Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ (ระดับประเทศ)

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ (ระดับประเทศ)

Published by เมตตา ชาญฉลาด, 2023-01-23 07:46:44

Description: รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ (ระดับประเทศ)

Search

Read the Text Version

1 รายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์ เรื่อง สร้างสรรค์สิง่ ประดษิ ฐ์ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นเฟอรน์ ิเจอรล์ อยได้ ด้วยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) โดย ๑. เด็กชายภตู ะวัน บุญเฮา้ ๒. นางสาววรศิ รา รวดเรว็ ๓. นางสาวพิมลพรรณ อาษาราช ครทู ี่ปรึกษา ๑. นายจิระโชติ ยะไชยศรี ๒. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด โรงเรียนบา้ นแกง้ สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ รายงานฉบบั นี้เปน็ สว่ นประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์ ระดบั ช้นั ม.๑ - ๓ เนือ่ งในงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน คร้งั ที่ ๗๐ วนั ท่ี 31 เดอื นมกราคม พ.ศ.๒๕๖6

2 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสงิ่ ประดิษฐ์ เรือ่ ง สร้างสรรค์สงิ่ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอรน์ เิ จอรล์ อยได้ ด้วยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) โดย ๑. เด็กชายภูตะวัน บญุ เฮ้า ๒. นางสาววรศิ รา รวดเร็ว ๓. นางสาวพมิ ลพรรณ อาษาราช ครูท่ปี รึกษา ๑. นายจิระโชติ ยะไชยศรี ๒. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด

3 ก ชื่อโครงงาน สรา้ งสรรคส์ ่งิ ประดิษฐ์ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ เฟอร์นเิ จอรล์ อยได้ ดว้ ยกระบวนการสตรีมศกึ ษา (STEAM Education) ชอ่ื ผจู้ ัดทำโครงงาน ๑. เดก็ ชายภตู ะวนั บญุ เฮ้า ๒. นางสาววรศิ รา รวดเรว็ ๓. นางสาวพิมลพรรณ อาษาราช ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ช่ือโรงเรียน โรงเรียนบา้ นแกง้ ชื่อครทู ีป่ รึกษา 1. นายจริ ะโชติ ยะไชยศรี 2. นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... บทคัดยอ่ คณะผ้จู ดั ทำโครงงานไดจ้ ัดทำโครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทส่งิ ประดิษฐ์ เร่ือง สรา้ งสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ทางวิทยาศาสตร์เป็นเฟอร์นิเจอร์ลอยได้ด้วยกระบวนการสตรีมศึกษา ( STEAM Education) โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อประดิษฐ์เฟอร์นิเจอร์จากวัสดุเหลือใช้ที่มีในโรงเรียน โดยบูรณาการความรู้ตามแนวคิด สตรีมศึกษา (STEAM Education) พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และให้นักเรียนเกิดความคิด สร้างสรรค์และเปน็ การเพิม่ มูลค่าจากวัสดุเหลือใชต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยคณะผู้จดั ทำได้สร้างเฟอรน์ ิเจอรจ์ ากวสั ดเุ หลือใชท้ ม่ี ีอยใู่ นโรงเรียน โครงงานที่จดั ทำข้ึนมุ่งพฒั นา ทักษะกระบวนการคิด นำหลักการทางวิทยาศาสตร์มาบูรณาการให้สร้างผลงาน ที่ใช้ความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ คิดแก้ปัญหา และยังเป็นการบูรณาการความรู้จากหลากหลายวิชาตามแนวคิดสตรีมศึกษา (STEAM Education) อกี ท้งั ยงั เป็นการเพิ่มมลู ค่าวสั ดเุ หลือใช้ท่ีมีในโรงเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด และยังช่วยฝึกอาชีพ ในการเชื่อมเหล็กเพ่อื สรา้ งรายไดใ้ นอนาคต

4 ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบบั นสี้ ำเร็จได้ด้วยความกรณุ าจาก นายสกลใจ ชว่ ยรักษา ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นแก้ง ทก่ี รณุ าให้คำปรึกษา แนะนำแนวทางการศกึ ษาคน้ ควา้ ทีถ่ ูกตอ้ ง และสนับสนุนด้านอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื สถานท่ี ในการทำกิจกรรมจนทำให้โครงงานนส้ี ำเรจ็ ได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคณุ นางสาวเมตตา ชาญฉลาด และนายจิระโชติ ยะไชยศรี ครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครูและบุคลากรโรงเรยี นบ้านแก้ง ท่ีให้คำนำแนะนำ ข้อเสนอแนะทด่ี ใี นการ ปรบั ปรุงแก้ไขงานฉบับน้ใี ห้ถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ยง่ิ ข้นึ สุดท้ายนี้ ผจู้ ัดทำขอขอบคณุ เพื่อน ๆ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ โรงเรียนบา้ นแกง้ ทุกคนที่คอยช่วยเหลอื ให้คำปรึกษา และเปน็ กำลงั ใจในการทำงาน รวมทงั้ ทุกทา่ นทีม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งมา ณ โอกาสน้ี คณะผ้จู ดั ทำ

5 ค สารบญั เรือ่ ง หนา้ บทคัดย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ข บทท่ี 1 บทนำ 1 ที่มาและความสำคัญ 1 วตั ถปุ ระสงค์ 1 สมมตฐิ านการศึกษา 2 ขอบเขตของตวั แปรท่ีศึกษา 2 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 3 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง 4 แนวคิด ทฤษฎเี กย่ี วกับการจัดการเรียนร้ตู ามแนวคิดสตรีมศึกษา 6 (STEAM Education) แนวคิด ทฤษฎเี ก่ยี วกบั การจัดการเรียนร้แู บบโครงงาน (Project Method) 8 แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกับการออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ 10 บทท่ี 3 อุปกรณ์และวธิ กี ารดำเนนิ การ 12 วิธกี ารดำเนินการ 12 ขั้นตอนการดำเนินการ 13 14 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ 15 ผลการวางแผนในการทำโครงงาน ผลการทำชนิ้ งาน/การนำไปใช้ 16 การทดสอบประสิทธภิ าพของเฟอรน์ ิเจอร์ 16 การเปรยี บเทยี บตน้ ทุนของเฟอร์นเิ จอร์ 16 ผลการประเมินกอ่ นเรยี น - หลังเรยี น 17 18 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินการ/อภปิ รายผลการดำเนินการ 19 สรุปผลการดำเนนิ การ อภิปรายผลการดำเนินการ จุดเด่นของโครงงาน ขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

6ง สารบญั ตางราง ตารางที่ หนา้ ท่ี 1 แสดงการเช่ือมโยงองค์ความรูก้ ารทำเฟอรน์ ิเจอร์กับการจัดการเรียน ร้ตู ามแนวคดิ สตรมี ศึกษา (STEAM Education) 11 2 แสดงผลการทดสอบประสิทธภิ าพดา้ นความแข็งแรงในการรับน้ำหนกั ของเฟอร์นเิ จอร์ 13 3 แสดงผลการเปรยี บเทียบต้นทุนในการทำเฟอร์นิเจอร์ทท่ี ำขน้ึ เองกบั เฟอรน์ เิ จอร์ใน ท้องตลาด 14 4 การประเมินการทักษะกระบวนการคิด การแก้ปญั หาโดยใช้ความคดิ สร้างสรรค์ ก่อนเรียน – หลังเรยี น ในการเผยแพร่ความรู้เกย่ี วกับการสรา้ งสรรคผ์ ลงานสิ่ง ประดษิ ฐท์ างวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยกระบวนการสตรมี ศกึ ษา (STEAM Education) 14

สารบัญภาพ 7 ภาพที่ 1 เฟอรน์ ิเจอรท์ ่จี ัดทำขึ้น ได้แก่ โตะ๊ ทว่ี างกระถางต้นไม้ เกา้ อ้ี จ ภาพท่ี 2 ผังงาน (Flowchart) แสดงขน้ั ตอนการดำเนินงานของโครงงาน หน้า วิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดษิ ฐ์ เร่ือง สรา้ งสรรคส์ ่ิงประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ 9 เปน็ เฟอรน์ เิ จอรล์ อยได้ด้วยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) ภาพที่ 3 ผลงานของนักเรยี น “เกา้ อีล้ อยฟ้า”และผลงานการประดษิ ฐช์ ุด 10 แฟนซรี ีไซเคลิ ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 ในกิจกรรมสปั ดาหว์ ิทยาศาสตร์ประจำปกี ารศึกษา 2565 12 ภาพที่ 4 การเผยแพร่ความร้เู กีย่ วกบั การสร้างสรรคผ์ ลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ 15 ทางวทิ ยาศาสตร์ดว้ ยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education)

๑ บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ทีม่ าและความสำคญั ของโครงงาน ปัจจุบันอุตสาหกรรมของโลกก้าวไปอย่างไม่หยุดนิ่ง แต่อีกด้านในความเจริญของอุตสาหกรรม กลบั ทำให้สภาพแวดล้อมของโลกถูกทำลายและยังส่งผลกระทบตา่ ง ๆ มากมาย จงึ ทำใหม้ นุษย์เร่ิมหันกลับมา มองพฤติกรรมในการใช้ชีวิตและการรักษาส่ิงแวดล้อมมากขึ้น อย่างในประเทศไทยเป็นประเทศท่ีกำลงั พัฒนา ด้านอุตสาหกรรม ทำให้สิ่งแวดล้อมภายในประเทศถูกทำลายเพราะอุตสาหกรรมต่าง ๆ หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาและให้ความสำคัญในการรักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้มีนโยบายเรื่องการรักษา สิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก หรือให้กล่องกระดาษแทนกล่องโฟม เพื่อเป็นการสร้างความ ตระหนักให้กับประชากรในประเทศให้เห็นความสำคัญของการรักษาสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ในโรงงานอตุ สาหกรรมมีการใช้ทรัพยากรจากธรรมชาติเปน็ จำนวน มาก มีการใช้วัสดหุ ลากหลายชนิด เพอ่ื ทดแทนเหล็กและไม้ธรรมชาติซง่ึ มรี าคาสูงในการผลิตเฟอร์นเิ จอร์ ปจั จบุ ัน สว่ นใหญ่หันมาใช้เศษเหล็กทเ่ี หลอื ใช้และไม้วิทยาศาสตรซ์ ่งึ มีราคาถูกและผลติ ไดง้ ่าย (วรรณี สหสม โชค.2549:67) สตรมี ศึกษา (STEAM Education) เปน็ แนวทางการจดั การเรียนรโู้ ดยการบูรณาการวชิ า วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) ศิลปะ (Arts) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) เขา้ ดว้ ยกัน โดยมงุ่ เน้นใหผ้ ู้เรยี นเกิดองค์ความรูแ้ ละสามารถนาองคค์ วามรูท้ ี่ได้ ไปพัฒนาจนเกิดทักษะในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิต โดยมีปัจจัยสำคัญในการ จัดการเรียนรู้ 3 ส่วน คือ การนำเสนอสถานการณ์ (Presentation Situation) การออกแบบอย่างสร้างสรรค์ (Creative Design) และการสร้างความจับใจ (Emotional Touch) ผ่านการเรียนรู้เเละสร้างสรรค์ผลงาน ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ สมรรถนะ ตลอดจนบูรณาการการเรียนรู้ สู่การดำเนิ น ชวี ิตประจำวัน เเละตอ่ ยอดองค์ความรู้ดว้ ยนวัตกรรมเพ่ือพัฒนาเเละตอบสนองต่อความต้องการทีเ่ ปลี่ยนแปลง ไปในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบ้านแก้งมีปริมาณเหล็กและไม้ จากโต๊ะ-เก้าอี้เก่าที่ชำรุดและผุพังเป็นจำนวนมาก ซึ่งเศษ วัสดุบางอย่างนั้นยังสามารถนำกลับมาใช้ได้ คณะผู้จัดทำโครงงานจึงมีแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพและบูรณาการกับวิชาโครงงานโดยใช้กระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) เพื่อนำวัสดุท่ี มีอยู่แต่เกิดการชำรุดมาเพิ่มมูลค่าให้เป็นส่วนผลิตในการสร้างตัวสินค้า และเพื่อดำเนินตามรอยเศรษฐกิจ พอเพียง ดั่งพระราชดำริของพระเจ้าอยู่หัว ร.9 อีกทั้งผลการประเมินด้านทักษะกระบวนการคิด และการ แก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 33 คน อยู่ในระดับดีมาก 7 คน ระดับดี 10 คน ระดับ พอใช้ 12 คน ระดบั ปรบั ปรงุ 4 คน ดังนนั้ คณะผูจ้ ัดทำโครงงานจงึ ใหค้ วามสำคญั ในการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การแกป้ ัญเป็น ลำดบั แรก ในการพฒั นานักเรียนใหส้ ามารถนำสง่ิ ท่ีมอี ยู่ในโรงเรียนมาสร้างสรรคโ์ ครงงานวิทยาศาสตร์ประเภท สง่ิ ประดษิ ฐ์ เรื่อง สร้างสรรค์สิ่งประดษิ ฐท์ างวิทยาศาสตร์เปน็ เฟอร์นิเจอรล์ อยไดด้ ้วยกระบวนการสตรมี ศึกษา (STEAM Education)

๒ ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ประดิษฐเ์ ฟอร์นิเจอร์จากวัสดุเหลือใชท้ ่มี ีในโรงเรยี น โดยบูรณาการความรู้ตามแนวคดิ สตรมี ศกึ ษา (STEAM Education) ๒. เพ่อื พัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๓. เพ่ือใหน้ ักเรียนเกิดความคิดสรา้ งสรรค์และเปน็ การเพ่ิมมลู ค่าจากวัสดเุ หลือใชต้ ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. เพอื่ เผยแพร่ความรู้กระบวนเรียนรูต้ ามหลกั สตรมี ศึกษา (STEAM Education) ให้กับนกั เรยี นใน ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 3 ให้ต่อยอดจนสามารถสรา้ งสรรค์ผลงานของตนไดเ้ องได้ 5. เพอ่ื พัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นความรับผดิ ชอบ มวี นิ ยั ความสามัคคี และมีจิต สาธารณะ 6. เพ่อื ฝึกอาชีพและสร้างรายได้ให้กบั นักเรียนในอนาคต ๑.๓ สมมติฐานการศึกษา กระบวนการสตรีมศึกษาสามารถนำเหลก็ เก่าจากโตะ๊ -เกา้ อ้ีมาประดิษฐเ์ ป็นเฟอร์นเิ จอร์ได้ ซ่งึ สามารถรบั น้ำหนักได้มากกว่า 50 กิโลกรัม 1.4 ตัวแปรทศี่ ึกษา ตวั แปรตน้ รูปแบบทแ่ี ตกตา่ งกันของเฟอร์นเิ จอร์แตล่ ะประเภท ตัวแปรตาม ความสามารถในการรับน้ำหนกั ของวัสดุ ตัวแปรควบคุม ขนาดของเหล็ก ความหนาของไม้อดั ขนาดของโซ่ น้ำหนกั ทใี่ ช้ในการทดสอบ ความเหนียวในการรับน้ำหนัก ๑.5 ขอบเขตของโครงงาน ๑. การจัดการเรยี นร้แู บบโครงงาน (Project Method) ๒. การจดั การเรยี นรู้แบบตามแนวคดิ สตรีมศึกษา (STEAM Education) ๓. ศึกษาหาข้อมูลเกีย่ วกับเรอ่ื ง แรง 4. ศกึ ษาหาข้อมลู เก่ยี วกบั เรอ่ื ง สมับตั ิของวสั ดุ 5. ศกึ ษาหาข้อมลู เก่ยี วกับการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ๑.6 ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั ๑. ทำให้เกิดทกั ษะกระบวนการ STEAM Education และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นได้พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ การแกป้ ัญหา และไดผ้ ลงานทเี่ กดิ จากความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ 3. นักเรยี นระดับมัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 3 มผี ลการประเมนิ ทักษะกระบวนการคดิ การแก้ปญั หามี คะแนนเฉล่ยี หลงั เรียน – สูงกวา่ กอ่ นเรยี น 4. สามารถเพมิ่ มลู ค่าให้วสั ดเุ หลือใช้และลดปริมาณขยะทม่ี ีในโรงเรียน 5. ทำใหเ้ กิดความสามัคคีในกลมุ่ และเป็นการใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์

๓ บทท่ี ๒ เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จาการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทสง่ิ ประดิษฐ์ เร่ืองเฟอรน์ ิเจอร์ลอยได้ คณะผู้จดั ทำได้ศกึ ษา หาขอ้ มูลเพ่ือสรา้ งความพรอ้ มในการทำงาน เพ่ือใหโ้ ครงงานออกมาดีและออกมาสมบูรณ์ที่สุด จึงไดศ้ ึกษา เอกสารต่าง ๆ โดยนนำเสนอเนื้อหาแยกตามลำดบั ดังรายละเอยี ดน้ี 1. แนวคิด ทฤษฎเี ก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสตรมี ศกึ ษา (STEAM Education) 2. แนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกบั การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Method) 3. แนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกับการออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ ๒.๑ แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ สตรมี ศกึ ษา (STEAM Education) ๒.๑.๑ ความหมายของ STEAM Education เจนจิรา สนั ตไิ พบูลย์ (2561) กลา่ วว่า แนวคิด STEAM เปน็ การบรู ณา การสาระความรู้ใน วิชาวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรม ศิลปะ และภาษา ซง่ึ การ สอน STEAM เป็นการบรู ณา ความรูท้ ี่เชือ่ มโยงกัน ทำให้เกิดความคดิ สร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหา โดยเร่มิ จากใช้ความจำเดิมร่วมกับความเขาใ้ จ ในการเรยี นใหม่ สร้างองค์ความร้แู ล้วนำความร้ทู ่ีได้ไปใช้ กัการวิเคราะห์ ในการแกไขปญั หา ทำใหเ้ กดิ การ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ เปน็ การสอนที่ให้นักเรยี นไดล้ ง มือปฏิบัติ สบื คน้ คดิ แก้ปัญหา สร้างองคค์ วามรู้ใหม่ โดยใช้ ความรเู้ ดมิ ที่มอี ยู่เช่ือมโยง 5 สาขาวิชาคอื วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิตศาสตร์ เพื่อใชแ้ กป้ ัญหาทเ่ี กิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวนั หรือเป็นการสร้างนวตักรรมใหม่ผ่านช้ินงาน สภุ ัค โอฬาพิริยกุล (2562)กลา่ วว่า STEAM Education เป็นแนวทางการจดั การเรยี นรู้โดย การบรู ณาการวิชาวทิ ยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี(Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) ศิลปะ (Arts) และคณติ ศาสตร์ (Mathematics) เข้าด้วยกนั โดยมุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ องค์ความรแู้ ละสามารถนำองค์ ความรทู้ ีไ่ ด้ไปพัฒนาจนเกดิ ทักษะในการแกป้ ญั หาและสรา้ ง สรรคส์ ิ่งใหมๆ่ ในการดำเนินชีวติ ๒.๑.๒ องค์ประกอบของการจดั การเรยี นรตู้ ามแนวคดิ STEAM Education วสิ ตู ร โพธิ์ เงิน (2560)ไดก้ ล่าวว่า องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ STEAM ดังนี้ Science คือ ประวัติศาสตร์ ธรรมชาตสิ าระ แนวคดิ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ : ชวี วทิ ยา ชวี เคมี เคมี ธรณวี ทิ ยา ฟิสิกส์และอวกาศ เทคโนโลยชี ีวภาพ และชีวการแพทย์ Technology คือ ธรรมชาติของเทคโนโลยี เทคโนโลยกี บั สังคม การออกแบบ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีในโลก รวมถึงเทคโนโลยี : การเกษตร การก่อสร้าง การส่ือสาร ขอ้ มลู การผลิต การแพทย์ ไฟฟ้าและพลังงาน การผลิตและการขนส่ง Engineering คือ การใช้เหตผุ ลหลักการ และการสร้างสรรค์ บนพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ โดยใชเ้ ทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ : การบนิ และอวกาศ การเกษตร สถาปัตยกรรม เคมีโยธา คอมพวิ เตอร์ ไฟฟ้า สง่ิ แวดล้อม ของเหลว อตุ สาหกรรมและระบบเคร่ืองจักรกล สินแร่ นวิ เคลยี รก์ องทัพเรือ และมหาสมุทร Arts คือ การสอื่ สารการสร้างความเข้าใจ แนวคิด ทัศนคติ และขนบธรรมเนียมประเพณี ท่ี ส่งต่อจากอดีตสู่ปัจจบุ นั และอนาคต : ทัศนศิลป์ ดนตรี การเคล่ือนไหวรา่ งกาย/นาฏศลิ ป์ การ แสดง ภาษา วรรณกรรม รวมทงั้ การศึกษา ประวัติศาสตร์ ปรัชญา การเมือง จิตวิทยา สังคมวทิ ยา เทววทิ ยา ฯลฯ

๔ Mathematic คอื ตัวเลข และการปฏบิ ัติ (คำนวณ): พีชคณติ แคลคูลสั เรขาคณิต ตรโี กณมิติ การสอ่ื สารและการวเิ คราะห์ ข้อมูลและความน่าจะเป็น และการดำเนนิ การแก้ปัญหาการมีเห ตุ ผล และ หลกั ฐานทฤษฎี เจนจริ า สนั ตไิ พบลู ย์ (2561) กลา่ วว่าองคป์ ระกอบของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM ดงั น้ี S หมายถงึ Science หรือวิทยาศาสตร์ เป็นสงิ่ มีชวี ิตและไม่มชี ีวติ คน พืช สัตวส์ งิ่ ของ การศกึ ษาธรรมชาติของโลก เปน็ การเรียนรแู้ บบสบื ค้น ทดลอง พิสูจน์ เป็นการเรยี นรเู้ พื่อหาความจริง และ นำไปใช้ T หมายถงึ Technology หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำสิง่ ท่ีอยู่รอบตัวมาใช้ประโยชน์ เช่น ความรู้ ความคิด เทคนิคกระบวนการ เพ่อื สร้างสรรค์ พฒั นาหรือแก้ไขปญั หาในการท างานและ ในชีวิต ประจ าวัน E หมายถึง Engineering หรอื วิศวกรรมศาสตร์ การออกแบบ แกป้ ัญหา และสรา้ งสรรค์ สิ่ง ใหม่ๆ ดว้ ยหลักการทางคณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เพื่อแกไ้ ขปญั หาและอำนวยความสะดวก ใหก้ ับมนษุ ย์ A หมายถึง Arts หรอื ศิลปะศาสตร์ การใชศ้ ลิ ปะด้านต่าง ๆ ทัศนศิลป์ ดนตรี การแสดง การ เตน้ และการใช้ภาษา เพื่อช่วยใหเ้ กดิ ความคิดสร้างสรรคใ์ นการพฒั นาหรือแก้ไขปัญหา ในการ ท างานและใน ชีวิตประจ าวนั M หมายถึง Mathematic หรอื คณติ ศาสตร์ การใชส้ ตู รวธิ ี การในการคำนวณ ปริมาณ จำนวนรูปรา่ ง จำนวนตัวเลข พ้นื ผิว เรขาคณติ โครงสร้าง เพือ่ แก้ปญั หาและหาผลลพั ธ์ ๒.๒ แนวคิด ทฤษฎเี ก่ยี วกับการจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงาน (Project Method) ๒.๒.๑ ความหมายของการจดั การเรียนร้แู บบโครงงาน การจดั การเรยี นสอนโดยยดึ ผูเ้ รยี นเป็นศนู ย์กลาง เรยี กชื่อแตกตา่ งกนั ไปในหลายลักษณะ เช่น การจดั การเรยี นการสอนโดยเน้นผเู้ รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง วธิ ีสอนแบบผเู้ รียนเป็นแกนการสอนทใี่ ห้ผเู้ รียน เป็นผู้ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม กระทรวงศึกษาธกิ าร (2543: 28-31) กลา่ ววา่ การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียน เปน็ ศนู ย์กลาง คือการจัดการเรยี นการสอนทีใ่ ห้ความสำคัญต่อบทบาทในการเรียนรู้ของผ้เู รียน โดยผเู้ รียนจะมี ส่วนร่วมในกจิ กรรม การเรียนการสอน ไดล้ งมือปฏบิ ัติจนเกิดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ตามหลกั การวิธีการสอน แบบโครงงานเพ่ือให้ผเู้ รยี นได้รูจ้ กั คดิ วเิ คราะห์ รจู้ ักแก้ปัญหาและสามารถวางแผนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบ โดย มีครเู ป็นผคู้ อยแนะนำได้มนี ักการศึกษาและนักวชิ าการหลายทา่ นให้ความหมายของโครงงานไว้ ดังน้ี กรมวิชาการ, กระทรวงศกึ ษาธิการ (2544: 238) ไดใ้ ห้ความหมายของโครงงานว่า หมายถงึ กจิ กรรมทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้ศึกษาค้นควา้ และลงมือปฏิบัตดิ ้วยตนเองตามความสามารถความถนัดและ ความสนใจ โดยอาศยั กระบวนการทางวิทยาศาสตรห์ รอื กระบวนการอ่นื ใดไปใชใ้ นการศึกษาหาคำตอบในเรอ่ื ง น้นั ๆ โดยมคี รูคอยกระตุ้น แนะนำให้คำปรึกษาแกผ่ ูเ้ รียน อย่างใกลช้ ิดตัง้ แต่การเลือกหวั ขอ้ ทจ่ี ะศึกษาค้นคว้า ดำเนนิ การวางแผน กำหนดข้ันตอนการดำเนนิ งานและการนำเสนอผลงาน สุวิทย์ มูลคำ (2545: 84) ไดก้ ล่าวถึงการเรียนรู้ในรูปของโครงงานวา่ เปน็ กระบวนการ เรียนรู้ทเี่ ปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้ศึกษาค้นควา้ และลงมือปฏิบัติกจิ กรรมตามความสนใจความถนัดและ ความสามารถของตนซ่ึงอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หรือกระบวนการอน่ื ๆ ท่เี ปน็ ระบบไปใช้ใน การศึกษาคำตอบในเรอ่ื งนน้ั ๆ ภายใต้คำแนะนำ ปรึกษาและความช่วยเหลอื จากผสู้ อนหรอื ผเู้ ชีย่ วชาญเร่ิม ตง้ั แต่การเลือกหัวเรอ่ื งหรือหัวข้อที่จะศกึ ษา การวางแผน การดำเนินงานตามขั้นตอนท่ีกำหนดตลอดจนการ

๕ นำเสนอผลงาน ซ่ึงในการจดั ทำโครงงานนัน้ อาจเปน็ รายบุคคลหรอื เปน็ กลุ่มจะกระทำในเวลาเรียนหรือนอก เวลาเรียนก็ได้ สุพรรณ เสนภักดี (2553: 20) กลา่ วว่าโครงงานหมายถงึ กระบวนการเรียนรู้ในเรื่องใดเร่ือง หนึ่งอยา่ งลึกซ้ึงในหวั ข้อการเรียนร้ตู ามความสนใจของผ้เู รียนเป็นรายบคุ คล หรอื รายกลุ่มลกั ษณะสำคัญของ โครงงานคอื การเน้นท่ีการหาคำตอบใหแ้ ก่คำถาม และการลงมือปฏบิ ตั กิ ิจกรรมด้วยตนเองของผู้เรียนผ่าน กระบวนการต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ จากการศึกษาความหมายของการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ทเี่ ปดิ โอกาส ใหน้ ักเรยี นได้ศกึ ษาค้นคว้าและลงมือปฏบิ ัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความสามารถของตนเอง ส่งิ ทีไ่ ด้เรียนรแู้ ล้วมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยอาศัยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์หรือกระบวนการอ่ืน ทเ่ี ป็นระบบมาใชใ้ นการหาคำตอบของเร่ืองทสี่ นใจศกึ ษา ครูจะมีบทบาทในการเปน็ ผู้ช่วยเหลอื อำนวย ความสะดวกและเป็นทปี่ รึกษาในการทำงานเท่านนั้ นักเรยี นจะเป็นผมู้ บี ทบาทในการทำงานตงั้ แต่เลือกเรื่อง ทตี่ นสนใจ ศึกษาวางแผน ดำเนินงานตามขั้นตอนและประเมินผลด้วยตนเอง ๒.๒.๒ ขัน้ ตอนการจัดการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน ดนุพล บุญชอบ (2557 : 79-119 ) การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้โครงงานระหว่างกลุ่ม ร่วมมือกันเรียนรู้แบบผสมผสานและกลุ่มปกติรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ได้เสนอขั้นตอนการเรียนรู้แบบ โครงงาน 6 ข้ันตอน คือ 1. ขน้ั ตอนการกระตุน้ 2. ขนั้ ตอนการกำหนดปัญหา 3. ข้ันตอนการวางแผน 4. ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ 5. ขน้ั ตอนการนำเสนอผลการดำเนินการ 6. ขน้ั ประเมินผลการดำเนินการ กรธนา โพธิ์เต็ง (2558: 8) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการสื่อสารและความสามารถในการ ทำโครงงานโดยการจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน ได้เสนอขัน้ ตอนการสอนแบบโครงงานไว้ 6 ขัน้ ตอน คอื 1. ขั้นเตรียมความพร้อมในการทำโครงงาน คือ ขั้นตอนแรกที่นักเรียนจะต้องใช้ ทกั ษะในการฟงั ดู และอ่านศกึ ษาขอ้ มลู และเอกสารท่เี ก่ียวข้องกบั หวั ข้อโครงงานท่ีตนกำหนด 2. ขั้นเริ่มต้นสืบค้นในการทำโครงงาน คือ นักเรียนจะต้องใช้ทักษะในการเขียน เขยี นโครงร่างโครงงานซ่ึงถือ เปน็ การวางแผนในการทาโครงงานโดยคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆกอ่ นการทำโครงงาน เพอ่ื ใหค้ รูอนมุ ัตหิ วั ข้อโครงงาน 3. ขนั้ สบื ค้นรายละเอยี ดเพม่ิ เติม คือ การใช้ทักษะในการฟงั ดู และอ่านศึกษาข้อมูล และเอกสารท่ีเกีย่ วข้องอีกครง้ั แต่ในครง้ั น้เี ปน็ การสบื คน้ ข้อมลู เฉพาะด้านที่ต้องการ 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล คือ ขั้นตอนนี้จะใช้ทักษะการฟังและพูดเพื่อรับ และแสดงข้อมลู ทสี่ มาชิกในกลมุ่ ค้นพบก่อนที่จะสรปุ ผล 5. ข้นั การนำเสนอผลงาน คอื การใช้ทักษะในการพูดนำเสนอ 6. ขั้นร่วมสร้างผลผลิต คือ การใช้ทักษะในการเขียนเพื่อเขียนรา ยงาน จากการที่ได้มีการศึกษาขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานสรุปได้ว่ามี 6 ขั้นตอน คือ 1) การสำรวจค้นหาปัญหา 2) การวางแผน 3) การรวบรวมขอ้ มูล 4) การลงมอื ปฏิบัติ 5) การวิเคราะห์ข้อมูล และสรปุ ผล และ 6) การนำเสนอผลงาน

๖ ๒.๓ แนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกับการออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์ การออกแบบเครื่องเรือนหรือการออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ (วัฒนะ จูฑะวภิ าต .2551:19-22) เครื่องเรือนคือส่ิงท่ีมนุษย์คดิ ขึ้นสรา้ งขึน้ เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับกจิ กรรมต่างๆภายในบ้าน ท่ีทำงาน หรือสาธารณะไวส้ ำหรบั การนั่ง การนอน การรบั ประทานอาหาร การทำงาน ฯลฯ เครื่องเรอื นอาจถูกออกแบบ สำหรับการใชง้ านคนเดียวหรือเปน็ กลมุ่ คน ทำด้วยวสั ดหุ ลากหลายชนิด เคร่ืองเรือนจงึ ถูกจัดวา่ เปน็ สว่ นการ เชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งผูอ้ ยู่อาศยั กับตัวบา้ นหรืองานสถาปัตยกรรม การเลอื กวสั ดใุ ห้เหมาะสมกบั ในงานออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ วสั ดุเพอ่ื ใชใ้ นการออกแบบและผลติ เฟอรน์ เิ จอรใ์ นปัจจุบันมีมากมายหลากหลาย ชนดิ ซงึ่ เกิดจากความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ไมว่ ่าจะเป็นวสั ดพุ ื้นบานเช่นไม้ โลหะหรอื วัสดสุ งั เคราะห์ ดังน้ันการ ออกแบบเฟอร์นิเจอรจ์ ึงควรค านึงและเขา้ ใจในคุณสมบัติของวัสดแุ ต่ละชนิด นั้น ๆ ด้วยซึ่งวสั ดุทใ่ี ช้ทำ เฟอรน์ ิเจอร์โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็น2กลุ่มคือ 1. กลมุ่ โลหะ ซงึ่ สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดคอื - โลหะเหลก็ เป็นโลหะท่ีมีเหล็กเปน็ ส่วนประกอบหลักหรืออาจมีธาตุอนื่ เปน็ องคป์ ระกอบอยู่บ้างเช่น เหลก็ กล้า เหล็กหลอ่ หรือเหลก็ เหนยี วเป็นต้น - โลหะประเภทอื่นท่ีไม่ใชเ่ หล็ก คอื โลหะประเภทตา่ ง ๆ ที่ไม่ใชเ่ หลก็ เปน็ องค์ประกอบหลัก เชน่ ทองคำ เงิน ตะก่ัว สังกะสี ทองเหลือง ทองแดง อลมู เิ นยี ม โลหะผสม และ อืน่ ๆ ซ่ึง สามารถแบง่ ออกเป็น2ประเภทคือ โลหะหนัก คือโลหะที่มมี วลความหนาแนน่ สงู เชน่ ทอง ทองแดง ทองคำขาว เงิน ตะกวั่ สงั กะสี แมงกานีส เปน็ ต้น โลหะเบา คือโลหะท่ีมมี วลความหนาแน่นต่ำ เช่น อลมู ิเนียม แมกนีเซยี ม ลิเทยี ม เปน็ ต้น 2. กลุ่มอโลหะหรือกลุ่มวสั ดุท่ีไม่ใช่โลหะซึ่งกลุม่ อโลหะสามารถแบ่งย่อยออกได้อกี 2 ชนิด ได้แก่ วสั ดุธรรมชาติ เชน่ ไม้ เส้นใยธรรมชาติ หนงั สัตว์ และอน่ื ๆ โดยงานไมธ้ รรมชาติ และไม้ที่ผลิตจากเสน้ ใยธรรมชาติถือว่าเปน็ วัสดุหลักในการสร้างงานเฟอรน์ ิเจอร์และไดร้ ับความ นยิ มเป็นอยา่ งมากด้วยคุณสมบตั ทิ ี่ เหมาะสมหลายอยา่ งเชน่ ความแขง็ แรงทนทาน สวยงาม หา ง่าย ราคาเหมาะสมไม้จึงสามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ คอื ไมธ้ รรมชาติ เป็นวสั ดุแขง็ ที่ทำมาจากแกนลำตน้ ของตน้ ไม้ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ ไมย้ ืนต้น โดย แบง่ เป็นไม้เนื้อแขง็ เชน่ ไม้แดง ไมเ้ ต็ง ไมป้ ระดู่ ไมช้ งิ ชัน และไม้เน้ือออ่ นเช่น ไมส้ กั ไมย้ างพารา โดยทว่ั ไปแล้ว จะหมายถึง Xylem ช้ันทสี่ องของต้นไม้ ไมอ้ าจหมายถึงวสั ดุใด ๆ ท่ีมสี ว่ นประกอบท า ดว้ ยไมไ้ มอ้ ัดก็ถือเปน็ การใช้ประโยชนจ์ ากไม้ได้อยา่ งคุ้มคา่ โดยการน าความรู้ทางเทคโนโลยีของไม้ มาประยกุ ต์จากการแปรรปู หรือ เศษเหลือจากอุตสาหกรรมโรงเลื่อย กลับมาประกอบเป็นไมใ้ หม่ (Wood Reconstituted Board) ตัวอยา่ งเช่น ไม้อัดหรือไม้อัดสลับช้ัน (Plywood) หมายถงึ ผลิตภัณฑ์ท่ีไดจ้ ากการประกอบสมดลุ โดยการ นำไม้บาง ๆ หลาย ๆ แผน่ มาประกอบยดึ ตดิ กนั ด้วยกาวลกั ษณะทสี่ ำคญั คือการนำเอาไม้บาง แตล่ ะแผน่ ที่มี แนวเสี้ยนขวางตั้งฉากกนั มาเพ่มิ คุณสมบัติความแข็งและลดการหดและการขยายตวั ของไม้ในระนาบของแผน่ ไมใ้ ห้น้อยทส่ี ุด Dieter Rams (ออนไลน์ TCDC :Thailand Creative & Design Center) เป็นเวลากวา่ 40 ปที ่ี Dieter Rams ไดพ้ ดู ถงึ ความสำคญั ของการน าศาสตร์ของผู้ใช้ (User-centered Design) มาเป็นหลักใน การออกแบบพร้ อมกับให้ หลัก10ประการของงาน ออกแบบทด่ี ี ไว้เปน็ เครื่องเตือนใจของนกั ออกแบบรนุ่ หลงั

๗ แมเ้ วลาทผี่ า่ มานานแลว้ คำพดู ที่เขา กลา่ วกบั กลายมาเปน็ ความร่วมสมัยใหก้ บั งานออกแบบของนักออกแบบ ร่นุ ใหม่ โดยบทสนุ ทรพจน์ ท่เี ขากลา่ วคือ 1. งานออกแบบที่ดีคอื นวัตกรรม 2. งานออกแบบทด่ี ีคอื ผลิตภัณฑท์ ่ีมีประโยชน์ 3. งานออกแบบที่ดีคอื ความสวยงาม 4. งานออกแบบท่ดี ีสามารถท าใหผ้ ลิตภัณฑ์นั้นเป็นที่เข้าใจไดง้ ่าย 5. งานออกแบบทด่ี ีย่อมไม่ทำใหเ้ กดิ ความรำคาญกบั ผใู้ ช้งาน 6. งานออกแบบทด่ี ีคือความซอ่ื สตั ย์สจุ ริต 7. งานออกแบบท่ีดตี ้องมีอายุงานทยี่ นื ยาว 8. งานออกแบบท่ีดีต้องใส่ใจในรายละเอียดในทุก ๆ แงม่ ุมของการออแบบ 9. งานออกแบบที่ดีจะตอ้ งเป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม 10.งานออกแบบทดี่ ีจะต้องออกแบบใหน้ ้อยทสี่ ุดเทา่ ท่จี ะทำได้

๘ บทท่ี ๓ อปุ กรณ์และวธิ ีการดำเนินการ ๓.๑ อปุ กรณ์ และงบประมาณ 180 บาท 1. ใบตดั เหลก็ 110 บาท 2. ลวดเชือ่ ม ½ กลอ่ ง 170 บาท 3. ไม้อัด ½ แผ่น 420 บาท 4. โซ่ 6 เมตร 110 บาท 5. สีสสี เปรย์ 2 กระป๋อง 140 บาท 6. ตะขอเหลก็ 12 อัน 30 บาท 7. ใบเจยี เหลก็ 8. เครอ่ื งเชื่อม 9. เครื่องตดั เหลก็ 10. หน้ากากกนั แสง ๓.๒ วิธีการดำเนนิ การ ในการดำเนนิ งาน ไดน้ ำหลักการจดั การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Method) มาเป็นแนวทาง โดยเริ่มตั้งแตก่ ารวเิ คราะห์สภาพปัญหาและเลอื กหวั ข้อในการทำโครงงาน ซ่งึ ทางคณะผู้จดั ทำมีแรงบนั ดาลใจ จากโรงเรียนบ้านแกง้ มีโตะ๊ เก้าอ้ีเกา่ จำนวนมาก และในปีการศึกษา 2565 นักเรียนโรงเรยี นบา้ นแก้ง ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 จำนวน 33 คน ขาดทกั ษะกระบวนการคดิ การแก้ปญั หาโดยใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ จงึ ไดเ้ ลอื กข้อในการทำโครงงาน และได้ดำเนินการตามข้ันตอน ดงั นี้ ขน้ั ท่ี 1 ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมวางแผนการดำเนินการ เขียนโครงการเสนอครูท่ีปรึกษา 2. ครทู ปี่ รกึ ษากลน่ั กรองพจิ ารณาเสนอโครงการให้ผูอ้ ำนวยการอนมุ ัติ 3. จัดสรรงบประมาณ เตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ และจดั เตรียมสถานที่ในการลงมือปฏบิ ัติงาน ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินการ 1. จัดทำปฏิทินปฏบิ ตั งิ าน 2. ปฏิบตั งิ านโดยเรมิ่ งานจากการศกึ ษาหาข้อมลู 3. ออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ และกำหนดขนาดของเฟอร์นเิ จอร์ โดยเร่มิ จากเขียนแบบร่างของ เฟอรน์ ิเจอร์แตล่ ะประเภทใสก่ ระดาษ และใช้โปรแกรมอินสตราแกรมในการออกแบบรูปร่างเฟอร์นิเจอร์แต่ละ ชนิดให้มีความชัดเจนมากยงิ่ ขึ้น 4. เลอื กเหลก็ เกา่ ทจี่ ะนำมาใช้ในการทำเฟอร์นเิ จอร์ 5. ตดั เหล็ก เชอ่ื มเหลก็ ขน้ึ โครงตามที่ได้ออกแบบไว้ 6. ประกอบเป็นเฟอร์นเิ จอร์ พน่ สี และเกบ็ รายละเอยี ดให้เรียบร้อยสวยงาม 7. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอร์นเิ จอร์ และปรบั ปรงุ แก้ไขจนไดช้ ้นิ งามท่ีเสร็จสมบรู ณ์ 8. นำเสนอผลงานต่อครูที่ปรึกษา

๙ ข้ันท่ี 3 ขัน้ ประเมนิ ผล 1. สรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 2. ส่งรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 3. เผยแพรผ่ ลงานให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ได้เรียนรเู้ กยี่ วกับการ สร้างสรรค์ผลงานส่ิงประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการสตรมี ศึกษา (STEAM Education) 4. จัดกจิ กรรมให้นกั เรียนได้แสดงออกด้านความคิดในการประดิษฐ์ส่ิงของจากวัสดเุ หลอื ใช้ ในกรรมสัปดาหว์ นั วทิ ยาศาสตร์ ข้นั ตอนการทำเฟอร์นิเจอร์ 1. ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ และกำหนดขนาดของเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งมรี ายละเอยี ดดังนี้ - ขนาดโต๊ะ กวา้ ง 0.5 เมตร ยาว 1.10 เมตร สงู 0.78 เมตร ใช้เหลก็ ขนาด 1*1น้วิ และ 1*1.5 นว้ิ - ขนาดเกา้ อ้ี กว้าง 0.19 เมตร ยาว 0.27 เมตร สงู 0.51 เมตร ใชเ้ หลก็ ขนาด 1*1น้วิ - ขนาดท่วี างกระถางต้นไม้ กวา้ ง 0.20 เมตร ยาว 0.24 เมตร สูง 0.75 เมตร ใช้เหล็กขนาด 1*1น้ิว 2. เลือกเหล็กเกา่ ตามขนาดท่ีจะนำมาใช้ในการทำเฟอรน์ เิ จอร์ 3. ตัดเหล็กตามขนาดทอ่ี อกแบบไว้ โดยใชเ้ ครอื่ งตดั เหลก็ และใช้ใบตัดขนาด 14 นิว้ 4. นำเหล็กท่ตี ดั ได้ตามขนาดแลว้ มาจัดวางตำแหน่งที่ต้องการเพ่ือข้นึ โครงตามท่ีได้ออกแบบไว้ โดย ในการต่อเหลก็ เป็นมุมฉาก มีการใช้เหล็กฉากแม่เหล็กมาช่วยยึด เพอื่ ให้ได้องศาท่ีแมย่ ำก่อนเช่ือมเหล็ก 5. เชือ่ มเหล็กเพ่อื ขึ้นโครงตามแบบที่วางไว้ และใชใ้ บเจยี เจียบริเวณรอยเช่ือมเพ่อื ลบคมให้เรียบร้อย 6. หลกั จากนั้นพน่ สโี ครงเหลก็ เพ่ือปอ้ งกันสนมิ และเพื่อความสวยงาม 7. จากนั้นตัดแผ่นไม้ตามขนาดท่ีออกแบบไว้ เพือ่ ใช้เป็นแผ่นโต๊ะ และเพือ่ ใชเ้ ปน็ ท่ีรองนง่ั ของเกา้ อี้ 8. ใชส้ กรขู นาด 1.5 นว้ิ ยดึ แผน่ ไม้อัดทต่ี ัดได้ตามขนาดเข้ากับโครงเหล็กของโต๊ะ-เก้าอี้ และเกบ็ รายละเอยี ดให้เรยี บรอ้ ยสวยงาม 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอร์นิเจอร์ และปรบั ปรุงแกไ้ ขจนได้ชิ้นงามทีเ่ สร็จสมบูรณ์ 10. นำเสนอผลงานต่อครทู ีป่ รึกษา ภาพที่ 1 เฟอรน์ ิเจอรท์ จ่ี ัดทำขึน้ ไดแ้ ก่ โต๊ะ ท่วี างกระถางต้นไม้ เก้าอี้

๑๐ ๑๐ ภาพท่ี 2 ผังงาน (Flowchart) แสดงขัน้ ตอนการดำเนนิ งานของโครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทส่ิงประดิษฐ์ เร่อื ง สร้างสรรค์ส่งิ ประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตรเ์ ป็นเฟอร์นิเจอรล์ อยได้ด้วยกระบวนการสตรมี ศกึ ษา (STEAM Education) ศึกษาแนวคดิ ทฤษฎี ดังน้ี 1. แนวคดิ ทฤษฎเี กีย่ วกบั การจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิดสตรมี ศึกษา (STEAM Education) 2. แนวคดิ ทฤษฎีเกยี่ วกับการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน 3. แนวคดิ และทฤษฎีเก่ยี วกับการออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ ขนั้ ที่ 1 ขน้ั เตรยี มการ ประชมุ วางแผนการดำเนินการ เขียนโครงการเสนอครูท่ีปรึกษา เตรยี มวัสดุอุปกรณ์ และจัดเตรยี มสถานทใี่ นการลงมือปฏิบัตงิ าน ไม่ผา่ น ข้ันที่ ๒ ขนั้ ดำเนนิ การ ดำเนินการออกแบบเฟอรน์ ิเจอรต์ ามแผนทวี่ างไว้ ใน 3 ประเภท ไดแ้ ก่ โต๊ะ ทว่ี างกระถางต้นไม้ เกา้ อี้ /เขียนแบบรา่ ง/ใช้โปรแกรมโปรแกรมสเก๊ตซ์ ดนิ สอ และมีการนำการจัดการเรยี นรู้แบบสตรีมศกึ ษามาใช้ขบั เคลอ่ื น กระบวนการดำเนนิ งาน ขัน้ ที่ ๓ ขั้นสรุปผล ประเมินผล - การทดสอบประสทิ ธภิ าพด้านความแขง็ แรงในการรับน้ำหนกั ของ เฟอรน์ ิเจอรท์ ่จี ดั ทำข้นึ - การเขียนรายงานผลรปู แบบโครงงานวทิ ยาศาสตร์/เผยแพร่ผลงาน และจดั กิจกรรมใหน้ ักเรยี นได้แสดงผลงานของตนเอง ผา่ น/ไม่ผ่าน ผ่าน 1) พฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2) พัฒนาการกระบวนการเรียนรสู้ ตรมี ศึกษา 3) โครงงานสง่ิ ประดิษฐท์ างวทิ ยาศาสตร์

๑๑ ตารางท่ี 1 แสดงการเชือ่ มโยงองคค์ วามร้กู ารทำเฟอร์นิเจอร์กับการจดั การเรียนรูต้ ามแนวคิดสตรีมศกึ ษา (STEAM Education) วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ วศิ วกรรมศาสตร์ ศลิ ปะศาสตร์ คณติ ศาสตร์ (A) Arts (M) Mathematic (S) Science (T) Technology (E) Engineering 1) ใช้ทัศนศลิ ป์ 1) การคำนวณ 1) ใชท้ กั ษะกระบวนการ 1) การเลอื กใช้วัสดุท่ี กระบวนการสร้าง และความคดิ พนื้ ที่ รปู รา่ งตา่ ง ๆ สรา้ งสรรค์ใน 2) การวัด ทางวทิ ยาศาสตร์ ดังนี้ เหมาะสมกับการนำมา ชิ้นงาน ประกอบ การทำโต๊ะ 3) การคดิ คำนวน เกา้ อ้ี และท่ีวาง ตน้ ทุน - ทักษะการสังเกต ทำเฟอรน์ เิ จอรแ์ ละ ดว้ ย 6 ขน้ั ตอน คือ กระถางต้นไม้ ให้มีสสี นั ที่ - ทักษะการลง สามารถนำมาใชไ้ ดจ้ ริง 1) ระบุปญั หา สวยงาม และใช้ เปน็ ส่อื การ ความเห็นจากข้อมลู 2) นำวัสดทุ ี่เหลอื ใช้ รวบรวมข้อมลู และ เรียนการสอน สตรีมศึกษา - ทกั ษะการวัด กลับมาใช้อีก เปน็ การใช้ แนวคดิ ที่เกยี่ วข้องกับ - ทกั ษะการใช้ตัวเลข ทรพั ยากรใหเ้ กิด ปญั หา - ทกั ษะการพยากรณ์ ประโยชนส์ งู สุด 2) ออกแบบวธิ กี าร - ทักษะการ 3) ความคิดสร้างสรรค์ใน แก้ปญั หา ตัง้ สมมตุ ิฐาน การเพ่ิมมูลค่าจากวัสดุ 3) วางแผนและ - ทักษะการทดลอง เหลือใช้ และลดปัญหา ดำเนินการแกป้ ัญหา - ทกั ษะการ ขยะภายในโรงเรยี น 4) ทดสอบ ตคี วามหมายขอ้ มลู 4) นำเทคโนโลยีมาใช้ ประเมินผลและ และลงข้อสรุป ค้นคว้าข้อมลู เพ่ือ ปรับปรุงแก้ไขชิน้ งาน 2) บูรณาการหลกั การ ประกอบการทำโครงงาน 5) นำเสนอวิธีการ ทางวทิ ยาศาสตร์เร่ือง และนำโปรแกรมสเกต๊ ซ์ แก้ปัญหา แรงทก่ี ระทำต่อวัตถุและ ดนิ สอมาใช้เขียนแบบร่าง 6) ผลการแกป้ ัญหา สมบัติด้านความเหนียว เฟอร์นเิ จอร์ หรือช้ินงาน ของวสั ดุในการรับ น้ำหนกั

๑๒ บทที่ ๔ ผลการดำเนนิ การ จากการดำเนนิ งานโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสง่ิ ประดิษฐ์ เรื่องสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตร์เปน็ เฟอร์นเิ จอร์ลอยไดด้ ว้ ยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) ผลการดำเนินงาน ตามรายละเอยี ด ดงั น้ี ๔.๑ ผลการวางแผนในการทำโครงงาน ๑. สามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและเลอื กหัวข้อท่จี ะแก้ไขได้ ๒. สามารถวางแผนการทำงานอยา่ งเปน็ ข้นั ตอนตามแนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกบั การจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน (Project Method) กระบวนการการจดั การเรยี นรู้แบบสตรีมศกึ ษา (STEAM Education) และ ดำเนนิ งานตามแผนไดบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน ๔.๒ ผลการทำชน้ิ งาน/และการนำไปใชง้ าน ๑. สามารถออกแบบ และนำเหล็กจากโต๊ะ-เก้าอเ้ี กา่ มาประดษิ ฐ์เป็นเฟอร์นิเจอร์ โดยการบูรณาการ ความรู้ตามแนวคิด ทฤษฎเี กย่ี วกบั การจัดการเรียนร้สู ตรีมศึกษา (STEAM Education) ได้ ๒. สามารถเพมิ่ มลู คา่ ให้วสั ดเุ หลือใช้และลดปรมิ าณขยะท่ีมีในโรงเรียน ๓. ได้ฝึกทกั ษะอาชีพ ซึ่งสามารถนำทกั ษะน้ีไปสรา้ งรายไดใ้ นระหวา่ งเรียนได้ ๔. สามารถนำเฟอรน์ ิเจอร์ไปใช้งานไดจ้ ริงในห้องปฏิบตั ิการตา่ ง ๆ และยังสามารถใช้เปน็ สื่อการ เรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ 5. เฟอร์นิเจอรท์ ี่จดั ทำขน้ึ สามารถใช้เป็นสื่อการจดั การเรียนรู้แบบสตรีมศกึ ษา (STEAM Education) ได้ และทำให้นักเรียนไดฝ้ กึ กระบวนการคดิ การแก้ปญั หาโดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และสามารถ สร้างสรรค์ผลงานของตนเองได้ เช่น ผลงานของเด็กชายพงศธร ใจหาญ นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 เกา้ อี้ ลอยฟ้า และผลงานการประดิษฐ์ชดุ แฟนซีรีไซเคลิ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 ในกจิ กรรมสัปดาห์ วิทยาศาสตร์ประจำปีการศึกษา 2565 ภาพท่ี 3 ผลงานของนักเรยี น “เก้าอ้ลี อยฟ้า”และผลงานการประดิษฐ์ชดุ แฟนซีรไี ซเคลิ ของนกั เรยี นช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3 ในกจิ กรรมสัปดาห์วิทยาศาสตรป์ ระจำปีการศึกษา 2565

๑๓ ๔.๓ การทดสอบประสทิ ธภิ าพของเฟอร์นิเจอร์ ตารางท่ี 2 แสดงผลการทดสอบประสิทธภิ าพดา้ นความแขง็ แรงในการรับนำ้ หนกั ของเฟอร์นิเจอร์ ชนิดของ 60 ผลการสอบคณุ ภาพดา้ นความแขง็ แรงในการรบั นำ้ หนกั ของเฟอรน์ เิ จอร์ เฟอร์นิเจอร์ กโิ ลกรัม 80 100 120 140 160 180 1. โต๊ะทถ่ี ว่ ง ไม่เปลีย่ น กิโลกรัม กโิ ลกรัม กิโลกรัม กโิ ลกรัม กโิ ลกรัม กโิ ลกรมั นำ้ หนักไว้ตรง แปลง กลาง ไมเ่ ปลย่ี น ไม่เปล่ียน โซ่เรม่ิ หย่อน โซ่หย่อน โซ่หย่อน โซห่ ย่อนมาก 2. โตะ๊ ท่ถี ว่ ง แปลง แปลง โตะ๊ เรม่ิ เอยี ง โต๊ะเอยี ง โตะ๊ เอยี ง โต๊ะเอยี งมาก นำ้ หนกั ไว้ตรง ดา้ นข้างทง้ั 2 ไมเ่ ปลี่ยน ไม่เปลยี่ น ไม่เปล่ยี น ไม่เปลี่ยน ไมเ่ ปลยี่ น ไมเ่ ปล่ยี น โซเ่ รมิ่ หยอ่ น ดา้ น แปลง แปลง แปลง แปลง แปลง แปลง โต๊ะเริม่ เอยี ง 3. ท่ีวาง กระถางต้นไม้ ไม่ โซเ่ รมิ่ หยอ่ น โซห่ ย่อนมาก โซ่หย่อนมาก ไม่สามารถรบั ไมส่ ามารถรบั ไม่สามารถรบั เปลีย่ นแปลง ที่วางกระถาง ท่ีวางกระถาง ทวี่ างกระถาง นำ้ หนักได้ นำ้ หนกั ได้ น้ำหนกั ได้ 4. เก้าอี้ทไี่ ม่มี ต้นไมเ้ ร่ิมเอียง ตน้ ไมเ้ อียง ตน้ ไมเ้ อียง พนกั พงิ ไม่ โซ่หยอ่ นมาก โซห่ ยอ่ นมาก ไมส่ ามารถรับ เปลีย่ นแปลง ไม่ มาก เกือบลม้ ที่วางกระถาง ทีว่ างกระถาง นำ้ หนกั ได้ 5. เกา้ อีท้ ีม่ ี เปลีย่ นแปลง ไม่ โซเ่ รม่ิ หย่อน ต้นไมเ้ อียง ต้นไมเ้ อยี ง พนักพงิ และที่ ไม่เปล่ยี น เปลย่ี นแปลง โตะ๊ เริ่มเอยี ง โซเ่ รมิ่ หย่อน วางแขน แปลง ไมเ่ ปลีย่ น มาก เกือบลม้ โต๊ะเรมิ่ เอยี ง แปลง ไม่เปลยี่ น ไมเ่ ปลี่ยน ไม่เปลี่ยน ไม่เปลย่ี น แปลง แปลง แปลง แปลง จากการทดสอบประสิทธภิ าพดา้ นความแข็งแรงของเฟอร์นิเจอร์ที่จดั ทำขึ้น ในการรบั น้ำหนกั ทดสอบโดยใช้หนังสือหรือสิ่งของอ่นื ๆ วางบนโตะ๊ เฟอร์นิเจอร์ประเภทที่ 1 โต๊ะที่ถ่วงน้ำหนักไว้ตรงกลาง พบว่า โต๊ะที่จัดทำขึ้นรับน้ำหนักได้ถึง 100 กิโลกรัม โดยที่โซ่ไม่หย่อนและโต๊ะไม่เอียง แต่ถ้าวางสิ่งของที่มีน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัม โต๊ะเริ่มมีการ เปลย่ี นแปลง คอื โซ่เริ่มหย่อน โต๊ะเริ่มเอียง เฟอรน์ เิ จอรป์ ระเภทท่ี 2 โต๊ะทถี่ ่วงน้ำหนักไว้ตรงด้านข้างทง้ั 2 ดา้ น พบวา่ พบวา่ โต๊ะท่ีจัดทำขนึ้ รับ น้ำหนักได้ถึง 160 กิโลกรัม โดยที่โซ่ไม่หย่อนและโต๊ะไม่เอียง แต่ถ้าวางสิ่งของที่มีน้ำหนักมากกว่า 160 กิโลกรัม โตะ๊ เริม่ มกี ารเปลี่ยนแปลง คือ โซเ่ ริ่มหย่อน โต๊ะเริ่มเอียง เฟอร์นิเจอร์ประเภทที่ 3 ที่วางกระถางต้นไม้ ทดสอบประสิทธิภาพโดยการรับน้ำหนักของกระถาง ต้นไม้ขนาดต่าง ๆ พบว่า สามารถรับน้ำหนักได้ถึง 60 กิโลกรัม แต่ถ้าวางกระถางต้นไม้ที่มีน้ำหนักมากกว่า 60 กิโลกรมั จะทำใหท้ ี่วางกระถางตน้ ไม้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ โซเ่ รม่ิ หย่อนและกระถางตน้ ไม้เรม่ิ เอียง เฟอร์นิเจอร์ประเภทที่ 4 เก้าอี้ที่ไม่มีพนักพิง ทดสอบประสิทธิภาพโดยการคนที่มีน้ำหนักแตกต่าง กันทดลองนัง่ พบว่า เก้าอี้ที่จัดทำขึน้ รับนำ้ หนกั ไดถ้ ึง 100 กิโลกรัม โดยที่โซ่ไม่หย่อนและเก้าอ้ีไม่เอียง แต่ถ้า คนที่มีน้ำหนกั มากกว่า 100 กิโลกรัมมาทดลองนั่ง จะทำให้เก้าอี้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ โซ่เริ่มหย่อน เก้าอ้ี เร่ิมเอยี ง

๑๔ เฟอร์นิเจอร์ประเภทที่ 5 เก้าอี้ที่มีพนักพิงและที่วางแขน ทดสอบประสิทธิภาพโดยการคนที่มี น้ำหนักแตกต่างกันทดลองนั่ง พบว่า เก้าอี้ที่จัดทำขึ้นรับน้ำหนักได้ถึง 160 กิโลกรัม โดยที่โซ่ไม่หย่อนและ เก้าอี้ไม่เอียง แต่ถ้าคนที่มีน้ำหนกั มากกว่า 160 กิโลกรัมมาทดลองน่ัง จะทำให้เก้าอี้เกิดการเปล่ียนแปลง คือ โซเ่ ร่ิมหยอ่ น เกา้ อเ้ี ริ่มเอยี ง เฟอรน์ ิเจอรท์ ัง้ 3 ประเภท สามารถรบั นำ้ หนกั ระหวา่ ง 60 – 160 กิโลกรมั ขน้ึ อยู่กบั การใช้งานและ รูปแบบของเฟอร์นิเจอร์ที่สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย และรูปแบบของเฟอร์นิเจอร์ยังแปลกใหม่สามารถ สรา้ งความสนใจ แปลกใจ ถงึ วธิ ีการออกแบบ กระบวนการทำให้กับผู้พบเหน็ ได้ ๔.4 การเปรยี บเทยี บต้นทุนของเฟอร์นิเจอร์ ตารางท่ี 3 แสดงผลการเปรียบเทียบตน้ ทนุ ในการทำเฟอร์นิเจอร์ที่ทำขน้ึ เองกับเฟอร์นิเจอร์ใน ท้องตลาด ชนดิ ของเฟอร์นเิ จอร์ ตน้ ทนุ ในการทำเฟอร์นเิ จอร์ ราคาเฟอรน์ ิเจอรต์ ามทอ้ งตลาด 1. โตะ๊ ท่ีถ่วงน้ำหนกั ไว้ตรงกลาง ทท่ี ำขึน้ เอง (บาท) (บาท) 2. โตะ๊ ทีถ่ ว่ งน้ำหนกั ไวด้ า้ นขา้ งท้ัง 400 1,000 2 ด้าน 3. ท่วี างกระถางต้นไม้ 500 1,000 4. เกา้ อท้ี ่ไี มม่ ีพนักพงิ 5. เก้าอท้ี ี่มีพนักพงิ 400 1,000 รวมต้นทนุ เฟอร์นิเจอร์ 5 ชนิด 200 400 300 800 1,800 4,200 จากตารางท่ี 3 แสดงผลการเปรียบเทียบต้นทนุ ในการทำเฟอร์นิเจอรท์ ่ที ำขึ้นเองกับเฟอร์นเิ จอร์ใน ทอ้ งตลาด พบว่า เฟอรน์ เิ จอร์ทท่ี ำข้นึ เองทั้ง 5 ชนิด มตี ้นทุนประมาณ 1,800 บาท ส่วนเฟอร์นเิ จอร์ตาม ท้องตลาดมรี าคาขายประมาณ 4,200 บาท ซ่ึงเฟอรน์ เิ จอร์ท่เี ราจัดทำขึ้นเองมตี น้ ทุนที่ถูกกวา่ เฟอร์นิเจอร์ตาม ท้องตลาด 4.5 ผลการประเมินก่อนเรียน - หลังเรียน ตางรางท่ี 4 การประเมินการทกั ษะกระบวนการคดิ การแก้ปญั หาโดยใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ กอ่ นเรียน – หลงั เรียน ในการเผยแพร่ความรู้เก่ยี วกับการสร้างสรรค์ผลงานส่ิงประดิษฐ์ทางวทิ ยาศาสตร์ ดว้ ยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) ระดับชัน้ จำนวนนกั เรยี น ผลการประเมนิ (คะแนนเฉล่ีย 20 คะแนน) การพฒั นา (คน) ก่อนเรียน หลังเรยี น +14.50 +12.20 ม.1 12 3.25 17.75 +12.90 +13.20 ม.2 10 5.40 17.60 66.00 ม.3 11 5.91 18.81 คา่ เฉลย่ี 33 4.85 18.05 ร้อยละ 24.25 90.25

๑๕ การประเมินการทกั ษะกระบวนการคิด การแก้ปญั หาโดยใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ กอ่ น – หลัง การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการสตรีมศึกษา (STEAM Education) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 จำนวน 33 คน ในปีการศึกษา 2565 การ ประเมินโดยการทำแบบทดสอบและการตรวจดูจากผลงานของนักเรียน พบวา่ นักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษา ปีที่ 1 – 3 มีผลคะแนนเฉลี่ยในการประเมินก่อนเรียนเท่ากับ 4.85 คิดเป็นร้อยละ 24.25 และผลคะแนน เฉลย่ี ในการประเมินหลังเรยี นเท่ากบั 18.05 คดิ เปน็ ร้อยละ 90.25 เมอ่ื พจิ ารณาผลการประเมินรายห้อง พบว่า นกั เรียนมีผลการประเมนิ หลังเรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน ในภาพรวมค่าเฉล่ียคะแนนเท่ากบั 13.20 คดิ เป็นร้อยละ 66.00 ภาพท่ี 4 การเผยแพร่ความร้เู กย่ี วกับการสรา้ งสรรค์ผลงานสิ่งประดิษฐ์ทางวทิ ยาศาสตร์ด้วยกระบวนการ สตรีมศึกษา (STEAM Education)

๑๖ บทท่ี ๕ สรุปผลการดำเนินการ/อภิปรายผลกการดำเนนิ การ สรุปผลการดำเนนิ การ จากผลการดำเนินงานของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์ เรือ่ ง สร้างสรรคส์ ่งิ ประดษิ ฐ์ ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นเฟอรน์ เิ จอร์ลอยไดด้ ้วยกระบวนการสตรมี ศกึ ษา (STEAM Education) สามารถช่วยฝึก ทักษะกระบวนการคดิ ได้นำหลักการทางวทิ ยาศาสตร์เร่ืองแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ และสมบัตดิ ้านความเหนียวใน การรบั น้ำหนกั ของวสั ดุมาบรู ณาการเพอื่ สร้างเฟอรน์ ิเจอรล์ อยได้ซึ่งสามารถรับน้ำหนักตัง้ แต่ 60 กโิ ลกรัม - 160 กโิ ลกรมั น้ำหนกั เบา สามารถพับเกบ็ และเคล่ือนย้ายได้งา่ ยขน้ึ อยกู่ ับรูปแบบและวตั ถุประสงค์ของการ ใชง้ านเฟอรน์ ิเจอร์แตล่ ะชนดิ เฟอรน์ ิเจอร์แต่ละประเภททำให้เกิดความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ คิดแก้ปญั หา และ ยังชว่ ยเพ่ิมทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และยังเปน็ การบรู ณาการความรจู้ ากหลากหลายวิชาตาม แนวคดิ สตรมี ศึกษา (STEAM Educationในการสร้างสรรค์ผลงาน และสามารถนำผลงานไปเผยแพร่ใหก้ บั นักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 ใหเ้ กดิ การพัฒนาด้านทกั ษะกระบวนการคิด การแกป้ ัญหาโดยใช้ ความคดิ สร้างสรรค์ในการสร้างผลงานของตนเอง อีกทั้งยงั เป็นการเพิ่มมูลคา่ วสั ดุเหลอื ใช้ทม่ี ใี นโรงเรยี นใหเ้ กิด ประโยชน์สูงสุด และยังชว่ ยฝึกอาชีพในการเชื่อมเหลก็ เพื่อสรา้ งรายไดใ้ นอนาคต อภิปรายผลกการดำเนินการ จากการทดสอบประสทิ ธิภาพเฟอรน์ ิเจอร์ท่จี ดั ทำขึน้ สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภยั ชดุ โต๊ะ-เกา้ อี้ สามารถรับน้ำหนักไดส้ งู สุดถึง 160 กิโลกรัม ที่วางกระถางต้นไมส้ ามารถรับนำ้ หนักได้สงู สดุ ถงึ 60 กโิ ลกรมั ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานทตี่ ง้ั ไว้ เนือ่ งจากมีการปรับรูปแบบของเฟอร์นิเจอรใ์ ห้มคี วามหลากหลาย เหมาะสมต่อ การใชง้ าน และมีการเพ่มิ ขนาดของโซใ่ ห้ใขนาดใหญ่ขนึ้ เพ่ือให้มีความเหนียว แขง็ แรง สามารถรบั นำ้ หนัก ไดม้ ากขนึ้ เมอื่ เปรยี บเทยี บรูปแบบและราคาของเฟอร์นเิ จอร์ลอยได้กับเฟอรน์ ิเจอร์ทม่ี ีในท้องตลาด เฟอร์นิเจอร์ท่ีจดั ทำข้นึ มรี าคาต้นทุนที่ตำ่ กวา่ และยังมรี ูปแบบทีน่ า่ สนใจเหมาะแก่การนำไปใช้งานจรงิ และ นำไปตกแต่งบา้ นเน่ืองจากเฟอร์นิเจอรท์ ่ีจดั ทำข้ึนเองใช้วัสดุที่มอี ยู่ในโรงเรียน จงึ ทำใหต้ ้นทนุ ในการผลิตตำ่ ผลการประเมนิ การทักษะกระบวนการคดิ การแกป้ ัญหาโดยใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ ก่อนเรยี น – หลงั เรียน ในการเผยแพร่ความรูเ้ กย่ี วกบั การสรา้ งสรรคผ์ ลงานสงิ่ ประดิษฐท์ างวิทยาศาสตรด์ ้วยกระบวนการสตรมี ศึกษา (STEAM Education) นกั เรียนระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 3 มคี ะแนนเฉลี่ยในการประเมนิ หลังเรียน สูงกวา่ ก่อนเรยี นเน่ืองจากคณะผู้จัดทำโครงงานมีรปู แบบเฟอร์นเิ จอรท์ สี่ ามารถเป็นตัวอย่างในการนความรู้ เก่ียวกบั สตรีมศึกษา มาใช้ในการอธิบายและสร้างสรรคผ์ ลงานได้อย่างชัดเจน นกั เรียนทุกคนได้ค้นพบปัญหา และลงมือปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยตนเองจึงทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้และพัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดได้ จุดเดน่ ของโครงงาน เฟอรน์ เิ จอรล์ อยได้ มีนำ้ หนักเบา สามารถพบั เก็บ และเคลือ่ นย้ายไดส้ ะดวก มีรปู แบบที่น่าสนใจ สามารถนำไปใชใ้ นการตกแตง่ บ้านหรอื ใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ทาง วิทยาศาสตร์เร่ืองกระบวนการเรียนรู้สตรีมศึกษา (STEAM Education) ได้

๑๗ ข้อเสนอแนะ 1. ควรเลือกขนาดของเหล็กให้มีความเหมาะสมและแข็งแรงในการออกแบบเฟอร์นเิ จอร์มากยิ่งขน้ึ 2. ควรมกี ารออกแบบเฟอร์นเิ จอรท์ ี่หลากหลาย ทันสมยั เพ่ิมลวดลาย เพ่ือสร้างความสนใจและ เหมาะกับกิจกรรมหรือวัตถปุ ระสงคใ์ นการใช้งานมากขน้ึ 3. ควรมีการนำแนวคดิ ทฤษฎเี ก่ียวกับการจัดการเรยี นร้ตู ามแนวคิดสตรมี ศึกษา (STEAM Education) และแนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน (Project Method) ไปใชใ้ นการ วิเคราะห์ปัญหาและแกป้ ัญหาในเรื่องอื่น ๆ หรือบรู ณาการในกลุ่มสาระการเรียนร้ทู ้ัง 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ต่อไป

๑๘ บรรณานกุ รม Dieter Rams. การออกแบบเฟอรน์ ิเจอร์(ออนไลน)์ .2555.แหลง่ ทม่ี า :https://www.tcdc.or.th/th/home(25 พฤศจิกายน 2565) กรมวชิ าการ. (2544). เอกสารชดุ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ: โครงงาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์การศาสนา. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2543). การปฏริ ปู การศึกษา เอกสารประกอบการสมั มนายุทธศาสตร์. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. กรธนา โพธเ์ิ ตง็ . (2558: 8). การพฒั นาทักษะการส่อื สารและความสามารถในการทำโครงงานโดยการจัดการ เรยี นรแู้ บบโครงงาน ของนกั เรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี .วทิ ยานิพนธ์ มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร นครปฐม. เจนจิรา สันติไพบลู ย.์ (2561). การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้ เรียนตามแนวคิดSTEAM ร่วมกับการสอนเชิงผลิต ภาพเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการและความสามารถในการสรา้ งสรรค์ ผลงานของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3. (วิทยานิพนธป์ ริญญาศกึ ษาศาสตร์ มหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน ภาควชิ าหลกั สูตรและวธิ ี สอน).บณั ฑิต วิทยาลัยมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. ดนุพล บุญชอบ. (2557). การเปรยี บเทยี บผลการเรียนรโู้ ครงงานระหว่างกลุ่มรว่ มมอื กันเรียนรู้แบบ ผสมผสานและกลุ่มปกติรายวชิ าโครงงานคอมพวิ เตอร์ ของนักเรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบางลี่วทิ ยา.วิทยานิพนธ์มหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร นครปฐม. ธานี สุคนธะชาติและคณะ. (2557) การใช้ประโยชนจ์ ากเศษไม้ในอตุ สาหกรรม เฟอร์นิเจอร์เพ่ือการออกแบบ เฟอร์นเิ จอรส์ นามสำหรบั บา้ นพกั อาศยั ขนาดกลาง. คณะสถาปตั ยกรรม ศาสตร์และ การออกแบบมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. นพดล กองศลิ ป.์ (2561). การพฒั นาหลักสตู รประถมศกึ ษาเพ่ือการเรียนรสู้ สู่ ากลตามแนวทาง STEAM. วารสารวชิ าการอตุ สาหกรรมการศกึ ษา, 12(2), 46-57. วัฒนะ จฑู ะวภิ าต. (2551). ศิลปหตั ถกรรมทองลายโบราณของชา่ งทองสุโขทยั . มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์: กรงุ เทพฯ. วรรณี สหสมโชค.(2549). การออกแบบเฟอรน์ ิเจอร.์ พมิ พ์ครั้งที่1.พมิ พล์ ักษณ์, กรงุ เทพฯ:สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยไี ทย-ญี่ปุน่ .(67) วิสูตร โพธ์ิเงิน. (2560). STEAM ศลิ ปะเพ่อื สะเต็มศกึ ษา: การพัฒนาการรบั รคู้ วามสามารถและแรงบันดาลใจ ใหเ้ ด็ก. วารสารครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 45(1), 320-334.

๑๙ ภาคผนวก

๒๐ ภาพกจิ กรรมการทำโครงงาน 1. ออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ และกำหนดขนาดของเฟอร์นิเจอร์ เฟอร์นิเจอร์ท้ัง 5 ประเภทออกแบบ ได้แก่ โต๊ะที่ถว่ งน้ำหนักไวต้ รงกลาง โต๊ะท่ถี ว่ งนำ้ หนกั ไว้ดา้ นข้าง ท่วี าง กะถางตน้ ไม้ เกา้ อท้ี ่ีไมม่ ีพนักพงิ เก้าอที้ ่ีมพี นักพิง

๒๑ การโปรแกรมสเกต๊ ซ์ดินสอในการเขยี นแบบรา้ งเฟอร์นิเจอรใ์ หม้ คี วามชัดเจนย่ิงขึ้น เฟอร์นิเจอร์ประเภทโตะ๊ ท่ีถ่วงน้ำหนกั 2 ข้าง เฟอรน์ เิ จอรป์ ระเภททโ่ี ต๊ะที่ถ่วงน้ำหนักไวต้ รงกลาง เฟอร์นเิ จอรป์ ระเภทเก้าอท้ี ่ีไม่มพี นกั พงิ ทว่ี างกระถางต้นไม้ เฟอรน์ ิเจอร์ประเภทเก้าอ้ี ท่ีมี พนกั พงิ และทีว่ างแขน

๒๒ 2. เลอื กเหลก็ เกา่ ตามขนาดท่ีจะนำมาใชใ้ นการทำเฟอร์นเิ จอร์ 3. ตดั เหล็กตามขนาดท่ีออกแบบไว้ โดยใชเ้ ครื่องตดั เหล็กและใช้ใบตัดขนาด 14 นว้ิ

๒๓ 4. นำเหลก็ ท่ตี ดั ไดต้ ามขนาดแล้ว มาจดั วางตำแหน่งท่ตี ้องการเพ่ือขึน้ โครงตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยในการต่อ เหลก็ เป็นมุมฉาก มีการใช้เหล็กฉากแม่เหล็กมาช่วยยดึ เพ่ือใหไ้ ดอ้ งศาท่ีแมย่ ำก่อนเช่ือมเหล็ก 5. เชือ่ มเหล็กเพอ่ื ข้ึนโครงตามแบบท่ีวางไว้ และใช้ใบเจยี เจยี บรเิ วณรอยเช่อื มเพ่ือลบคมใหเ้ รียบรอ้ ย

๒๔ 6. หลักจากนั้นพน่ สีโครงเหลก็ เพื่อปอ้ งกนั สนิมและเพอื่ ความสวยงาม 7. จากนน้ั ตดั แผน่ ไม้ตามขนาดทอ่ี อกแบบไว้ เพื่อใช้เปน็ แผ่นโต๊ะ และเพ่ือใช้เปน็ ทรี่ องนงั่ ของเกา้ อ้ี

๒๕ 8. ใชส้ กรูขนาด 1.5 น้วิ ยดึ แผ่นไมอ้ ดั ทต่ี ดั ได้ตามขนาดเข้ากบั โครงเหล็กของโต๊ะ-เก้าอ้ี และเก็บรายละเอียด ให้เรยี บร้อยสวยงาม 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอรน์ เิ จอร์ และปรับปรุงแก้ไขจนได้ชน้ิ งามทีเ่ สรจ็ สมบูรณ์ (เก้าอี้ ทสอบโดยการ ใหท้ ่มี นี ำ้ หนักแตกต่างกันมานั่งเพอ่ื ทดสอบ) และปรบั ปรุงให้เกิดวามสมบรู ณ์

๒๖ 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอรน์ ิเจอร์ และปรับปรงุ แก้ไขจนได้ช้นิ งามท่ีเสร็จสมบูรณ์ (เก้าอ้ี ทสอบโดยการ ให้ท่ีมนี ำ้ หนักแตกต่างกนั มานั่งเพื่อทดสอบ) และปรบั ปรุงใหเ้ กิดวามสมบรู ณ์ (ต่อ)

๒๗ 9. ทดสอบความแข็งแรงของเฟอร์นเิ จอร์ และปรบั ปรงุ แก้ไขจนไดช้ ิน้ งามทเ่ี สรจ็ สมบูรณ์ (เกา้ อี้ ทสอบโดยการ ใหท้ ่มี นี ้ำหนกั แตกต่างกนั มาน่ังเพือ่ ทดสอบ) และปรบั ปรุงให้เกิดวามสมบูรณ์ (ต่อ) ชัง่ นำ้ หนักหนังสอื และกระถางตน้ ไม้ท่ีนำมาทดสอบประสทิ ธภิ าพด้านความแขง็ แรงในการรบั น้ำหนกั

๒๘ 10. นำเสนอผลงานต่อครูทีป่ รึกษา และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกบั สตรีมศึกษาให้กบั นกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 - 3

๒๙ โรงเรียนบ้านแก้ง สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ รายงานฉบับน้เี ป็นสว่ นประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดษิ ฐ์ ระดบั ชัน้ ม.๑ - ๓ เนอ่ื งในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้งั ที่ ๗๐ วันที่ 31 เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๖6