็นแกนการสอนท่ใี หผ้ ้เู รียน เป็นผู้ปฏบิ ตั ิกิจกรรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2543: 28-31) กลา่ ววา่ การจดั การเรยี นการสอนโดยยึดผเู้ รยี น เปน็ ศูนย์กลาง คือการจัดการเรยี นการสอนท่ใี ห้ความสำคัญตอ่ บทบาทในการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น โดยผูเ้ รียนจะมี ส่วนรว่ มในกิจกรรม การเรียนการสอน ไดล้ งมอื ปฏิบัติจนเกิดการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ตามหลกั การวธิ ีการสอน แบบโครงงานเพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นได้รู้จกั คิดวิเคราะห์ รูจ้ ักแกป้ ญั หาและสามารถวางแผนในการทำงานอย่างเป็น ระบบ โดย มคี รเู ปน็ ผูค้ อยแนะนำได้มนี กั การศึกษาและนกั วชิ าการหลายทา่ นใหค้ วามหมายของโครงงานไว้ ดังน้ี กรมวชิ าการ, กระทรวงศึกษาธกิ าร (2544: 238) ได้ใหค้ วามหมายของโครงงานว่า หมายถึง กิจกรรมทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เรียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ และลงมอื ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองตามความสามารถความถนดั และ ความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื กระบวนการอน่ื ใดไปใช้ในการศึกษาหาคำตอบในเร่ือง นั้นๆ โดยมีครคู อยกระตุ้น แนะนำให้คำปรึกษาแกผ่ ้เู รียน อยา่ งใกลช้ ิดต้ังแต่การเลอื กหวั ข้อทจี่ ะศึกษาค้นคว้า ดำเนนิ การวางแผน กำหนดขั้นตอนการดำเนินงานและการนำเสนอผลงาน สุวิทย์ มลู คำ (2545: 84) ได้กล่าวถงึ การเรียนรู้ในรปู ของโครงงานวา่ เปน็ กระบวนการ เรียนร้ทู เ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้ศกึ ษาคน้ คว้าและลงมือปฏิบัติกจิ กรรมตามความสนใจความถนดั และ ความสามารถของตนซงึ่ อาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื กระบวนการอ่นื ๆ ทเี่ ปน็ ระบบไปใชใ้ น การศึกษาคำตอบในเรื่องน้นั ๆ ภายใต้คำแนะนำ ปรึกษาและความช่วยเหลือจากผสู้ อนหรือผเู้ ชี่ยวชาญเรมิ่ ต้งั แต่การเลือกหัวเร่ืองหรอื หัวขอ้ ทจี่ ะศกึ ษา การวางแผน การดำเนินงานตามขนั้ ตอนที่กำหนดตลอดจนการ
๕ นำเสนอผลงาน ซ่งึ ในการจัดทำโครงงานนัน้ อาจเป็นรายบุคคลหรอื เป็นกลุ่มจะกระทำในเวลาเรียนหรอื นอก เวลาเรยี นกไ็ ด้ สุพรรณ เสนภกั ดี (2553: 20) กล่าวว่าโครงงานหมายถงึ กระบวนการเรียนรู้ในเรือ่ งใดเรือ่ ง หนึ่งอยา่ งลึกซึ้งในหวั ข้อการเรยี นรตู้ ามความสนใจของผ้เู รียนเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มลกั ษณะสำคัญของ โครงงานคอื การเน้นท่ีการหาคำตอบให้แก่คำถาม และการลงมือปฏบิ ตั กิ ิจกรรมด้วยตนเองของผู้เรยี นผ่าน กระบวนการต่างๆ อย่างเปน็ ระบบ จากการศึกษาความหมายของการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน เปน็ การเรยี นรูท้ ่เี ปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นได้ศกึ ษาค้นควา้ และลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความสามารถของตนเอง ส่งิ ทีไ่ ดเ้ รยี นร้แู ล้วมาประยุกต์ใชใ้ นการแก้ปัญหา โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรอื กระบวนการอื่น ทเ่ี ป็นระบบมาใชใ้ นการหาคำตอบของเร่ืองทส่ี นใจศกึ ษา ครจู ะมีบทบาทในการเปน็ ผู้ช่วยเหลอื อำนวย ความสะดวกและเป็นทีป่ รึกษาในการทำงานเทา่ น้ัน นักเรยี นจะเป็นผมู้ ีบทบาทในการทำงานตง้ั แต่เลือกเรื่อง ทตี่ นสนใจ ศึกษาวางแผน ดำเนินงานตามข้ันตอนและประเมินผลด้วยตนเอง ๒.๒.๒ ขนั้ ตอนการจัดการเรียนรูแ้ บบโครงงาน ดนุพล บุญชอบ (2557 : 79-119 ) การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โครงงานระหว่างกลุ่ม ร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่มปกติรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ได้เสนอขั้นตอนการเรียนรู้แบบ โครงงาน 6 ขน้ั ตอน คอื 1. ขน้ั ตอนการกระตุน้ 2. ขนั้ ตอนการกำหนดปญั หา 3. ข้ันตอนการวางแผน 4. ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ 5. ขน้ั ตอนการนำเสนอผลการดำเนนิ การ 6. ขน้ั ประเมินผลการดำเนนิ การ กรธนา โพธิ์เต็ง (2558: 8) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการสื่อสารและความสามารถในการ ทำโครงงานโดยการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงาน ได้เสนอขัน้ ตอนการสอนแบบโครงงานไว้ 6 ข้ันตอน คือ 1. ขั้นเตรียมความพร้อมในการทำโครงงาน คือ ขั้นตอนแรกที่นักเรียนจะต้องใช้ ทกั ษะในการฟงั ดู และอา่ นศกึ ษาขอ้ มลู และเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งกบั หัวข้อโครงงานทีต่ นกำหนด 2. ขั้นเริ่มต้นสืบค้นในการทำโครงงาน คือ นักเรียนจะต้องใช้ทักษะในการเขียน เขยี นโครงร่างโครงงานซ่ึงถือ เปน็ การวางแผนในการทาโครงงานโดยคำนงึ ถึงปัจจัยต่าง ๆกอ่ นการทำโครงงาน เพอ่ื ใหค้ รูอนมุ ัติหวั ขอ้ โครงงาน 3. ขนั้ สืบค้นรายละเอียดเพิม่ เติม คอื การใช้ทักษะในการฟัง ดู และอ่านศึกษาข้อมูล และเอกสารท่เี ก่ยี วข้องอกี คร้ัง แตใ่ นครั้งนีเ้ ป็นการสืบค้นข้อมูลเฉพาะด้านทต่ี ้องการ 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล คือ ขั้นตอนนี้จะใช้ทักษะการฟังและพูดเพื่อรับ และแสดงข้อมูลท่ีสมาชกิ ในกลุ่มค้นพบก่อนทจ่ี ะสรปุ ผล 5. ข้นั การนำเสนอผลงาน คอื การใชท้ ักษะในการพดู นำเสนอ 6. ขั้นร่วมสร้างผลผลิต คือ การใช้ทักษะในการเขียนเพื่อเขียนรายงาน จากการที่ได้มีการศึกษาขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานสรุปได้ว่ามี 6 ขั้นตอน คือ 1) การสำรวจค้นหาปญั หา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมขอ้ มูล 4) การลงมือปฏิบตั ิ 5) การวิเคราะห์ข้อมูล และสรปุ ผล และ 6) การนำเสนอผลงาน
๖ ๒.๓ แนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกบั การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบเครื่องเรอื นหรือการออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ (วัฒนะ จูฑะวิภาต .2551:19-22) เครือ่ งเรือนคือส่งิ ที่มนุษย์คิดข้ึนสรา้ งขน้ึ เพ่ืออำนวยความสะดวกสำหรับกจิ กรรมต่างๆภายในบ้าน ท่ที ำงาน หรอื สาธารณะไวส้ ำหรบั การนั่ง การนอน การรับประทานอาหาร การทำงาน ฯลฯ เครื่องเรอื นอาจถกู ออกแบบ สำหรับการใชง้ านคนเดียวหรือเป็นกลมุ่ คน ทำดว้ ยวัสดหุ ลากหลายชนดิ เครอื่ งเรือนจงึ ถูกจดั วา่ เป็นสว่ นการ เช่อื มต่อระหว่างผ้อู ยู่อาศัยกับตวั บ้านหรอื งานสถาปัตยกรรม การเลอื กวัสดใุ ห้เหมาะสมกบั ในงานออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์ วสั ดเุ พ่ือใชใ้ นการออกแบบและผลิตเฟอร์นิเจอรใ์ นปัจจุบันมีมากมายหลากหลาย ชนิด ซึ่ง เกิดจากความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ไม่วา่ จะเปน็ วสั ดพุ ้ืนบานเชน่ ไม้ โลหะหรอื วสั ดุสังเคราะห์ ดงั น้ันการ ออกแบบเฟอร์นเิ จอร์จึงควรค านึงและเข้าใจในคุณสมบตั ิของวัสดุแตล่ ะชนดิ น้ัน ๆ ด้วยซ่งึ วสั ดุท่ีใช้ทำ เฟอรน์ เิ จอร์โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็น2กลมุ่ คือ 1. กลมุ่ โลหะ ซึง่ สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คอื - โลหะเหล็ก เปน็ โลหะทม่ี เี หล็กเป็นสว่ นประกอบหลกั หรอื อาจมีธาตุอืน่ เปน็ องคป์ ระกอบอยบู่ า้ งเช่น เหลก็ กลา้ เหล็กหล่อ หรือเหลก็ เหนียวเป็นต้น - โลหะประเภทอื่นท่ีไม่ใช่เหล็ก คือโลหะประเภทตา่ งๆท่ีไม่ใช่เหล็กเปน็ องคป์ ระกอบหลกั เช่น ทองค า เงนิ ตะก่ัว สังกะสี ทองเหลือง ทองแดง อลมู ิเนยี ม โลหะผสม และ อ่ืนๆ ซง่ึ สามารถแบ่งออกเปน็ 2ประเภทคอื โลหะหนัก คอื โลหะที่มีมวลความหนาแน่นสงู เช่น ทอง ทองแดง ทองค าขาว เงิน ตะก่ัว สงั กะสี แมงกานีส เป็นต้น โลหะเบา คอื โลหะที่มมี วลความหนาแนน่ ต่ำ เช่น อลูมเิ นียม แมกนเี ซยี ม ลเิ ทียม เปน็ ต้น 2. กลมุ่ อโลหะหรอื กลุ่มวสั ดุทไ่ี ม่ใช่โลหะซ่ึงกลุ่มอโลหะสามารถแบง่ ย่อยออกได้อกี 2 ชนิด ได้แก่ วสั ดธุ รรมชาติ เช่น ไม้ เสน้ ใยธรรมชาติ หนงั สตั ว์ และอื่น ๆ โดยงานไม้ธรรมชาติ และไมท้ ่ีผลิตจากเส้น ใยธรรมชาติถอื ว่าเป็นวสั ดหุ ลักในการสร้างงานเฟอร์นิเจอร์และไดร้ ับความ นยิ มเปน็ อยา่ งมากด้วยคุณสมบตั ทิ ่ี เหมาะสมหลายอยา่ งเชน่ ความแข็งแรงทนทาน สวยงาม หา ง่าย ราคาเหมาะสมไมจ้ ึงสามารถแบ่งออกเป็น3 ชนิดคอื ไม้ธรรมชาติ เปน็ วสั ดุแข็งท่ีท ามาจากแกนล าตน้ ของตน้ ไม้ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ไม้ยนื ต้น โดย แบ่งเปน็ ไมเ้ น้ือแขง็ เชน่ ไม้แดง ไมเ้ ต็ง ไมป้ ระดู่ ไมช้ ิงชัน และไม้เนื้อออ่ นเชน่ ไมส้ ัก ไมย้ างพารา โดยทว่ั ไปแลว้ จะหมายถึง Xylem ช้ันท่สี องของต้นไม้ ไมอ้ าจหมายถึงวัสดุใด ๆ ที่มสี ว่ นประกอบท า ด้วยไมไ้ มอ้ ดั กถ็ ือเปน็ การใชป้ ระโยชน์จากไมไ้ ด้อยา่ งค้มุ ค่าโดยการน าความรู้ทางเทคโนโลยขี องไม้ มาประยกุ ต์จากการแปรรปู หรือ เศษเหลือจากอุตสาหกรรมโรงเล่ือย กลับมาประกอบเปน็ ไมใ้ หม่ (Wood Reconstituted Board) ตวั อย่างเชน่ ไม้อัดหรอื ไม้อดั สลบั ชั้น (Plywood) หมายถงึ ผลิตภณั ฑท์ ี่ได้จากการประกอบสมดลุ โดยการน าไม้ บาง ๆ หลาย ๆ แผ่นมาประกอบยดึ ติดกันดว้ ยกาวลักษณะทสี่ ำคัญคือการนำเอาไม้บาง แตล่ ะแผน่ ท่ีมีแนว เสี้ยนขวางตั้งฉากกนั มาเพิม่ คุณสมบตั ิความแข็งและลดการหดและการขยายตัว ของไม้ในระนาบของแผน่ ไมใ้ ห้ นอ้ ยที่สดุ Dieter Rams (ออนไลน์ TCDC :Thailand Creative & Design Center) เปน็ เวลากว่า40 ปที ่ี Dieter Rams ไดพ้ ดู ถึงความสำคัญของการน าศาสตร์ของผใู้ ช้ (User-centered Design) มาเป็นหลักในการ ออกแบบพร้ อมกบั ให้ หลัก10ประการของงาน ออกแบบทด่ี ี ไวเ้ ป็นเครื่องเตือนใจของนักออกแบบรนุ่ หลัง แม้
๗ เวลาที่ผ่ามานานแลว้ ค าพดู ท่ีเขา กลา่ วกบั กลายมาเปน็ ความร่วมสมัยให้กบั งานออกแบบของนักออกแบบร่นุ ใหม่ โดยบทสุนทรพจน์ ทเี่ ขากล่าวคอื 1. งานออกแบบทดี่ ีคือนวัตกรรม 2. งานออกแบบทด่ี ีคอื ผลิตภัณฑท์ ่ีมีประโยชน์ 3. งานออกแบบที่ดีคือความสวยงาม 4. งานออกแบบทด่ี สี ามารถท าใหผ้ ลิตภณั ฑน์ ้ันเปน็ ท่ีเข้าใจไดง้ ่าย 5. งานออกแบบทีด่ ีย่อมไม่ทำให้เกดิ ความรำคาญกบั ผใู้ ช้งาน 6. งานออกแบบทด่ี ีคอื ความซ่อื สตั ย์สุจรติ 7. งานออกแบบที่ดีต้องมีอายุงานท่ียนื ยาว 8. งานออกแบบทดี่ ีต้องใสใ่ จในรายละเอียดในทุกๆแง่มุมของการออแบบ 9. งานออกแบบทีด่ ีจะต้องเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม 10.งานออกแบบทดี่ จี ะต้องออกแบบให้นอ้ ยทสี่ ุดเท่าที่จะท าได้
๘ บทที่ ๓ อุปกรณ์และวิธีการดำเนนิ การ ๓.๑ อปุ กรณ์ และงบประมาณ 1. ใบตดั เหลก็ 180 บาท 2. ลวดเชื่อม ½ กลอ่ ง 110 บาท 3. ไมอ้ ัด ½ แผน่ 170 บาท 4. โซ่ 6 เมตร 420 บาท 5. สีสสี เปรย์ 2 กระปอ๋ ง 110 บาท 6. ตะขอเหล็ก 12 อนั 140 บาท 7. ใบเจียเหล็ก 30 บาท 8. เครอ่ื งเชื่อม 9. เครอื่ งตดั เหล็ก 10. หนา้ กากกนั แสง ๓.๒ วธิ กี ารดำเนินการ ในการดำเนินงาน ไดน้ ำหลักการจดั การเรียนรแู้ บบโครงงาน (Project Method) มาเป็นแนวทาง โดยเรม่ิ ตั้งแต่การวิเคราะห์สภาพปญั หาและเลือกหัวข้อในการทำโครงงาน จากนั้นได้ดำเนนิ การตามขั้นตอน ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 ขัน้ เตรียมการ 1. ประชุมวางแผนการดำเนินการ เขยี นโครงการเสนอครูที่ปรึกษา 2. ครูที่ปรึกษากลัน่ กรองพจิ ารณาเสนอโครงการให้ผ้อู ำนวยการอนมุ ัติ 3. จดั สรรงบประมาณ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และจัดเตรียมสถานทใ่ี นการลงมือปฏิบตั ิงาน ข้ันที่ 2 ขั้นดำเนนิ การ 1. จดั ทำปฏิทินปฏิบัตงิ าน 2. ปฏบิ ตั ิงานโดยเริม่ งานจากการศกึ ษาหาข้อมูล 3. ออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ และกำหนดขนาดของเฟอร์นิเจอร์ 4. เลอื กเหล็กเกา่ ทจ่ี ะนำมาใช้ในการทำเฟอรน์ ิเจอร์ 5. ตัดเหลก็ เชื่อมเหลก็ ขึ้นโครงตามที่ได้ออกแบบไว้ 6. ประกอบเป็นเฟอร์นเิ จอร์ พน่ สี และเกบ็ รายละเอยี ดให้เรยี บรอ้ ยสวยงาม 7. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอร์นเิ จอร์ และปรบั ปรุงแก้ไขจนไดช้ น้ิ งามที่เสรจ็ สมบูรณ์ 8. นำเสนอผลงานต่อครทู ีป่ รึกษา ขั้นท่ี 3 ขัน้ ประเมนิ ผล 1. สรุปผลการปฏบิ ัติงาน 2. ส่งรายงานสรปุ ผลการดำเนินงาน
๙ ภาพท่ี 1 ผังงาน (Flowchart) แสดงข้นั ตอนการดำเนนิ งานของโครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทสิง่ ประดิษฐ์ เร่ือง สร้างสรรคส์ งิ่ ประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์เป็นเฟอรน์ ิเจอร์ลอยได้ด้วยกระบวนการสตรมี ศกึ ษา (STEAM EDUCATION) ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี ดังน้ี 1. แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกบั การจัดการเรยี นรู้ตามแนวคดิ สตรมี ศกึ ษา 2. แนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกบั การจดั การเรยี นรู้แบบโครงงาน 3. แนวคิดและทฤษฎเี กีย่ วกับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ขัน้ ที่ 1 ข้นั เตรยี มการ ประชุมวางแผนการดำเนนิ การ เขยี นโครงการเสนอครทู ี่ปรึกษา เตรยี มวัสดอุ ปุ กรณ์ และจดั เตรยี มสถานทใ่ี นการลงมือปฏิบัติงาน ไม่ผา่ น ขั้นท่ี ๒ ขนั้ ดำเนินการ ดำเนนิ การออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ตามแผนทวี่ างไว้ ใน 3 ประเภท ไดแ้ ก่ โต๊ะท่ีวางกระถางตน้ ไม้ โต๊ะ และมีการนำการจัดการเรียนรู้แบบสตรีมศึกษามา ใชข้ บั เคลือ่ นกระบวนการดำเนินงาน ขั้นที่ ๓ ขนั้ สรุปผล ประเมินผล - การทดสอบประสทิ ธิภาพดา้ นความแขง็ แรงในการรับนำ้ หนกั ของ เฟอร์นเิ จอร์ที่จดั ทำข้ึน - การเขียนรายงานผลรูปแบบโครงงานวิทยาศาสตร์ ผา่ น/ไมผ่ า่ น ผา่ น 1) พัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2) พฒั นาการกระบวนการเรียนรสู้ ตรมี ศกึ ษา 3) โครงงานสิ่งประดษิ ฐท์ างวิทยาศาสตร์
๑๐ ขนั้ ตอนการทำเฟอรน์ เิ จอร์ 1. ออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ และกำหนดขนาดของเฟอร์นเิ จอร์ ซ่งึ มีรายละเอียดดงั นี้ - ขนาดโตะ๊ กว้าง 0.5 เมตร ยาว 1.10 เมตร สงู 0.78 เมตร ใช้เหล็กขนาด 1*1นว้ิ และ 1*1.5 นว้ิ - ขนาดเก้าอี้ กวา้ ง 0.19 เมตร ยาว 0.27 เมตร สงู 0.51 เมตร ใช้เหลก็ ขนาด 1*1นวิ้ - ขนาดท่ีวางกระถางต้นไม้ กวา้ ง 0.20 เมตร ยาว 0.24 เมตร สูง 0.75 เมตร ใช้เหลก็ ขนาด 1*1นิ้ว 2. เลอื กเหลก็ เกา่ ตามขนาดท่ีจะนำมาใชใ้ นการทำเฟอร์นเิ จอร์ 3. ตดั เหล็กตามขนาดที่ออกแบบไว้ โดยใช้เครอ่ื งตดั เหล็กและใช้ใบตัดขนาด 14 น้วิ 4. นำเหลก็ ทีต่ ดั ไดต้ ามขนาดแลว้ มาจดั วางตำแหน่งท่ตี ้องการเพ่ือขึ้นโครงตามท่ีได้ออกแบบไว้ โดยในการต่อ เหลก็ เปน็ มมุ ฉาก มีการใชเ้ หล็กฉากแม่เหล็กมาชว่ ยยดึ เพือ่ ใหไ้ ดอ้ งศาท่ีแมย่ ำก่อนเช่ือมเหลก็ 5. เชอ่ื มเหลก็ เพ่ือข้ึนโครงตามแบบทวี่ างไว้ และใชใ้ บเจีย เจียบรเิ วณรอยเชือ่ มเพื่อลบคมใหเ้ รยี บรอ้ ย 6. หลกั จากนัน้ พ่นสีโครงเหลก็ เพื่อปอ้ งกนั สนิมและเพ่ือความสวยงาม 7. จากน้นั ตดั แผน่ ไม้ตามขนาดท่อี อกแบบไว้ เพ่ือใช้เปน็ แผ่นโตะ๊ และเพ่ือใช้เป็นทรี่ องนัง่ ของเก้าอี้ 8. ใช้สกรขู นาด 1.5 น้ิว ยดึ แผน่ ไม้อดั ทตี่ ัดไดต้ ามขนาดเข้ากบั โครงเหลก็ ของโต๊ะ-เก้าอ้ี และเกบ็ รายละเอียด ใหเ้ รียบร้อยสวยงาม 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอรน์ เิ จอร์ และปรับปรุงแก้ไขจนได้ชิน้ งามทเ่ี สรจ็ สมบรู ณ์ 10. นำเสนอผลงานตอ่ ครทู ่ปี รกึ ษา ภาพท่ี 2 เฟอรน์ เิ จอร์ท่ีจัดทำขน้ึ ไดแ้ ก่ โต๊ะ ที่วางกระถางต้นไม้ เก้าอ้ี
๑๑ ตารางที่ 1 แสดงการเชอื่ มโยงองค์ความรกู้ ารทำเฟอรน์ ิเจอรก์ บั การจัดการเรียนรตู้ ามแนวคิดสตรีมศึกษา (STEAM Education) วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ ศลิ ปะศาสตร์ คณิตศาสตร์ (A) Arts (M) Mathematic (S) Science (T) Technology (E) Engineering 1) ใช้ทศั นศิลป์ 1) การคำนวณ 1) ใช้ทกั ษะกระบวนการ 1) การเลือกใช้วัสดทุ ี่ กระบวนการสร้าง และความคิด พื้นท่ี รปู ร่างตา่ ง ๆ สรา้ งสรรคใ์ นการ 2) การวดั ทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้ เหมาะสมกบั การนำมา ช้ินงาน ประกอบ ทำโตะ๊ เก้าอ้ี และ 3) การคดิ คำนวน ทว่ี างกระถาง ต้นทนุ - ทักษะการสงั เกต ทำเฟอรน์ เิ จอร์และ ด้วย 6 ขนั้ ตอน คือ ต้นไม้ - ทกั ษะการลง สามารถนำมาใชไ้ ด้จริง 1) ระบุปญั หา ความเหน็ จากข้อมูล 2) นำวสั ดทุ ่ีเหลือใช้ รวบรวมข้อมลู และ - ทกั ษะการวัด กลับมาใช้อีก เปน็ การ แนวคดิ ทีเ่ กี่ยวข้องกับ - ทกั ษะการใชต้ ัวเลข ใชท้ รัพยากรให้เกดิ ปัญหา - ทกั ษะการพยากรณ์ ประโยชนส์ ูงสดุ 2) ออกแบบวธิ ีการ - ทกั ษะการ 3) ความคดิ สร้างสรรค์ แก้ปญั หา ต้งั สมมตุ ิฐาน ในการเพิ่มมลู ค่าจาก 3) วางแผนและ - ทกั ษะการทดลอง วสั ดุเหลอื ใช้ และลด ดำเนินการแก้ปัญหา - ทกั ษะการ ปัญหาขยะภายใน 4) ทดสอบ ตคี วามหมายข้อมูล โรงเรียน ประเมินผลและ และลงขอ้ สรุป ปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน 2) บรู ณาการหลักการ 5) นำเสนอวิธีการ ทางวิทยาศาสตรเ์ ร่ือง แกป้ ญั หา แรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ 6) ผลการแกป้ ญั หา หรอื ชิ้นงาน
๑๒ บทท่ี ๔ ผลการดำเนินการ จากการดำเนนิ งานโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสง่ิ ประดิษฐ์ เรอื่ งสร้างสรรคส์ ง่ิ ประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตรเ์ ป็นเฟอร์นิเจอรล์ อยได้ดว้ ยกระบวนการสตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) ผลการดำเนนิ งาน ตามรายละเอียด ดงั น้ี ๔.๑ ผลการวางแผนในการทำโครงงาน ๑. สามารถวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาและเลอื กหวั ข้อที่จะแก้ไขได้ ๒. สามารถวางแผนการทำงานอย่างเปน็ ข้นั ตอนตามแนวคิด ทฤษฎีเกีย่ วกับการจดั การเรยี นรู้ แบบโครงงาน (Project Method) และดำเนินงานตามแผนได้ ๔.๒ ผลการทำชิ้นงาน/และการนำไปใช้งาน ๑. สามารถออกแบบ และนำเหลก็ จากโตะ๊ -เก้าอเ้ี ก่ามาประดษิ ฐ์เป็นเฟอร์นิเจอร์ โดยการบรู ณาการ ความรู้ตามแนวคิด ทฤษฎีเกีย่ วกับการจดั การเรยี นร้สู ตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) ได้ ๒. สามารถเพิ่มมูลค่าใหว้ ัสดุเหลือใชแ้ ละลดปรมิ าณขยะท่มี ีในโรงเรียน ๓. ได้ฝกึ ทกั ษะอาชีพ ซึง่ สามารถนำทกั ษะน้ีไปสร้างรายได้ในระหวา่ งเรียนได้ ๔. สามารถนำเฟอร์นิเจอร์ไปใช้งานได้จรงิ ในห้องปฏิบัตกิ ารต่าง ๆ และยงั สามารถใช้เปน็ สอ่ื การเรียน การสอนในวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ ๔.๓ ตารางท่ี 2 แสดงผลการทดสอบประสิทธภิ าพด้านความแขง็ แรงในการรบั น้ำหนักของเฟอรน์ เิ จอร์ ชนิดของ ผลการสอบคุณภาพดา้ นความแขง็ แรงในการรับน้ำหนกั ของเฟอรน์ ิเจอร์ 120 เฟอรน์ ิเจอร์ 20 กโิ ลกรมั 40 กิโลกรัม 60 กิโลกรมั 80 กโิ ลกรมั 100 กโิ ลกรมั โตะ๊ กิโลกรัม โซเ่ รมิ่ หยอ่ น ท่วี างกระถาง โตะ๊ เริ่มเอยี ง ไมเ่ ปลี่ยนแปลง ไมเ่ ปลีย่ นแปลง ไมเ่ ปล่ียนแปลง ไมเ่ ปลี่ยนแปลง ไมเ่ ปล่ยี นแปลง ตน้ ไม้ โซ่หยอ่ นมาก ไม่เปล่ียนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปล่ยี นแปลง โซเ่ รมิ่ หยอ่ น โซห่ ยอ่ นมาก ทว่ี าง เกา้ อ้ี ทวี่ างกระถาง ท่ีวางกระถาง กระถาง ต้นไมเ้ ริ่มเอียง ต้นไมเ้ อียงมาก ตน้ ไมเ้ อยี ง เกอื บลม้ ไมเ่ ปลี่ยนแปลง ไม่เปลยี่ นแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลย่ี นแปลง ไม่เปล่ยี นแปลง โซเ่ รม่ิ หยอ่ น โต๊ะเริม่ เอยี ง
๑๓ จากการทดสอบประสทิ ธภิ าพด้านความแข็งแรงของเฟอรน์ ิเจอรท์ ี่จัดทำขึน้ ในการรับน้ำหนัก พบว่า เฟอร์นเิ จอรป์ ระเภทท่ี 1 โตะ๊ ทดสอบโดยใชห้ นังสือหรือส่ิงของอื่น ๆ วางบนโต๊ะ พบว่า โตะ๊ ท่จี ัดทำข้นึ รับนำ้ หนกั ได้ถึง 100 กโิ ลกรัม โดยทโี่ ซไ่ ม่หยอ่ นและโต๊ะไม่เอยี ง แต่ถ้าวางส่งิ ของท่ีมีนำ้ หนกั มากกวา่ 100 กิโลกรัม โต๊ะเร่ิมมีการเปลีย่ นแปลง คือ โซเ่ ร่มิ หย่อน โต๊ะเร่ิมเอียง เฟอรน์ เิ จอรป์ ระเภทที่ 2 ทว่ี างกระถางต้นไม้ ทดสอบประสิทธิภาพโดยการรับนำ้ หนกั ของกระถาง ตน้ ไมข้ นาดตา่ ง ๆ พบวา่ สามารถรับน้ำหนกั ได้ถงึ 60 กโิ ลกรมั แตถ่ า้ วางกระถางตน้ ไม้ที่มีน้ำหนักมากกวา่ 60 กิโลกรัม จะทำให้ทว่ี างกระถางต้นไม้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ โซ่เร่มิ หย่อนและกระถางตน้ ไมเ้ ร่ิมเอยี ง เฟอรน์ ิเจอรป์ ระเภทที่ 3 เกา้ อี้ ทดสอบประสิทธิภาพโดยการคนที่มนี ำ้ หนักแตกต่างกันทดลองนัง่ พบวา่ เก้าอ้ีทจ่ี ดั ทำขน้ึ รบั นำ้ หนกั ได้ถึง 100 กโิ ลกรมั โดยทโี่ ซ่ไมห่ ย่อนและโต๊ะไม่เอียง แต่ถ้าคนท่ีมนี ้ำหนัก มากกวา่ 100 กิโลกรมั มาทดลองนั่ง จะทำใหเ้ ก้าอี้เกดิ การเปล่ยี นแปลง คือ โซ่เริ่มหย่อน โต๊ะเร่ิมเอียง เฟอรน์ ิเจอร์ท้ัง 3 ประเภท สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย และรปู แบบของเฟอร์นิเจอรย์ งั แปลกใหม่ สามารถสร้างความสนใจ แปลกใจ ถงึ วธิ กี ารออกแบบ กระบวนการทำใหก้ ับผู้พบเหน็ ได้ ๔.4 ตารางที่ 3 แสดงผลการเปรยี บเทยี บตน้ ทุนในการทำเฟอรน์ ิเจอร์ทท่ี ำขน้ึ เองกบั เฟอรน์ เิ จอรใ์ น ท้องตลาด ชนดิ ของเฟอร์นเิ จอร์ ต้นทุนในการทำเฟอร์นิเจอร์ ราคาเฟอร์นิเจอร์ตามทอ้ งตลาด ทที่ ำข้ึนเอง (บาท) (บาท) โต๊ะ 500 1,000 ทวี่ างกระถางตน้ ไม้ 400 1,000 200 400 เกา้ อี้ 1,100 2,400 รวมเฟอร์นิเจอร์ทงั้ 3 ชน้ิ จากตารางที่ 3 แสดงผลการเปรียบเทียบต้นทุนในการทำเฟอร์นิเจอร์ท่ีทำขึน้ เองกับเฟอร์นิเจอรใ์ น ท้องตลาด พบว่า เฟอรน์ ิเจอร์ทท่ี ำขน้ึ เองท้ัง 3 ชนดิ มีต้นทุนประมาณ 1,100 บาท ส่วนเฟอร์นเิ จอรต์ าม ท้องตลาดมรี าคาขายประมาณ 2,400 บาท ซ่งึ เฟอรน์ เิ จอร์ทเ่ี ราจัดทำข้นึ เองมีต้นทนุ ที่ถูกกว่าเฟอรน์ ิเจอรต์ าม ท้องตลาด
๑๔ บทที่ ๕ สรปุ ผลการดำเนินการ/อภิปรายผลกการดำเนนิ การ สรปุ ผลการดำเนนิ การ จากผลการดำเนนิ งานของโครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสง่ิ ประดิษฐ์ เร่ือง สร้างสรรค์ส่งิ ประดษิ ฐท์ าง วิทยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอรน์ ิเจอร์ลอยไดด้ ว้ ยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM EDUCATION) สามารถช่วย ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิด ได้นำหลักการทางวทิ ยาศาสตร์มาบรู ณาการให้สร้างผลงาน ทใ่ี ช้ความคิดริเร่ิม สรา้ งสรรค์ คดิ แกป้ ัญหา และยงั ช่วยเพม่ิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และยังเปน็ การบรู ณาการความรู้ จากหลากหลายวชิ าตามแนวคดิ สตรมี ศึกษา (STEAM EDUCATION) อีกทง้ั ยังเปน็ การเพม่ิ มลู ค่าวัสดเุ หลือใชท้ ี่ มีในโรงเรียนให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด และยังช่วยฝกึ อาชีพในการเชอ่ื มเหลก็ เพื่อสรา้ งรายได้ในอนาคต อภิปรายผลกการดำเนนิ การ จากการทดสอบประสทิ ธภิ าพเฟอร์นเิ จอร์ทจี่ ัดทำขึน้ สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภยั ชุดโต๊ะ-เก้าอี้ สามารถรบั นำ้ หนกั ไดส้ งู สุดถึง 100 กิโลกรัม ท่วี างกระถางต้นไม้สามารถรับนำ้ หนกั ได้สงู สุดถึง 60 กิโลกรัม ซึ่งเปน็ ไปตามสมมติฐานท่ีต้งั ไว้ และเมอ่ื เปรียบเทยี บรปู แบบและราคาของเฟอรน์ ิเจอร์ลอยได้กบั เฟอรน์ เิ จอรท์ ่ี มใี นท้องตลาด เฟอร์นเิ จอร์ท่ีจัดทำขึ้นมรี าคาตน้ ทุนท่ีตำ่ กว่าและยังมรี ปู แบบทน่ี ่าสนใจเหมาะแก่การนำไปใช้ งานจริง และนำไปตกแต่งบ้าน จุดเดน่ ของโครงงาน เฟอร์นเิ จอร์ลอยได้ มนี ้ำหนักเบา สามารถเคล่ือนย้ายได้สะดวก มรี ปู แบบทน่ี า่ สนใจสามารถนำไปใช้ ในการตกแตง่ บ้านหรือใช้เปน็ ส่อื ในการจดั การเรียนการสอนในกลมุ่ สาระการเรียนร้ทู างวิทยาศาสตร์ได้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรเลอื กขนาดของเหล็กใหม้ คี วามเหมาะสมและแข็งแรงในการออกแบบเฟอร์นิเจอรม์ ากยิ่งขนึ้ 2. ควรมกี ารออกแบบเฟอร์นิเจอร์ท่หี ลากหลาย ทนั สมยั เพ่ิมลวดลาย เพ่ือสรา้ งความสนใจและ เหมาะกับกิจกรรมในการใช้งานมากขนึ้ 3. ควรมีการแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ สตรมี ศกึ ษา (STEAM EDUCATION) และแนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกับการจดั การเรียนร้แู บบโครงงาน (Project Method) ไปใช้ในการวเิ คราะห์ปัญหาและแกป้ ัญหาในเรื่องอื่น ๆ ในทั้ง 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ ่อไป
๑๕ บรรณานกุ รม Dieter Rams. การออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์(ออนไลน์).2555.แหล่งที่มา :https://www.tcdc.or.th/th/home(25 พฤศจิกายน 2565) กรมวชิ าการ. (2544). เอกสารชดุ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ เี่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ: โครงงาน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2543). การปฏริ ูปการศึกษา เอกสารประกอบการสมั มนายุทธศาสตร์. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. กรธนา โพธ์เิ ต็ง. (2558: 8). การพฒั นาทักษะการสอื่ สารและความสามารถในการทำโครงงานโดยการจัดการ เรยี นรแู้ บบโครงงาน ของนกั เรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี .วิทยานิพนธ์ มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยศิลปากร นครปฐม. เจนจิรา สันติไพบลู ย.์ (2561). การจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้ เรียนตามแนวคิดSTEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิต ภาพเพื่อส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการและความสามารถในการสรา้ งสรรค์ ผลงานของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3. (วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและวธิ ี สอน).บณั ฑิต วิทยาลัยมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. ดนพุ ล บุญชอบ. (2557). การเปรียบเทยี บผลการเรยี นร้โู ครงงานระหวา่ งกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้แบบ ผสมผสานและกลุ่มปกตริ ายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นบางลี่วทิ ยา.วทิ ยานิพนธ์มหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร นครปฐม. ธานี สุคนธะชาติและคณะ. (2557) การใชป้ ระโยชน์จากเศษไม้ในอตุ สาหกรรม เฟอร์นิเจอร์เพ่ือการออกแบบ เฟอร์นเิ จอรส์ นามสำหรับบา้ นพักอาศัยขนาดกลาง. คณะสถาปตั ยกรรม ศาสตร์และ การออกแบบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. นพดล กองศลิ ป.์ (2561). การพฒั นาหลักสูตรประถมศึกษาเพ่ือการเรยี นร้สู สู่ ากลตามแนวทาง STEAM. วารสารวชิ าการอตุ สาหกรรมการศกึ ษา, 12(2), 46-57. วฒั นะ จฑู ะวภิ าต. (2551). ศิลปหัตถกรรมทองลายโบราณของชา่ งทองสุโขทยั . มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์: กรงุ เทพฯ. วรรณี สหสมโชค.(2549). การออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์. พมิ พค์ รั้งท่ี1.พิมพล์ ักษณ์, กรุงเทพฯ:สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยไี ทย-ญป่ี ุน่ .(67) วสิ ูตร โพธ์ิเงิน. (2560). STEAM ศลิ ปะเพอ่ื สะเต็มศึกษา: การพัฒนาการรบั รคู้ วามสามารถและแรงบนั ดาลใจ ใหเ้ ด็ก. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 45(1), 320-334.
๑๖ ภาคผนวก
๑๗ ภาพกิจกรรมการทำโครงงาน 1. ออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ และกำหนดขนาดของเฟอรน์ ิเจอร์ 2. เลอื กเหล็กเกา่ ตามขนาดท่ีจะนำมาใชใ้ นการทำเฟอรน์ ิเจอร์
๑๘ 3. ตดั เหล็กตามขนาดที่ออกแบบไว้ โดยใช้เคร่ืองตัดเหล็กและใชใ้ บตดั ขนาด 14 นว้ิ 4. นำเหล็กที่ตดั ไดต้ ามขนาดแลว้ มาจัดวางตำแหน่งทีต่ ้องการเพื่อข้นึ โครงตามท่ีได้ออกแบบไว้ โดยในการต่อ เหล็กเป็นมุมฉาก มีการใชเ้ หล็กฉากแมเ่ หล็กมาช่วยยดึ เพือ่ ใหไ้ ดอ้ งศาท่ีแมย่ ำก่อนเช่ือมเหล็ก
๑๙ 5. เชอ่ื มเหล็กเพ่ือข้ึนโครงตามแบบที่วางไว้ และใชใ้ บเจีย เจียบริเวณรอยเชือ่ มเพ่ือลบคมใหเ้ รยี บรอ้ ย 6. หลักจากน้นั พน่ สโี ครงเหลก็ เพื่อป้องกนั สนมิ และเพือ่ ความสวยงาม
๒๐ 7. จากนั้นตดั แผ่นไม้ตามขนาดท่ีออกแบบไว้ เพื่อใชเ้ ปน็ แผ่นโต๊ะ และเพื่อใช้เปน็ ทรี่ องนงั่ ของเกา้ อ้ี 8. ใช้สกรขู นาด 1.5 นิว้ ยึดแผน่ ไม้อัดทตี่ ดั ได้ตามขนาดเข้ากับโครงเหลก็ ของโต๊ะ-เกา้ อ้ี และเก็บรายละเอียด ใหเ้ รยี บร้อยสวยงาม
๒๑ 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอรน์ เิ จอร์ และปรับปรงุ แก้ไขจนไดช้ นิ้ งามท่เี สร็จสมบรู ณ์
๒๒ 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอร์นิเจอร์ และปรบั ปรุงแก้ไขจนไดช้ ้นิ งามท่เี สร็จสมบูรณ์ (เกา้ อ้ี ทสอบโดยการ ให้ทมี่ ีนำ้ หนกั แตกต่างกนั มานั่งเพอื่ ทดสอบ
๒๓ ชงั่ นำ้ หนกั หนังสือ และกระถางตน้ ไม้ทน่ี ำมาทดสอบประสทิ ธภิ าพด้านความแขง็ แรงในการรับน้ำหนัก
๒๔ 10. นำเสนอผลงานต่อครทู ปี่ รึกษา
๒๕ โรงเรียนบ้านแก้ง สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ รายงานฉบับน้เี ป็นสว่ นประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทส่ิงประดษิ ฐ์ ระดบั ชน้ั ม.๑ - ๓ เนื่องในงานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น ครัง้ ท่ี ๗๐ วันท่ี 28 เดือนธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๕
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: