จดหมายขา่ วชมุ ชนคนรกั สขุ ภาพ ฉบับ ปีที่ 17 ฉบบั ที่ 241 พฤศจิกายน 2564 20 Big Changes สรา้ งความเปลย่ี นแปลง แจก ทิศทางทศวรรษที่ 3 ก้าวตอ่ ไปของ สสส. ส่องนวตั กรรมสู่การเปน็ สงั คมสุขภาวะ ฟรี! สำ� นักงานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
จากใจผจู้ ัดการ สวสั ดคี รับ เพอ่ื นรว่ มสรา้ งสขุ ทุกคน เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 น้ี ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ จะเป็นเดอื นครบรอบ 20 ปีของ สสส. ในรอบปีที่ 20 นี้ มีข่าวดีจากผลพวงของต้นไม้ใหญ่ท่ีเติบโตมา ผมขอส่งสารคาำ นำาทีผ่ มเขียนในหนังสือเลม่ นี้ 2 ทศวรรษหลายเรอ่ื ง ตงั้ แตต่ น้ ปีที่ สสส. ได้รับ “รางวลั เนลสนั แมนเดลา ผ่านคอลัมนจ์ ากใจผู้จดั การมาถึงทกุ ทา่ น ดา้ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ” ทค่ี ดั เลอื กจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทว่ั โลก ดว้ ยเหตผุ ล ตรงนี้ด้วยครับ ที่ว่ามีบทบาทและผลงานโดดเด่นในการขับเคล่ือนงานสร้างเสริมสุขภาพ ท้ังระดบั ประเทศและระดบั นานาชาติ หว้ งเวลา 20 ปี หรอื 2 ทศวรรษขององคก์ ร นบั เปน็ หมดุ หมายเวลาสา� คญั ทจ่ี ะใชส้ า� รวจยอ้ นหลงั ถงึ ความเปน็ มา ในการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดา� เนนิ งานของหนว่ ยงาน เปน็ ไปและผลของการเดนิ ทางจากจดุ ตง้ั ตน้ เพอ่ื ทจ่ี ะเปน็ ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจ�าปี ฐานในการมองต่อไปยังเสน้ ทางข้างหน้า งบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่จัดโดยส�านักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) สสส. ได้รับผลการประเมินคะแนน ยอ้ นกลบั ไปเมอื่ 20 ปี ท่ีแลว้ จุดเรม่ิ ตน้ การกา� เนิด 93.68 สูงกว่าปีที่ผ่านมา จากภาพรวมองค์กรในประเทศที่ 81.25 ตอกย้�า สสส. ถอื เปน็ กา้ วสา� คญั ของการพฒั นาระบบสขุ ภาพของ การด�าเนนิ องคก์ รด้วยความโปรง่ ใสทเี่ ดนิ หนา้ ต่อเน่อื ง ประเทศไทย องค์กรอย่าง สสส. ไม่ได้ถูกออกแบบให้มี ลกั ษณะเปน็ องคก์ รแบบดงั้ เดมิ มาแตต่ น้ การเปน็ กองทนุ ล่าสุด สสส. ได้รับรางวัลแบรนด์สร้างสรรค์ผลงานอินฟลูเอนเซอร์ ทมี่ ที ม่ี าของแหลง่ รายไดจ้ ากอา� นาจจดั เกบ็ ภาษเี ฉพาะเพมิ่ ยอดเยย่ี ม สาขา Social Change Maker ในการประกาศรางวลั อนิ ฟลเู อนเซอร์ จากภาษีสรรพสามิตยาสูบและสุรา การมอบภารกิจของ ยอดเย่ียมแห่งปี (Thailand Influencer Awards 2021) ซึ่งเป็นรางวัล “การสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ” ตามนยิ ามรว่ มสมยั สา� หรบั ผทู้ รงอทิ ธพิ ลทางความคดิ แสดงออกถงึ ความคดิ เหน็ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ของสากล ที่มิใช่เพียงส่วนหน่ึงการบริการสุขภาพ และมีพลังในการสื่อสารท่ีท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม นอกจากน้ี ที่คุ้นเคยกัน กลไกที่ไม่ใช่ราชการในการบริหารจัดการ ส่ือชุดงดเหล้าเข้าพรรษาของ สสส. ได้รับรางวัลบรอนซ์ใน Shots Awards ตลอดจนไปถึงก�ากับควบคุมและประเมินผล ได้วางหลัก Asia-Pacific 2021 ซึ่งเป็นรางวัลจากองค์กรที่เก่าแก่มากของอังกฤษ ตั้งต้นให้คณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหาร ทร่ี วบรวมสอ่ื โฆษณาทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ของโลก ตอกยา�้ การสรา้ งผลงานทเ่ี ปน็ ทย่ี อมรบั รุ่นต่อรุ่น ได้ร่วมออกแบบวางแนวทางสืบต่อเนื่องมา ในระดับชาติและสากล ใหอ้ งคก์ รนแ้ี บกรบั ภารกจิ ใหมข่ องประเทศ ชว่ ยสนบั สนนุ ให้ “การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ” เปน็ สาธารณสขุ แนวใหม่ (new ในวาระสา� คญั นี้ สสส. ไดจ้ ดั กจิ กรรมหลายอยา่ ง เช่น การจัดกจิ กรรม public health) อันเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ทโ่ี รงแรมเซน็ ทารา แกรนด์ แอท เซน็ ทรลั เวลิ ด์ ระหวา่ งวนั ท่ี 8-10 พฤศจกิ ายน และทุกภาคส่วนของสังคม มาช่วยรับโจทย์ทุกขภาวะ ที่ถ่ายทอดสดออนไลน์ไปทั่วประเทศ การเปดตัววารสารวิชาการสร้างเสริม และสุขภาวะที่ซับซ้อนของยุคสมัย ท่ีล�าพังบริการทาง สขุ ภาพ ทจ่ี ะออกอยา่ งตอ่ เนอ่ื งไปทกุ ไตรมาส และหนงั สอื “20 Big Changes การแพทย์เดิมไม่เพยี งพอจะรับมือได้ ภารกจิ 20 ป เปล่ยี นประเทศสสู่ งั คมสุขภาวะ” รวบรวมเสน้ ทางและผลงาน การสร้างเสริมสุขภาพตลอด 20 ปีทผ่ี า่ นมา คนไทยมีสุขภาวะ สสส. มหี นา้ ทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนมพี ฤตกิ รรมสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ และ ลด ละ เลกิ พฤตกิ รรม ทเี่ สย่ี งตอ่ การทาํ ลายสขุ ภาพ ซง่ึ นาํ ไปสกู่ ารมสี ขุ ภาพกายแขง็ แรง สขุ ภาพจติ สมบรู ณ์ และมคี ณุ ภาพ อยา่ งยั่งยนื ชวี ติ ทด่ี ี ถือเปน็ พฒั นาการด้านสขุ ภาพอกี ดา้ นหนงึ่ ซ่ึงสําคญั ไมย่ ่ิงหยอ่ นกว่าการรกั ษาพยาบาล
จดหมายข่าวชุมชนคนรกั สขุ ภาพ ปีท่ี 17 ฉบบั ท่ี 241 พฤศจกิ ายน 2564 รูปธรรมสำ�คัญของแนวทางใหม่ข้างต้น อาทิ สารบญั บทบาทหนา้ ท่ี “สนบั สนนุ ” โดยการ “จดุ ประกาย กระตนุ้ สาน และเสรมิ พลงั บคุ คล ชมุ ชน และองคก์ รทกุ ภาคสว่ น จากใจผจู้ ัดการ 2 ใหม้ ขี ดี ความสามารถ พฤตกิ รรมและวถิ ีชวี ติ ตลอดจน การสร้างสรรค์ระบบสังคม สิ่งแวดลอ้ มท่เี อ้อื ต่อการมี สขุ ประจําฉบับ 4 สุขภาพที่ดี” โดยไม่มีอำ�นาจกฎหมายในมือ แต่ใช้ 20 ปี ภาคสี รา้ งสขุ ยทุ ธศาสตร์ “ไตรพลงั ” ทเ่ี ชอ่ื มโยงความรู้ การขบั เคลอ่ื น สังคมและนโยบาย ในการเปล่ียนแปลงท่ีต้นธารของ สขุ รอบบา้ น 22 สขุ ภาวะ ฯลฯ 20 ปีทีผ่ า่ นมา คำ�เหลา่ นนั้ ไม่ใช่เปน็ เพยี ง ปรชั ญา แนวคดิ แนวทาง แตถ่ กู แปรเปลย่ี นถกู รองรบั ปัน่ จักรยาน เคลด็ ไม่ลบั ชว่ ยหลบั ดี ด้วยการวางยุทธศาสตร์ การเชื่อมประสานภาคี และ วจิ ัยชี้ออกก�ำลังกายก่อนนอนทำ� ได้ การลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารและวงจรประเมนิ ผลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนเกดิ เปน็ ผลสมั ฤทธ์ิ เปน็ การเปลย่ี นแปลงทจ่ี บั ตอ้ งได้ สุขไร้ควัน 24 และตอ่ เน่อื ง ลงหลกั ปกั ฐาน ย่งั ยนื 25 ในวาระ 20 ปี สสส. เราจึงไม่เพียงบันทึกปูม สขุ เลิกเหล้า การเดนิ ทางบนเสน้ ทางบกุ เบกิ ใหมเ่ หลา่ นน้ั แตไ่ ดถ้ อด 26 บทเรยี นของผลการขบั เคลอ่ื นการเปลยี่ นแปลงสำ�คญั คนดังสุขภาพดี ที่ได้เกิดข้ึนแล้วในสังคมไทย เพ่ือให้เป็นฐานของ “รักใครใหเ้ ขาออกก�ำลงั กาย” การรองรบั โจทยก์ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพใหมท่ ที่ า้ ทายอยู่ วิธบี อกรักสไตล์ ไมค์ ภทั รเดช ในอนาคตขา้ งหนา้ ซง่ึ หากไดเ้ พง่ สงั เกตบทเรยี นเหลา่ นน้ั จะเห็นได้ถึงบทบาทอันหลากหลายของผู้คน ชุมชน สขุ ลับสมอง 27 องค์กร ภาคส่วนที่สานพลังกันสร้างทางออกใหม่ ๆ ของปัญหาในระบบสุขภาพไทยและบางเรื่องก็สัมพันธ์ กบั ระบบโลก โดย สสส. ในบทบาทของผสู้ นบั สนนุ ได้ เขา้ รว่ มนำ� ตาม เชือ่ ม หนนุ ฯลฯ อย่างเป็นพลวัตตาม บริบทในแต่ละห้วงเวลา และนั่น ทำ�ให้เราเลือกช่ือธีม ของวาระครบรอบนีว้ า่ “20 ปี ภาคสี ร้างสุข” และหากยอ่ หน้าสุดทา้ ยน้ี จะเปน็ พน้ื ท่ีขอบคุณ บคุ คลและองคก์ รทร่ี ว่ มกนั พา สสส. มาถงึ จดุ ทเ่ี รายนื อยู่ ณ สิ้นทศวรรษท่ี 2 รายช่อื เหลา่ นั้นคงจะยาวเหยยี ด ไปอกี หลายหนา้ กระดาษ แตแ่ ทจ้ รงิ แลว้ ค�ำ ขอบคณุ นน้ั คงไมม่ คี วามจ�ำ เปน็ ดว้ ยทกุ ทา่ น ทกุ องคก์ รตา่ งนบั เปน็ ส่วนหน่ึงของ ความเป็น “สสส.” อยู่แล้ว ล้วนเป็น ฐานแรกของผู้ทจ่ี ะจับมอื รวมใจ ลงความคดิ ลงแรง ร่วมกับแนวร่วมใหม่ ๆ ที่จะสร้างเสริมสุขภาพของ ทกุ คนบนแผน่ ดนิ ไทย ในทศวรรษหน้าต่อไป ส�ำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) อาคารศนู ยเ์ รยี นรสู้ ขุ ภาวะ เลขท่ี 99/8 ซอยงามดพู ลี แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120
สุขประจำ� ฉบบั ยอ้ นไป 20 ปี ที่แลว้ ...ไมว่ า่ จะเปน็ ผคู้ นสบู บหุ รใ่ี นโรงพยาบาล โรงหนงั รา้ นอาหาร สถานทส่ี าธารณะ หากบอกวา่ เด็กรุ่นใหม่วา่ ...ไมว่ า่ จะเป็น เมาแล้วขับ ขับแล้วชน ตัวเองบาดเจ็บคนอ่นื ล้มตาย สิ่งเหลา่ น้เี คยเปน็ เรอ่ื งปกติ ...ไมว่ า่ จะเปน็ รับประทานอาหารรสจัด ย่ิงหวาน ยิง่ คิดว่าดี ...ไม่ว่าจะเปน็ ขบั ข่รี ถไม่สวมหมวกกนั นอ็ ก ไม่คาดเข็มขัดนิรภยั หลายคนคงแปลกใจ ...ไม่ว่าจะเปน็ สวนสาธารณะ สนามกฬี า เหงาไมค่ ่อยมใี ครมาออกกำ�ลงั สิ่งเหลา่ นี้ เปน็ เหตกุ ารณเ์ มอ่ื 20 ปกี อ่ น ทเี่ ปลี่ยนไปอยา่ งสนิ้ เชิงแล้วในปจั จบุ ัน ...เราเลกิ สบู บหุ รใ่ี นทส่ี าธารณะ มกี ฎหมายหา้ มในสถานท่ี ...อุบัติเหตุทางถนน ท่ไี ทยเคยติดอันดับ ต่าง ๆ เพอื่ ปกปอ้ งสทิ ธิของประชาชนส่วนใหญ่ และหลายคนเลกิ โลกเริ่มลดลง เพราะผู้ขับข่ีปฏิบัติตามกฎจราจร สบู บหุ รี่ เพราะสขุ ภาพตัวเองและคนรอบข้าง คาดเขม็ ขดั นริ ภยั จนเปน็ พฤตกิ รรมปกติ สวมหมวก ...เมอ่ื ตอ้ งดม่ื คนสว่ นใหญต่ ระหนกั วา่ ตอ้ งมสี �ำ นกึ รบั ผดิ ชอบ กันน็อกเมื่อขับข่ี และมีความร่วมมือด้านจราจร ตอ่ ตนเองและเพอื่ นรว่ มถนน มกี ฎหมายทรี่ นุ แรงซงึ่ ตอ้ งรบั ผดิ ชอบ เพอื่ ปอ้ งกันอุบตั ิเหตุ ผลทต่ี ามมา และหลายคนหันมาเลิกด่มื อย่างจรงิ จัง ...สนามกฬี า สวนสาธารณะ เตม็ ไปดว้ ย ...เราใสใ่ จเรอ่ื งอาหารการกนิ ลดอาหารหวานจดั เคม็ จดั ผู้คนที่มาทำ�กิจกรรม ออกกำ�ลังกาย กิจการ เพ่อื ป้องกันโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง ทเ่ี กิดการพฤตกิ รรมการกนิ หนั มา ฟิตเนตกลายเป็นท่ีนิยมของผู้คน เพราะต่างรู้ดีว่า ทานผกั ผลไมม้ ากข้ึน และอาหารเพื่อสุขภาพกลายเป็นทีน่ ยิ ม การออกก�ำ ลังกายดีตอ่ สขุ ภาพมากแคไ่ หน 4 นิตยสารสร้างสุข
พฤตกิ รรมทวี่ า่ มาเปน็ เพยี งบางสว่ นทเี่ กดิ การเปลยี่ นแปลง อยา่ งมากในชว่ ง 20 ปนี ้ี เปน็ เพราะประชาชนตา่ งรบั รวู้ า่ ปจั จยั เสย่ี ง เหล้า บุหร่ี อุบัติเหตุ อาหาร ออกกำ�ลังกาย นำ�ไปสู่โรคภัย ได้อย่างไร แน่นอนว่า การรับรู้และตระหนักถึงการมีสุขภาวะดี ไม่ได้เกิดข้ึนในวันสองวัน แต่ผ่านการทำ�ความเข้าใจ การส่ือสารเชิงสร้างสรรค์ ผา่ นการท�ำ งานของผคู้ นมากมายเพอ่ื สรา้ งสขุ ภาวะ บนความเชอ่ื วา่ เราทกุ คนสามารถ เปล่ยี นแปลงสขุ ภาวะได้ สสส. หรือ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ ก่อต้ังขึ้นในปี 2544 มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพของคนไทย ทุกวัยตามนโยบายสุขภาพแห่งชาติ รณรงค์เพ่ือสร้างเสริมสุขภาพ และลดการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และยาสูบ พัฒนาศักยภาพ ชุมชนและองค์กรทุกภาคส่วนในการสร้างเสริมสุขภาพ ให้เกิดการ ศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาความร้ดู ้านการสง่ เสรมิ สุขภาพ โดยไดส้ นับสนนุ แผนงาน โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ กวา่ 3,000 โครงการตอ่ ปี ครอบคลมุ ประเด็นเชงิ สุขภาวะท่หี ลากหลาย การท�ำ งานเมอ่ื 20 ปที แ่ี ลว้ อยบู่ นพน้ื ฐานแนวคดิ วา่ เราไมส่ ามารถ รอให้ประชาชนป่วยก่อนแล้วตามมารักษา แต่สุขภาพดีจำ�เป็นต้องสร้าง และกักตุนเอาไว้ เพ่ือเป็นรากฐานในการดำ�เนินชีวิต เม่ือวิกฤตโควิด-19 มาถึง ในวนั น้ี ไดพ้ สิ จู นใ์ หเ้ หน็ วา่ การทป่ี ระชาชนมคี วามเขา้ ใจในการสรา้ งสขุ ภาวะ และด�ำ เนนิ ชวี ติ เพอ่ื สรา้ งสขุ ภาวะ จะเปน็ สง่ิ ทช่ี ว่ ยท�ำ ให้ ก้าวผา่ นวกิ ฤตทางสขุ ภาพครั้งใหญข่ องโลกไปได้อยา่ งไร ยา โรงพยาบาล อาจจะไมใ่ ชค่ �ำ ตอบของผคู้ นในวนั นอ้ี กี ตอ่ ไป เพราะหวั ใจส�ำ คญั ของ สุขภาพในนิยามใหม่ อยูท่ ีส่ งั คม วิถีชีวติ ผคู้ น และสงั คมส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั การทำ�งานเพ่ือเปล่ียนวิถีชีวิตของผู้คนในวันท่ีล่วงผ่านมา ไม่ใช่เร่ืองง่าย การท�ำ งานไดอ้ าศยั พลังจากทกุ ภาคส่วน ทง้ั “พลังสงั คม” “พลังปัญญา” “พลังนโยบาย” ไม่ใช่แค่ก�ำ ลังจากเฉพาะคนภาคสุขภาพเท่านั้น แต่ สสส. ท�ำ งานกบั ภาคที กุ ภาคสว่ น ทง้ั ภาครฐั เกนิ 10 กระทรวง ภาคประชาสงั คม ภาคทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน ภาควชิ าการมาประสานพลงั กนั เพอ่ื ลงมอื สรา้ ง ความเปลยี่ นแปลง สุขภาวะ ของผคู้ น กลุม่ คนเลก็ ๆ ที่มารวมตวั กนั แตกแขนงงานออกไป จนกลายเปน็ ภาคีนบั หมนื่ ท่วั ประเทศ ทำ�งานบนความเช่อื เดียวกันทวี่ า่ เราสามารถเปลยี่ นแปลงชวี ติ ผคู้ นไปสกู่ ารมสี งั คม สภาพแวดลอ้ ม ตอบสนองการมสี ขุ ภาวะดไี ด้ การเดนิ ทางตลอด 20 ปที ผ่ี า่ นมา มีความเปลี่ยนแปลงเกดิ ข้นึ มากมาย แต่เรายังหยุดเดินทางตอ่ ไม่ได้ เพราะยังมคี วามท้าทายใหม่ๆ เกิดขึน้ อยตู่ ลอดเวลา กา้ วตอ่ ไป เรายงั คงเชอ่ื วา่ ทกุ คนสามารถสรา้ งสรรคส์ งั คมสขุ ภาวะใหก้ ลายเปน็ ความจรงิ ความสขุ ของสงั คมไทยคอื เปา้ หมาย ทย่ี ่งิ ใหญ่ และจะเกิดขนึ้ จริงได้ ด้วยความร่วมมือเทา่ นั้น นิตยสารสรา้ งสุข 5
20 Big Changes ความเปล่ยี นแปลงสขุ ภาวะ ตลอดการเดนิ ทางเพอ่ื สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพใหก้ บั ประเทศไทย สสส. ไดส้ รา้ งความเปลย่ี นแปลง สงั คมไทยในหลากหลายมติ ิ หลายคนสามารถจดจ�ำ ประเดน็ ใหญใ่ นการรณรงคไ์ ด้ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งการหา้ มสูบบุหรใี่ นทีส่ าธารณะ ท่เี ร่มิ จากวลี งา่ ย ๆ “คุณมาท�ำ รา้ ยฉันทำ�ไม” เพ่ือให้ผคู้ น ตระหนักถึงพิษภัยของควันบุหร่ี หรือจะเป็น “จน เครียด กินเหล้า” ท่ีจุดประเด็นให้คนหันมา สนใจการเลกิ ดม่ื ทอ่ี นั ตรายตอ่ สขุ ภาพ หรอื โครงการอยา่ งงดเหลา้ เขา้ พรรษา ทต่ี อ่ ยอดเปน็ งาน บญุ ปลอดเหลา้ ประเพณปี ลอดเหลา้ เทศกาลปลอดเหลา้ หรอื “แคข่ ยบั เทา่ กบั ออกก�ำ ลงั กาย” ทท่ี ำ�ให้คนท้ังสังคมต่นื ตัว นับเป็นความเปล่ียนแปลงทางสังคม ท่ี สสส. ได้จุดประกายและทำ�ให้เกิดการต่อยอด ลงมอื รณรงค์สรา้ งความเปลีย่ นแปลงอย่างจริงจัง ในโอกาสครบรอบ 20 ปี อยากขอทบทวน เร่ืองราวต่าง ๆ ไปพร้อมกัน 01Big Changes จุดเรม่ิ ตน้ สสส. เสน้ ทางการเปล่ียนภาษบี าป สู่การสรา้ งเสริมสุขภาพของไทย เมื่อ 20 ปี ท่ีผา่ นมา โรคไม่ติดต่อเร้อื รัง (NCDs) ถือเป็นปัญหาสขุ ภาพ ทแี่ ซงหนา้ โรคอน่ื ๆ ทง้ั โรคหวั ใจ ความดนั หลอดเลอื ด เบาหวาน ลว้ นมสี าเหตุ มาจากพฤติกรรมเส่ียง เริ่มแรกประเทศไทยมีการทำ�งานที่พยายามเปลี่ยน คา่ นยิ มเรอื่ งการสบู บหุ ร่ี ซง่ึ มี ศ.เกยี รตคิ ณุ นพ.ประกติ วาทสี าธกกจิ ประธานมลู นธิ ริ ณรงคเ์ พอื่ การไมส่ บู บหุ ร่ี เปน็ ผอู้ ยเู่ บอ้ื งหลงั การผลักดัน ความสำ�เร็จในจุดน้ันทำ�ให้บุคลากรในแวดวงสุขภาพ ได้เร่ิมศึกษาตัวอย่างองค์กรสุขภาพในประเทศออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกาท่ีมีการจัดเก็บภาษียาสูบ หรือท่ีเรียกกันว่า ภาษีบาป (Sin Tax) และใช้มาเป็นแหล่งงบประมาณนวัตกรรม (Innovative Financing) ในการสนับสนุนและควบคุมโรค จนกลายเปน็ พระราชบญั ญตั กิ องทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ พ.ศ. 2544 ในท่ีสุด และเป็นจุดกำ�เนดิ สสส. ถือเปน็ การเตมิ ชอ่ งวา่ งในการจดั การกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรื้อรัง ลดปัญหาการขาดแคลน งบประมาณดา้ นสรา้ งเสรมิ สุขภาพเพ่ือมุ่งหน้าสู่ อนาคตอยา่ งยั่งยนื
02Big Changes 03Big Changes สรา้ งสงั คมไทยสู่การรวมพลงั สรา้ งองค์กรให้ยืดหยุ่นคลอ่ งตัว สรา้ งสรรคส์ ขุ ภาวะ สามารถขบั เคลอ่ื นสขุ ภาวะในทกุ วกิ ฤต การเดินทางไกล คงไม่สามารถเดินทางลำาพังได้ หลายคร้ังที่ประเทศไทยเกิดวิกฤตครั้งใหญ่ ไม่ว่า หัวใจสำาคัญของความสำาเร็จในการทำางานของ สสส. คือ จะเปน็ ภยั พบิ ตั คิ ลน่ื ยกั ษส์ นึ ามปิ ลายปี 2547, การแพรร่ ะบาด การขับเคล่ือนประเด็นสุขภาพ ผ่านการทำางานร่วมกันทุก ของโรคไข้หวัดนกระหว่างปี 2546-2549, วิกฤตการณ์ ภาคสว่ นแบบ Multi-Sectoral ทง้ั ภาคประชาชน ภาควชิ าการ ทางการเมืองไทยในช่วงปี 2548-2553 มหาอุทกภัยในปี ไปจนถึง ภาครัฐ เอกชน และทอ้ งถ่นิ จนเกดิ กลไกการทำางาน 2554 รวมถึงช่วงเวลาปัจจุบันที่เรากำาลังเผชิญวิกฤต ทเ่ี ขม้ แขง็ นาำ ไปสกู่ ารเชอ่ื มโยงสานพลงั ภาคเี ครอื ขา่ ย โดย สสส. โควดิ -19 ตลอดเวลาท่ีผา่ นมา สสส. มคี วามเชอ่ื ว่าวิกฤต ทาำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ดง่ั Innovative Enabler เหมอื นกบั นาำ้ มนั หลอ่ ลน่ื ที่อุบัติข้ึนใหม่ทุกคร้ัง ไม่สามารถแก้ไขปัญหาด้วยวิธีคิด ที่ช่วยให้ฟันเฟองต่าง ๆ ทำางานได้อย่างไหลลื่นรวมทั้งยัง และรูปแบบการทำางานแบบเดิม ๆ ที่ผ่านมาองค์กรแห่งนี้ วางบทบาทในการเป็น Incubator ท่ีทำาหน้าที่บ่มเพาะและ จงึ ไดม้ กี ารออกแบบการทาำ งานใหม้ คี วามยดื หยนุ่ คลอ่ งตวั สนับสนุนภาคีเครือข่ายจากภาคส่วนต่าง ๆ อย่างเข้มแข็ง สามารถปรับเปล่ียนการทำางานได้อย่างรวดเร็ว พร้อม ขยายผลขับเคลื่อนการทำางานด้านสุขภาพได้ไกลมากยิ่งข้ึน รับมือกับความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน ให้การผลักดัน และยังคงยึดถือรูปแบบการทำางานแบบน้ีต่อเนื่องเพ่ือรับมือ สุขภาวะในเมืองไทยสามารถเดินต่อไปได้โดยไม่สะดุด ความเปลยี่ นแปลงในวันขา้ งหน้า ซ่ึงการเรียนรู้จากวิกฤตจะนำาไปสู่การพัฒนานวัตกรรม การทำางานรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อรับมือกับส่ิงที่จะเข้ามาใน อนาคตต่อไป 04Big Changes พิสจู น์ความสำาเรจ็ สกู่ ารเป็นองคก์ ร สร้างเสริมสุขภาพชน้ั นาำ ระดบั โลก สสส. ไดร้ บั การยอมรบั ในเวทโี ลกมาแลว้ หลายครง้ั เชน่ สสส. คอื องคก์ รแรก ในเอเชีย ท่ีเปล่ียนภาษีบาปนำามาสร้างนวัตกรรมทางการเงินการคลังที่ย่ังยืน เพ่ือการสร้างเสริมสุขภาพ (Innovative and Sustainable Financing Mechanism for Health Promotion) และไดร้ ว่ มมอื กบั องคก์ ารอนามยั โลกเปน็ องคก์ รพเ่ี ลย้ี งแกป่ ระเทศ อื่น ๆ ที่สนใจโมเดลแบบ สสส. จนเกิดการแลกเปล่ียน เรียนรู้ ระดมความคิด ต่อยอด พัฒนาการ และล่าสุด ปี 2564 สสส. ได้รับรางวัลเนลสัน แมนเดลา ด้านการสร้างเสริม สุขภาพ (WHO Nelson Mandela Award for Health Promotion) จากการสนบั สนนุ โครงการสง่ เสริมสุขภาพ กว่า 3,000 โครงการต่อปี สสส. ภูมิใจในการเป็นส่วนหน่ึงของการสร้างแรงบันดาลใจ ยังมุ่งส่งต่อไอเดีย การทำางานเพื่อนำาไปสูเ่ ส้นทางสร้างสขุ ภาวะเดียวกัน นติ ยสำรสร้างสขุ 7
05Big Changes เปลีย่ นแปลงสังคมไทย สรา้ งวฒั นธรรมต่อตา้ นภัยบหุ ร่ี สสส. เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการสนบั สนนุ ยทุ ธศาสตร์ MPOWER ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่เป็น เหมือนเครื่องมือชี้วัดการควบคุมยาสูบในประเทศต่าง ๆ ซง่ึ สสส. รว่ มกบั คณะกรรมการควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู แหง่ ชาติ (คบยช.) และกระทรวง สาธารณสขุ ไดอ้ อกยทุ ธศาสตรก์ ารควบคมุ ยาสบู แหง่ ชาติ มาถงึ 3 ฉบบั ตลอด 20 ปี ทำ�ให้เกิดมาตรการควบคุมยาสูบที่ครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมปลอดควันบุหร่ี รวมทั้งส่งเสริมการเลิกใช้ ปรบั ปรงุ กฎหมาย รวมถงึ ก�ำ หนดใหท้ ส่ี าธารณะ และทท่ี �ำ งานทกุ แหง่ ปลอดควนั บหุ ร่ี 100% จากการผลกั ดันอยา่ งต่อเนอื่ ง ในทสี่ ุดกเ็ กดิ “พ.ร.บ.ควบคมุ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560” ท่ีปรบั ปรุงกฎหมาย ฉบับเดิมใหต้ อบโจทย์ปัญหาในปจั จบุ ันมากยง่ิ ขน้ึ เป็น พ.ร.บ. ใหม่ ท่ีมีความเข้มข้นในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดบุหรี่มากย่ิงขึ้น และครอบคลมุ ถงึ การรบั มอื กลยทุ ธท์ างการตลาดของอตุ สาหกรรมยาสบู อกี ดว้ ย มีเปา้ หมายลดจำ�นวนผสู้ บู ไมเ่ กนิ 15% ภายในปี 2568 06Big Changes สรา้ งคา่ นยิ มใหม่ในสังคมไทย ลด ละ เลกิ การดมื่ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ ปัญหาจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เคยเป็นต้นเหตุของโรค ไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั (NCDs) อบุ ตั เิ หตุ ความรนุ แรง อาชญากรรม แตจ่ ากการผลกั ดนั ประเดน็ สขุ ภาพในสว่ นของการดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยใชท้ ง้ั การวจิ ยั การผลกั ดนั กฎหมาย ทำ�ให้เกดิ นโยบายสำ�คญั หลายประการ อาทิ การหา้ มโฆษณา ห้ามเปิด รา้ นเหลา้ รอบสถานศกึ ษา ก�ำ หนดคา่ ปรมิ าณแอลกอฮอล์ ในเลอื ดผขู้ ับขี่ยานพาหนะไมเ่ กิน 50 มิลลกิ รมั เปอรเ์ ซ็นต์ มาตรการควบคมุ การเขา้ ถงึ การขายการดม่ื ท�ำ ใหผ้ ลส�ำ รวจ ของส�ำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ พบวา่ ชว่ งเวลา 10 ปที ผ่ี า่ นมา ค่านิยมการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ในประเทศไทยมีแนวโน้มลดลง ซึ่งใน อนาคตยงั จ�ำ เปน็ ตอ้ งสรา้ งสภาพแวดลอ้ ม และพื้นที่ปลอดเหล้าให้มากข้ึนไปอีก เพื่อให้การควบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เปน็ ไปอย่างเข้มแขง็ 8 นติ ยสารสร้างสุข
07Big Changes 08Big Changes รณรงค์สร้างความปลอดภยั พัฒนาระบบอาหารเพอื่ สุขภาวะ บนท้องถนน เพ่อื สขุ ภาพดที ่ียั่งยนื คนไทยเคยเสียชีวิตถึงปีละ 22,491 คน เพราะอุบัติเหตุ แม้ว่าประเทศไทยจะอุดมสมบูรณ์ด้านทรัพยากร ทางถนน เม่ือปี 2561 โดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา อาหาร แต่ยังมีปัญหาที่ซับซ้อนของระบบอาหารและ ประเทศไทย (TDRI) รายงานว่าในปี 2554-2556 มีมูลค่า เกษตรกรรมจากความเหลื่อมลำ้� ปัญหาความยากจน เสยี หายทางเศรษฐกิจจากอุบัตเิ หตุสงู ถึง 545,435 ลา้ นบาท หนี้สินเกษตรกร และการใช้สารเคมีปริมาณมาก จนส่ง ต่อปี การสร้างความปลอดภัยทางถนน จึงเป็นโจทย์สำ�คัญที่ ผลกระทบต่อความม่ันคงทางอาหาร และย้อนกลับไปท่ี สสส. เดินหน้าแก้ปัญหาโดยสนับสนุนภาคีเครือข่ายด้าน ปญั หาสุขภาพคนไทย เพราะการบรโิ ภคอาหารที่มีสารพิษ ความปลอดภัยบนท้องถนน ผา่ นยุทธศาสตร์ที่เรยี กวา่ 5E คือ ตกค้างทุกวันอาจเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง เนื้องอก การบังคับใช้กฎหมาย (Enforcement) การให้ข้อมูลความรู้ และโรคหัวใจ ซ่งึ เม่อื ช่วงปี 2537-2559 คนไทยเสียชีวิต การส่ือสารประชาสัมพันธ์ (Education) วิศวกรรมจราจร จากกลุ่มโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ประกอบกับ (Engineering) การจัดระบบบรกิ ารฉกุ เฉนิ (EMS) และการ พฤติกรรมบริโภคที่เปล่ียนไป สสส. จึงได้สนับสนุนการ ประเมินผล (Evaluation) การทำ�งานในอนาคตจำ�เป็นต้อง ศกึ ษาวิจัย พัฒนาองคค์ วามรู้ การรณรงค์ส่อื สารใหเ้ ขา้ ใจ อาศยั งานวิจยั แปรเป็นนวัตกรรม และใช้เทคโนโลยีผสมผสาน ไดง้ า่ ยและชดั เจน ในเรอ่ื งความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health กับการใช้กฎหมาย และความร่วมมือจากชุมชนผ่าน “ตำ�บล Literacy) และทักษะในการบริโภคอาหารสุขภาวะ (Life รวมพลัง” เพราะหาก 1 ตำ�บลลด Skills) และการใชว้ ถิ ชี วี ติ ทม่ี สี ขุ ภาวะ (Well-Being) รวมทง้ั ผู้เสียชีวิตได้อย่างน้อย 1 คน การรว่ มมอื ท�ำ งานกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยจ�ำ นวนมาก เพอื่ พฒั นา ก็ เ ท่ า กั บ ล ด ผู้ เ สี ย ชี วิ ต ไ ด้ ระบบอาหารท่ียั่งยืน ซึ่งต้องวางแผนระยะส้ัน ระยะยาว 7,000 รายต่อปีแลว้ เพอ่ื เปลย่ี นแปลงระบบอาหารเพอ่ื สขุ ภาวะใหเ้ ปน็ ผลส�ำ เรจ็ นติ ยสารสร้างสุข 9
09Big Changes 10Big Changes จุดกระแสกจิ กรรมทางกาย เปดิ ใจ รบั รู้ ป้องกัน แกไ้ ข เพื่อวถิ ีชวี ติ สุขภาวะคนไทย ปญั หาสุขภาวะทางเพศ ความหมายของการออกก�ำ ลงั กายเปลยี่ นไปมาก ปัญหาเร่ืองเพศ ไม่ว่าจะเป็นเร่ือง จากอดตี เมอ่ื WHO ไดใ้ หน้ ยิ ามกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ การต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร การติดโรค ประจำ�วันของเรา รวมเข้าไปอยู่กับการออกกำ�ลังกาย ตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ การใชค้ วามรนุ แรง ซึง่ เรียกวา่ “กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)” การล่วงละเมิดทางเพศ ไปจนถึงการยุติ สสส. จึงได้มีการผลักดันการสื่อสารให้ประชนชาชน การต้ังครรภ์ เป็นส่ิงที่ตอ้ งร่วมกนั แกป้ ญั หา ได้เข้าใจคำ�นี้มากย่ิงขึ้น โดยรณรงค์ผ่านวิธีคิดแบบ สสส. ท�ำ งานรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยทเ่ี ชยี่ วชาญดา้ นสขุ ภาวะทางเพศ การตลาด เพ่ือให้ข้อมูลต่าง ๆ ไปได้ไกลมากย่ิงขึ้น สนับสนุนการพัฒนา เผยแพร่ความรู้ รวมไปถึงการพัฒนาระบบ ซึ่งผลดีท่ีเกิดขึ้น คือคนไทยหันมาดูแลสุขภาพผ่าน ชว่ ยเหลอื เบอ้ื งตน้ ด�ำ เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสม�ำ่ เสมอตง้ั แตป่ ี 2555 การขยับร่างกายมากย่ิงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเดิน วิ่ง จนถึงปัจจุบัน และได้มีการปรับชื่อเป็น “คณะกรรมการประสาน หรือปั่นจักรยาน ทำ�ให้ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่าย ยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคลอื่ นงานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภ์ ในการรกั ษาพยาบาล สามารถชว่ ยลดมลภาวะจากการ ในวัยรุ่นและเอดส์” เพื่อประสานประเด็นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและ ใช้ระบบขนส่งสาธารณะ รวมถึงการตื่นตัวเรื่องพ้ืนที่ เอชไอวเี ขา้ ดว้ ยกนั อกี ดว้ ย ซง่ึ อนาคตยงั ตอ้ งขยายไปถงึ กลมุ่ เปราะบาง สีเขียวและพื้นท่ีสาธารณะมากย่ิงข้ึน ซึ่งปลายทาง ในสังคม และกลุ่มท่ีมีความหลากหลายทางเพศ พร้อมวางระบบ สสส. คาดหวงั ใหค้ นไทยมกี จิ กรรมทางกายทเี่ พยี งพอ ผูเ้ ชี่ยวชาญเรือ่ งเพศวิถีศกึ ษาและทกั ษะชีวิตให้มากข้นึ เพื่อทำ�ให้ทั้งสุขภาวะทางกาย ใจ สังคม และปัญญา ของคนไทยยั่งยนื 11Big Changes ตำ�บลสายพันธ์ใุ หม่ ชมุ ชนทอ้ งถ่ินเขม้ แขง็ ทว่ั ไทย สูก่ ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน ภาคีสร้างสุขภาพ คือ หัวใจและกลไกสำ�คัญ ที่จะทำ�ให้ การทำ�งานประสบความสำ�เร็จหรือไม่ ที่ผ่านมา สสส. สานพลัง ภาคีเครือข่ายจากทั่วประเทศตามเจตนารมณ์ที่ สสส. ยึดถือ มาตลอดคอื “การมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นทไ่ี มใ่ ชส่ ขุ ภาพโดยตรงเขา้ มา จัดการกับสขุ ภาพ (Engage non health sectors to address health)” เพื่อพัฒนาความสามารถของชุมชนในการสร้างเสริม สุขภาพ โดยมีเป้าหมายในการสร้าง “ตำ�บลสายพันธุ์ใหม่” ซ่ึงมี องคป์ ระกอบ คอื ชุมชนทอ้ งถิน่ น่าอยู่, ชุมชนท้องถิน่ จัดการตนเอง และชุมชนท้องถ่ินเข้มแข็ง ซ่ึงมีจุดแข็งสำ�คัญที่จะปรับตัวรับมือ กับความเปล่ียนแปลงและวิกฤตสุขภาพได้ สสส. ยังคงมุ่งเป้า ในการพฒั นาชมุ ชนใหพ้ รอ้ มกบั การเปลย่ี นแปลง ท่ีเรียกว่า “วิถีใหม่ของชุมชนท้องถ่ิน” (Transformative Community) ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ่งั ยืน (SDGs) ของประเทศไทยในอนาคตตอ่ ไป 10 นติ ยสารสร้างสุข
12Big Changes องคก์ รแหง่ ความสุข ยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทยในท่ีท�ำ งาน คุณภาพชีวิตในที่ทำ�งาน ถือเป็นตัวกำ�หนดความสุขอย่างหนึ่งในชีวิต เพราะเราใช้เวลา ส่วนมากไปกบั การท�ำ งาน สสส. เล็งเห็นความส�ำ คัญในการสร้าง “องคก์ รสขุ ภาวะ” (Happy Workplace) สง่ เสรมิ สขุ ภาพของคนวยั ท�ำ งาน ผา่ นแนวทาง Healthy Workplace Framework ขององคก์ ารอนามยั โลก ใน 8 มิติ (Happy 8) อยา่ ง Happy Body สรา้ งสุขภาพแขง็ แรงทัง้ กายและใจ Happy Heart สรา้ งสัมพันธท์ ่ีดใี นการท�ำ งาน Happy Brain พัฒนาความรู้ในการใชช้ ีวติ และทำ�งาน Happy Relaxation ลดความเครียดในการทำ�งานและดำ�เนินชีวิต Happy Soul ใช้หลักคุณธรรม จริยธรรม ในการทำ�งานและใช้ชีวิต Happy Money บริหารจัดการการเงินของตนเองและ ครอบครัว Happy Family มีครอบครัวทอ่ี บอ่นุ และมน่ั คง และ Happy Society ร่วมกันสร้าง สงั คมทดี่ ใี นและนอกทท่ี �ำ งาน ซง่ึ สรา้ งความตนื่ ตวั ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสงั คมหนั มาใหค้ วามใสใ่ จสขุ ภาวะ ในท่ีทำ�งานอย่างมาก โดยเรายังเช่ือว่า การผลักดันองค์กรสุขภาวะยังคงเป็นส่วนหนึ่งของการ ขับเคลือ่ นประเทศใหม้ ีคณุ ภาพได้ 13Big Changes 14Big Changes ใส่ใจสขุ ภาวะเดก็ และเยาวชน ยกระดับคณุ ภาพชวี ิต สรา้ งการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการทส่ี มวยั กลุม่ เปราะบางในสงั คมไทย เด็ก คือ อนาคต การลงทุนในเด็กจะได้ผลกลับคืน ประชากรกลุ่มเปราะบางในสังคม ถึง 7 เท่า ซึ่งการลงทุนในประเด็นสุขภาพหากเริ่มต้ังแต่ มีปัญหาต้องแก้ไขในหลายมิติ ไม่ว่า ในเดก็ กจ็ ะลดภาระคา่ รกั ษาพยาบาลไดม้ หาศาล หวั ใจส�ำ คญั จะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ในการพัฒนาเด็ก คือเร่ืองของการสร้างเสริมศักยภาพ ชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา วิถีชีวิตทางเพศ ของครอบครัวและชุมชน สสส. ให้ความสำ�คัญกับประเด็น สสส. รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย ภาครฐั แกป้ ญั หา ดังกล่าว ผ่านการสนับสนุนโครงการต่าง ๆ มากมาย อาทิ ประชากรกลุ่มนี้ ท้ังการลงทะเบียนเพื่อพิสูจน์และพัฒนา การสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ กลไกการท�ำ งานระดบั ประเทศ การจดั การ สถานะบุคคล การสร้างกระบวนการเสริมสุขภาวะคนไร้บ้าน อาหารและโภชนาการในโรงเรียน การพฒั นาองค์ความรแู้ ละ การจัดต้ังและพัฒนาล่ามชุมชน การสร้างทัศนคติเชิงบวก เครอ่ื งมอื เพอ่ื สรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะเดก็ ปฐมวยั การพฒั นาแกนน�ำ ตอ่ คนไรบ้ า้ น ผา่ นการสอื่ สารหลายชอ่ งทาง เพอื่ สรา้ งความรู้ และตน้ แบบในการศกึ ษา เปน็ ตน้ สสส. และภาคเี ครอื ขา่ ยทมุ่ เท สร้างสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งส่งผลให้เกิดการ ความเข้าใจ รวมไปถึงการ เปลยี่ นแปลงในหลาย ๆ ดา้ น รวมถึงสุขภาพและพฒั นาการ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ของเดก็ ทีด่ ีขึ้น คนไรบ้ า้ นและการสรา้ งอาชพี ซึ่งทำ�ให้การเข้าถึงสิทธิเพิ่ม มากข้ึน แต่ยังมีช่องว่างท่ี จำ�เป็นต้องหาทางแก้ไขต่อ ไ ป เ พ่ื อ ใ ห้ ทุ ก ค น มี โ อ ก า ส และมีชีวิตอย่างสมศักด์ิศรี เท่าเทยี มกนั นติ ยสารสรา้ งสขุ 11
15Big Changes 16Big Changes รองรบั สังคมสูงอายแุ ละ สร้างความเข้มแขง็ ยกระดบั คุณภาพชีวิตคนพกิ าร ในการคุ้มครองผบู้ ริโภค ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุแล้ว แต่ผู้สูงอายุและ พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคทเ่ี ปลยี่ นแปลงหลงั จากโลกเขา้ สยู่ คุ คนพกิ ารมกั เปน็ กลมุ่ ประชากรทถ่ี กู ละเลยจากสงั คมอยเู่ สมอ ดิจิทัลมากขึ้น ทำ�ให้เกิดปัญหาจากสินค้าและบริการที่เกิด นอกจากน้ีสภาพแวดล้อมในประเทศไทยยังไม่เอื้อต่อ ผลเสียต่อสุขภาพตามมาจำ�นวนมาก โดยปี 2560-2562 การดำ�รงชีวิตของผู้สูงวัยและคนพิการ ไม่ว่าจะเป็นผังเมือง มีผ้บู ริโภคร้องเรียนว่าถูกเอาเปรียบจากการค้าไม่เป็นธรรม ที่อยู่อาศัย ระบบคมนาคม สสส. ได้ผลักดันให้เกิดความ และยงั พบสนิ คา้ ทก่ี ระทบตอ่ สขุ ภาพในทอ้ งตลาดจ�ำ นวนมาก ตระหนักในการสรา้ งสภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ตอ่ ประชากรสูงวยั สสส. ร่วมกับภาคี ทำ�แผนควบคุมปัจจัยเส่ยี งทางสุขภาพ และผู้พิการ เพื่อใหค้ นกลมุ่ น้ีพงึ่ พาตวั เอง มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี ใน 3 ด้านด้วยกัน คือ การสร้างความเข้มแข็งด้านวิชาการ เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ มากมาย เช่น ผลักดันการพัฒนา การเพ่ิมศักยภาพกลไกคุ้มครองผู้บริโภคจากภาครัฐ และ รูปแบบการจ้างงานคนพิการร่วมกับมูลนิธินวัตกรรม การเพิ่มความเข้มแข็งกลไกคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน ทางสังคม ให้เกิดการ “จ้างงานเชิงสังคม” หรือการพัฒนา เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และให้ผู้บริโภค ระบบรองรับสังคมสูงวัย โดยร่วมกับเครือข่ายแรงงาน ตระหนกั ถงึ สทิ ธขิ องตนเอง เทา่ ทนั นอกระบบ ขับเคลื่อน พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติเพ่ือ ความเส่ยี งที่เกดิ ขึน้ ในปัจจบุ ัน สร้างหลักประกันทางรายได้ยามสูงวัย เพ่ือให้คนทุกวัยและ ทุกกลมุ่ ได้รับการดแู ลอยา่ งทวั่ ถงึ 17Big Changes ระบบสขุ ภาพอำ�เภอ สรา้ งสขุ ภาวะระดบั พ้ืนที่ทั่วประเทศไทย การผลกั ดัน “สขุ ภาพดีถว้ นหน้า” (Health for All) ใหเ้ กิดขน้ึ จรงิ เป็นภารกิจใหญ่ท่ี สสส. ม่งุ เป้าพาประเทศไทยเดินทาง ไปใหถ้ งึ หนง่ึ ในความพยายามส�ำ คญั คอื การรเิ รม่ิ ระบบสขุ ภาพระดบั อ�ำ เภอ โดยในปี 2555 สสส. ไดเ้ รมิ่ ตน้ การสรา้ ง “ระบบสขุ ภาพ อ�ำ เภอ” รว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ยในอ�ำ เภอสารภี จ.เชยี งใหม่ รเิ รม่ิ โครงการ “สารภโี มเดล” เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ การพฒั นาระบบปฐมภมู ิ และระบบสขุ ภาพชมุ ชน ท�ำ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู สขุ ภาวะและการวางแผนรกั ษา เปลย่ี นจากการท�ำ งานเชงิ รบั เปน็ เชงิ รกุ จนกลายเปน็ ตน้ แบบ ใหก้ บั ชมุ ชนอน่ื ๆ ซง่ึ การสรา้ งระบบขอ้ มลู สขุ ภาพระดบั อ�ำ เภอใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ทง้ั การสรา้ งระบบขอ้ มลู สขุ ภาพ เพม่ิ องคค์ วามรู้ รวมไปถงึ การสรา้ งนวตั กรรมสขุ ภาพใหม่ๆ ใหเ้ กดิ ขนึ้ และนวตั กรรมสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ ประชาชนจะไดป้ ระโยชน์ มากทส่ี ุด 12 นิตยสารสรา้ งสขุ
18Big Changes ปลกู พลังปัญญาสร้างจิตสำ�นึกใหมส่ สู่ ังคม สุขภาวะทางปัญญา คือ รากฐานนำ�ไปสู่การพัฒนาด้านอ่นื ๆ ปญั ญา กค็ ือ ความรู้ทว่ั รู้เท่าทันและความเข้าใจอยา่ งแยกได้ ในเหตผุ ล ความมปี ระโยชนแ์ ละความมโี ทษ ซง่ึ การมสี ขุ ภาวะดกี ต็ อ้ งมสี ง่ิ นเ้ี ปน็ พน้ื ฐาน สสส. ไดท้ �ำ งานรว่ มกบั ภาคี เพอ่ื สรา้ งระบบ ขอ้ มลู ขา่ วสาร เพอ่ื เผยแพรท่ ศั นคติ และคา่ นยิ มในสงั คมเกยี่ วกบั งานดา้ นสขุ ภาวะทางปญั ญา ผา่ นกระบวนการ RCN คอื การวจิ ยั (Research) การส่ือสาร (Communication) และการเชื่อมประสาน (Networking) สง่ ตอ่ เนอ้ื หาท่สี ามารถสรา้ งแรงบันดาลใจ รวมท้ังสร้างสงิ่ แวดลอ้ มและกจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีเหมาะสม และสง่ เสรมิ กระบวนการอาสา จนกลายเปน็ งานจติ อาสา ทที่ ำ�ให้พฒั นา กระบวนการพฒั นาทางจติ ใจผา่ นงานอาสาตา่ ง ๆ สขุ ภาวะทางปญั ญา ยงั เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ในโลกยคุ ใหม่ ทจ่ี ะชว่ ยสรา้ งจติ ส�ำ นกึ ในสงั คม ในโลกทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และซับซอ้ น 19Big Changes 20Big Changes สรา้ งสำ�นกึ ท่เี ท่าทันโลก งานส่อื สารสขุ ภาพยุคใหม่ ด้วยระบบนเิ วศสอ่ื สขุ ภาวะ เปล่ยี นพฤตกิ รรมผคู้ นในวงกว้าง ส่ือ ไม่ว่าจะสื่อเก่า หรือ ส่ือใหม่ สร้างผลกระทบต่อ กลไกการตลาดเพ่ือสังคม (Social Marketing) คือ สังคมเสมอมา ยิ่งโลกออนไลน์ก้าวเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิต เคร่ืองมือสำ�คัญท่ี สสส. ใช้เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง เท่าใด ก็ย่ิงสร้างผลกระทบเท่านั้น ปัจจุบันทุกคนสามารถ พฤติกรรมสุขภาพ ให้กับผู้คนในสังคมไทยมาตลอด 20 ปี เป็นท้ังผู้เสพสื่อ และผู้ผลิต ส่งต่อสื่อได้ในคราวเดียวกัน ไมว่ า่ จะเปน็ การสรา้ งความตระหนกั ถงึ ภยั ปญั หาของเครอ่ื งดม่ื และสามารถพบเจอเร่ืองราวบั่นทอนจิตใจอยู่เสมอ ไม่ว่า แอลกอฮอล์ การสูบบุหร่ี การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล จะเป็นข่าวปลอม/ข่าวลวง (Fake News) เนื้อหาที่สร้าง ความปลอดภัยบนท้องถนน ไปจนถึงการจุดกระแสการ ความเกลียดชัง (Hate Speech) เนื้อหาด้านเพศ ลามก ออกกำ�ลังกาย ทั้งหมดเหล่าน้ีล้วนทำ�งานผ่านแนวคิด อนาจาร โดย สสส. จบั มอื ภาคเี ครอื ขา่ ย พฒั นา “ระบบนเิ วศ “การสื่อสารงานสร้างเสริมสุขภาพ” ท่ีมุ่งสร้างความรอบรู้ ส่ือสุขภาวะ” (Healthy Media Ecosystem) ทั้งการให้ ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ให้ผู้คนตระหนักและเร่ิม ความตระหนักรู้เพื่อเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพสื่อ ปรบั พฤตกิ รรมของตวั เอง ในอนาคตยงั คงมโี จทยก์ ารสอ่ื สาร ไปจนถึงการผลักดันนโยบาย ผลักดันให้ประชาชนไทยก้าวสู่ ทท่ี า้ ทาย ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของสงั คม การเป็น “พลเมืองดิจิทัล” ที่มีความเท่าทันส่ือ และมี ซง่ึ ท�ำ ให้ สสส. ตอ้ งเรง่ เครอ่ื งใหเ้ ทา่ ทนั และใชน้ วตั กรรมสขุ ภาพ ความรับผิดชอบต่อสังคมในเวลา ใหม่ ๆ ผลกั ดนั ประเดน็ สุขภาวะต่อไป เดียวกัน ซึ่งจำ�เป็นต้องมีความ รอบรู้ ตระหนกั รเู้ รอ่ื งสขุ ภาพ นติ ยสารสร้างสุข 13 ใหเ้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลง
ดร.สปุ รีดา อดุลยานนท์ ผูจ้ ดั การ สสส. ทศิ ทางทศวรรษที่ 3 ในการกา้ วตอ่ ไปของ สสส. ภายใตแ้ ผนทีแ่ ละเขม็ ทิศใหม่ที่ท้าทาย การเกดิ ข้นึ ของ สสส. ตั้งแต่ 20 ปีก่อน เป็นการดัก หากถอดบทเรียน 20 ปี สสส. หัวใจความสำ�เร็จ อนาคตไว้โดยมองว่า สุขภาพในนิยามใหม่น้นั การรักษา คือ การวางจุดยืนตัวเองให้เปรียบเสมือนน้ำ�มันหล่อล่ืน ดว้ ยยาและโรงพยาบาล คอื ปลายน�ำ้ แตห่ วั ใจอยทู่ ส่ี งั คม เปน็ ตวั สรา้ งปฏกิ ริ ยิ าเคมที ส่ี ง่ ตอ่ ไปทว่ั ทง้ั สงั คม ดว้ ยสดั สว่ น วิถีชีวิตผู้คน และสังคมส่ิงแวดล้อมรอบตัวท่จี ะกำ�หนด เงนิ ทนุ เพยี ง 0.7% ของคา่ ใชจ้ า่ ยภาครฐั การเขา้ ไปสนบั สนนุ พฤติกรรม การจะแก้ปัญหาสุขภาพจึงต้องแก้ท่ีต้นเหตุ จุดประกาย กระตุ้น สานและเสริมพลงั อย่างตรงจดุ ทงั้ ท่ี ซึ่ง สสส. เกิดมาจากกองทุนภาษีสินค้าทำ�ลายสุขภาพ ไมม่ อี �ำ นาจกฎหมายในมอื แตใ่ ช้ “ไตรพลงั ” ในการขบั เคลอ่ื น ประสานความรว่ มมอื ทกุ ภาคสว่ นเพอ่ื รบั มอื กบั ปจั จยั เสย่ี ง สังคมให้เกิดการมีสขุ ภาวะ ทางสขุ ภาพ การทำ�งานในทศวรรษที่ 3 ในฐานะผู้นำ�องค์กร ดร.สุปรีดา กล่าวว่า สสส.มีการทบทวนตัวเองมาตลอด 14 นติ ยสารสรา้ งสุข ผา่ นการระดมความคดิ เหน็ ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ โดยมองเหน็ จดุ แขง็ เดมิ ทจ่ี ะยดึ ไว้ เชน่ บทบาทของการเชอ่ื มประสานพลงั ของทุกภาคส่วน ให้เกิดการทำ�งานร่วมกัน อย่างไรก็ตาม จะมีการนำ�ทุนท่ีสะสมไว้ เช่น ทุนของชุดความรู้ ข้อมูล บก๊ิ ดาตา้ ตา่ ง ๆ มาเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารดว้ ยตนเอง เพราะ สสส. มีทุนสะสมเป็นความเช่ียวชาญด้านการสร้างเสริมสุขภาพ มีความรู้ มพี ลงั ภาคี จงึ ตอ้ งต่อยอดแก้โจทยใ์ หม่ ๆ ยาก ๆ ในสังคมดว้ ยเครื่องมอื ใหม่บวกกับฐานความรเู้ ดิม
“สสส. ออกแบบตวั เอง ใหเ้ ปน องคก รเปด ความเปน สสส. 7 ประเดน็ สาำ คญั ทางสขุ ภาพ เปน็ สงิ่ ที่ สสส. จะยงั ไม่ได้เปนเพียงคนกลุ่มเล็กกลุ่มเดียว ที่ทํางานออฟฟศมีแค่ โฟกสั ไปพรอ้ มๆ กบั การตดิ ตามสถานการณโ์ รคอบุ ตั ใิ หม่ 200 คน แตม่ ีผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการนับพนั คน ภาคีนับหมื่น โรคระบาด ท่ีเช่ือว่าในเวลาต่อจากน้ีจะปะทุข้ึนมาได้อีก แนวรว่ มภาคนี บั แสนในการรว่ มคดิ รว่ มทาํ ฉะนน้ั การตดั สนิ ใจ ซึ่งการมีกระบวนการเฝ้าระวัง เตรียมความพร้อมทาง การเลอื กเสน้ ทางตา่ ง ๆ จะมปี ฏสิ มั พนั ธร ะหวา่ งผคู้ นกวา้ งขวาง สุขภาวะให้ประชาชน และลงมือแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว โดยหลกั องคก รรปู แบบน้ี จะมคี วามยดื หยนุ่ ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ถือเป็นสงิ่ ที่ สสส. จะให้ความสำาคญั ได้ง่าย” ดร.สุปรีดาเล่าถึงการปรับตัวของ สสส. เพ่ือรับต่อ การเปลีย่ นแปลงของโลก สสส. เป็นองค์กรนวัตกรรมสานพลังสร้างเสริม สุขภาพ การเดินทางในวันข้างหน้า จำาเป็นต้องมีการ ประเด็นสุขภาพท่ีจำาเป็นต้องให้ความสำาคัญในทศวรรษ ทบทวนการทำางานที่ผ่านมา เพื่อปรับปรุงองค์กรให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน และวางยุทธศาสตร์ 10 ปี ตอ่ ไป ดร.สปุ รดี า ชว้ี า่ มปี ระเดน็ ทม่ี นี ยั สาำ คญั ตอ่ สขุ ภาพประชาชน ข้างหนา้ เพือ่ ให้ สสส. เปน็ องค์กรช้นี ำาสขุ ภาวะแกส่ ังคม การออกเดินทางตามเข็มทิศใหม่ในวันข้างหน้า สสส. สูงสุด 7 เรื่อง ซ่ึงดำาเนินการต่อเน่ืองจากการทำางาน 20 ปี จะยังคงรักษาหัวใจสำาคัญของงานสร้างเสริมสุขภาวะ ทผ่ี า่ นมา คอื 1.ประเดน็ บหุ ร่ี แมว้ า่ ผสู้ บู จะลดลง แตม่ ผี ลติ ภณั ฑ์ ไปพร้อม ๆ กับการต่อยอดงานใหม่ พร้อมเปิดรับฟัง ใหม่ ๆ ดงึ ดดู ผคู้ นอยา่ ง บหุ รไ่ี ฟฟา้ จงึ ตอ้ งปรบั รปู แบบการทาำ งาน ความคดิ เหน็ และเรยี นรจู้ ากส่ิงทเ่ี กดิ ขึน้ ไปพรอ้ ม ๆ กับ ภาคีเครอื ขา่ ยสร้างเสรมิ สขุ ภาพทกุ ภาคส่วน เพื่อปดิ เกมน้ีใหไ้ ด้ 2.ประเด็นเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ แม้การด่ืมหนักจะทุเลา สสส. ไมห่ ยดุ ทจ่ี ะสานพลงั ดว้ ยนวตั กรรมความคดิ ค้นหาต้นตอปัญหาสู่การวางแผนงาน ท่ีสร้างสรรค์ แตก่ ารดม่ื แบบโซเชยี ลดรงิ คย์ งั ตอ้ งเฝา้ ระวงั เพราะเกย่ี วโยงไปถงึ รว่ มกบั ทกุ ภาคสว่ น ขบั เคลอ่ื นวชิ าการนโยบายและสงั คม สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสงั คมคมไทยอย่างยั่งยืน ปัญหาอุบัติเหตุ ความรุนแรง อาชญากรรมต่าง ๆ และกระทบ สุขภาพโดยตรง 3.ประเด็นอุบัติเหตุ ยังต้องเฝ้าระวังแม้จะมี เทคโนโลยี ๆ มากขน้ึ เชน่ รถไฟฟา้ ระบบราง รถขบั เคลอ่ื นอตั โนมตั ิ (Auto Pilot) ก็ตาม 4.ประเดน็ กจิ กรรมทางกาย การทคี่ นมพี ฤตกิ รรมเนอื ยนง่ิ วันละ 13 ช่ัวโมงเป็นโจทย์ใหญ่ จะต้องกระตุ้นให้มีกิจกรรมท่ี พอเพยี ง มกี ารออกกาำ ลงั กายปานกลาง อยา่ งนอ้ ย 150-200 นาที ต่อสัปดาห์ เป็นต้น 5.ประเด็นอาหาร ทั้งมิติความปลอดภัย ของอาหาร โภชนาการในอาหารลดหวาน มนั เคม็ เพราะทาำ ใหเ้ กดิ โรคอ้วนในเด็กทมี่ มี ากกวา่ 10% ซ่งึ เกนิ มาตรฐาน 6.ประเด็นสุขภาพจิต ถือเป็นโจทย์ที่หนักข้ึนเรื่อย ๆ โดยเฉพาะหลงั โควดิ -19 ระบาด รวมทง้ั ปญั หาการเมอื ง ชอ่ งวา่ ง ระหวา่ งวยั ทร่ี นุ แรงมากกวา่ เดมิ และ 7.ประเดน็ มลพษิ ทางอากาศ ทส่ี ถานการณร์ นุ แรงขน้ึ จนประเทศไทยตดิ 30 อนั ดบั แรกของโลก ดา้ นมลพิษทางอากาศ ซึ่งต้องลงมอื แก้ในระดบั มหภาค ปี 2564 ในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำาเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีจัดโดยสำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปรามปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำานักงาน ป.ป.ช.) สสส. ได้รับผลการประเมินคะแนน 93.68 สูงกว่าปีที่ผ่านมา ซ่ึงภาพรวมองค์กรต่าง ๆ ของประเทศอยทู่ ี่ 81.25 การประเมิน ITA มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐท่ัวประเทศได้รับทราบถึงสถานะและปัญหาการดำาเนินงาน ด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร โดยผลการประเมินที่ได้จะช่วยให้หน่วยงานภาครัฐนำาไปใช้ปรับปรุงพัฒนาองค์กร ให้มีประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน การใหบ้ ริการ สามารถอำานวยความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิ่งขึ้น นิตยสำรสรา้ งสขุ 15
Timeline Thaihealth’s 20-Year Journey ตลอดการเดนิ ทาง 20 ปี ของ สำ�นกั งาน พ.ศ. 2555 กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ - เปดิ ศูนยเ์ รยี นรู้สุขภาวะ “สสส.” มีหลากหลายภารกิจ หลายแคมเปญ - เรมิ่ ตน้ แคมเปญ “วง่ิ ส่ชู วี ิตใหม”่ รณรงค์ ทสี่ รา้ งความเปลย่ี นแปลงดา้ น “สขุ ภาวะ” - จดั ทำ�ระบบวเิ คราะห์ขอ้ มูลอุบตั เิ หตทุ างถนน 3 ฐาน ใหก้ บั สงั คมไทยอย่างมากมาย เราจะพาคณุ ยอ้ น ไปดูเส้นทางการทำ�งานตลอด 20 ปีท่ีผ่านมา พ.ศ. 2554 ของ สสส. ว่ามภี ารกจิ สำ�คัญอะไรบา้ ง - ผลกั ดัน พ.ร.บ. กองทุนการออมแห่งชาติ - รเิ ร่ิมโครงการสวดมนต์ข้ามปี พ.ศ. 2544 - สนบั สนุนจดั ตั้งศนู ยศ์ ึกษาปัญหาการพนนั (CGS) - จดั ตั้งกองทนุ สสส. พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2546 - พฒั นากลไก “สภาผนู้ าํ ชุมชน” - เปดิ แคมเปญ “งดเหล้าเข้าพรรษา” - ท�ำ การพฒั นาระบบฐานข้อมูลตําบลสขุ ภาวะ - ผลักดนั การเกิดข้นึ ของคณะกรรมการควบคมุ TCNAP และกระบวนการวิจัยชมุ ชน RECAP การบรโิ ภคเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ (คบอช.) - ร่วมผลกั ดันทศวรรษความปลอดภยั ทางถนน พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2552 - เริ่มต้นโครงการ Happy Workplace - เรม่ิ ตน้ สร้างความรว่ มมือกบั องค์กรปกครองส่วน - ผลักดนั การแข่งกีฬาปลอดเหลา้ บุหร่ี ท้องถ่ิน (อปท.) กวา่ 400 แห่ง - ผลกั ดนั จัดตัง้ ศูนย์วิจยั ปัญหาสรุ า (ศวส.) - จดั ตั้งสายดว่ นเลิกบหุ รี่ QuitLine 1600 - ใหก้ ารสนบั สนนุ กระทรวงคมนาคม จดั ท�ำ แผนแมบ่ ท พ.ศ. 2548 ความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2552-2555 - ร่วมพัฒนาแอปพลิเคชนั่ DoctorMe กบั หมอชาวบา้ น พ.ศ. 2551 - ก่อตั้งศูนยว์ จิ ยั และจัดการความรู้ - ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็น “วันงดดมื่ สรุ าแห่งชาต”ิ เพ่อื การควบคมุ ยาสูบ (ศจย.) - ผลกั ดนั จนเกดิ การออกพ.ร.บ. ควบคมุ การบริโภค - เรมิ่ แคมเปญรณรงค์ “กระเช้าปลอดเหลา้ ” เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 2551 ฉบบั แรกของไทย - กอ่ ตงั้ ศูนยอ์ ํานวยการความปลอดภัย - เรม่ิ การรณรงค์ “ให้เหลา้ = แชง่ ” ทางถนน (ศปถ.) - เร่มิ แคมเปญรณรงค์ “จน เครยี ด กนิ เหล้า” พ.ศ. 2550 - สนับสนุนมติ ครม. เรอ่ื งการจดั เรตต้งิ วทิ ยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2549 - เรม่ิ การ รณรงค์ “แคข่ ยบั = ออกกาํ ลังกาย” - รณรงคว์ ัฒนธรรมปลอดเหล้าในเทศกาลต่างๆ - รว่ มเชื่อมต่อความเปลย่ี นแปลงจัดตั้ง เช่น สงกรานต์ หรือ ลอยกระทง “ทวี สี าธารณะ” - ใหก้ ารสนบั สนนุ เครอื ข่ายหมออนามัย รณรงค์ลดอบุ ัติเหตุทว่ั ประเทศ - รณรงค์การยุติตลาดนมหวานส�ำ หรบั ทารก 16 นติ ยสารสร้างสขุ
พ.ศ. 2556 งาน 20 ปี ภาคีสรา้ งสขุ - ผลักดนั การพัฒนาฐานข้อมลู กิจกรรมทางกาย ระดบั ประเทศ GPQA นวัตกรรมความสขุ ท่ียง่ั ยนื - ผลกั ดันการจัดตงั้ ศนู ย์วิจยั กิจกรรมทางกาย เพ่อื สุขภาพ (PARC) พ.ศ. 2564 - ร่วมเป็นเจา้ ภาพ IUHPE ครั้งท่ี 21 - สสส. ครบรอบ 20 ปี - ไดร้ บั รางวลั Nelson Mandela Award for Health พ.ศ. 2557 Promotion 2021 - เรมิ่ ตน้ พฒั นาสุขภาวะผ้ตู ้องขังหญงิ - ร่วมท�ำ งานจดั การขอ้ มูลและส่อื สาร - รว่ มขับเคลื่อน พ.ร.บ. การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา เร่ืองโควิด-19 ผา่ น ไทยรู้สู้โควิด หมอพรอ้ ม การตัง้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ และ Hfocus - ผลกั ดนั พฒั นานโยบายระดบั ชาตเิ พือ่ ปอ้ งกนั - ขยายผล รปู แบบ และกลไกการปอ้ งกันโควิด-19 ความพกิ ารแตก่ ําเนิด สำ�หรับหมบู่ ้านจดั สรรในพืน้ ที่เขตเมอื ง - รว่ มสนบั สนุนจดั ตัง้ Community Isolation พ.ศ. 2558 - พัฒนาชุดส่ือให้ความรู้เกย่ี วกับวคั ซีนโควิด-19 - ผลักดันศูนยเ์ รียนรูส้ ุขภาวะ 4 ภาค ส�ำ หรบั แรงงานขา้ มชาติ 4 ภาษา ได้แก่ องั กฤษ - ผลกั ดนั พ.ร.บ. กองทนุ พัฒนาส่ือปลอดภัย เมยี นมาร์ ลาว กัมพูชา และสรา้ งสรรค์ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2563 - ผลกั ดันมาตรการควบคมุ การบรโิ ภคเครือ่ งดม่ื - รว่ มสนับสนุนและพัฒนาระบบสือ่ สารขอ้ มูลสุขภาพ แอลกอฮอล์ ระดับชาติ “ไทยร้สู โู้ ควดิ ” - รว่ มพัฒนารปู แบบการดูแลผูป้ ว่ ยโควิด-19 พ.ศ. 2559 และผไู้ ดร้ ับผลกระทบในมติ สิ งั คม - ผลักดนั ใหเ้ กดิ พ.ร.บ. การปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา - รว่ มพฒั นาตน้ แบบการคน้ หาผปู้ ว่ ยโควดิ -19 เชงิ รกุ การตั้งครรภ์ในวัยรนุ่ 2559 - ร่วมพฒั นาระบบ Telemedicine - รวมเป็นเจา้ ภาพ ISPAH 2016 เพ่อื ใช้ในการสอบสวนโรค การติดตามอาการ - จัดโครงการ 3 ลา้ น 3 ปี เลกิ บหุ ร่ที ั่วไทย ของผู้ปว่ ยโควดิ -19 ผา่ นเครอื ขา่ ยหมออนามัย และ อสม. - ผลักดนั สวสั ดิการเงินอดุ หนนุ เพอื่ การเล้ยี งดูเดก็ เล็ก - ผลกั ดันความรว่ มมอื เพอ่ื สร้างงานสร้างอาชพี ถ้วนหน้า คนพกิ าร 10,000 อัตรา พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2560 - พัฒนา ThaiHealth Academy - ครบรอบ 15 ปี สสส. การเดินทางของความสขุ - ขบั เคลือ่ นธนาคารเวลา (Time Bank) - ผลกั ดนั ให้เกดิ พ.ร.บ. ควบคมุ การสง่ เสรมิ - ผลกั ดันใหเ้ กดิ พ.ร.บ. การจัดต้งั สภาองค์กร การตลาดอาหารสำ�หรบั ทารกและเดก็ เล็ก ของผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 - ผลกั ดนั ให้เกดิ พ.ร.บ. ควบคุมผลติ ภัณฑย์ าสูบ - ผลักดันข้อเสนอเพิม่ ภาษีในเครอื่ งดื่มทม่ี ีสวนผสม พ.ศ. 2560 ของนํา้ ตาล - ผลกั ดันให้เกิดธรรมนญู สุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ - WHO ยก สสส. เป็นต้นแบบกลไกสร้างเสรมิ สุขภาพ พ.ศ. 2560 เพื่อป้องกนั โรค NCDs - เริ่มการประกวดนวตั กรรมสรา้ งเสริมสุขภาพ (ThaiHealth Inno Awards) - พัฒนาต้นแบบการสร้างเสรมิ สขุ ภาวะคนไรบ้ ้าน แบบครบวงจร นติ ยสารสร้างสขุ 17
นวตั กรรม ในโอกาสครบรอบ 20 ปี ที่ สสส. และภาคเี ครือขา่ ยสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพกว่า 20,000 ความสุขท่ียง่ั ยืน องคก์ ร/คน ไดร้ ว่ มกนั วางรากฐานการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะของประชาชนให้เติบโตและเข้มแข็ง พร้อม พฒั นาสกู่ ารเปน็ “สงั คมแหง่ สขุ ภาวะอยา่ งยง่ั ยนื ” จึงได้จัดแสดงนวัตกรรมสุขภาวะ ที่เปล่ียนแปลง พฤติกรรม วิถีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งที่ พฤตกิ รรม วถิ ชี วี ติ และสภาพแวดลอ้ ม ตลอดจนเพอื่ เปลี่ยนแปลงได้ หากมีความเชื่อและร่วมกันลงมือทำาให้ สอ่ื สารใหส้ งั คมไทยมคี วามเขา้ ใจในบทบาทการดาำ เนนิ เกิดขึ้นจริง และนอกเหนือจากความเช่ือ การสร้าง งาน ความสาำ คญั และคณุ คา่ ของงานขบั เคลอื่ นการสรา้ ง นวตั กรรมเพอ่ื เปลย่ี นแปลงวถิ สี ขุ ภาวะกถ็ อื เปน็ สง่ิ ท่ี สังคมสขุ ภาวะรว่ มกบั ภาคเี ครือข่าย สสส. เดนิ หนา้ ทำาอยา่ งจรงิ จงั มาตลอด 20 ปี นิทรรศการ 20 ปี ภาคีสร้างสุข (Virtual Exhibition) ด้วยเพราะโควิด-19 ทำาให้เกิดชีวิตวิถีใหม่ การจัดแสดงงานนำาเสนอ ประสบการณ์การขับเคล่ือนสังคมสุขภาวะที่มาผ่าน และการแสดงแผนงาน ท่ี สสส. จะมงุ่ มน่ั ในทศวรรษหนา้ จะถกู ถา่ ยทอดผา่ นโซนนทิ รรศการ 3 โซน บนระบบออนไลนท์ งั้ หมด • โซนที่ 1 องค์กรขับเคลือ่ นสังคมสุขภาวะ • โซนท่ี 3 ความทา้ ทายในอนาคต Health Promotion Agency สุขภาพไม่ใช่แค่เร่ืองของยา แต่เป็นเรื่องของการดูแล พาไปรจู้ กั จดุ เรมิ่ ตน้ ของ “องคก์ รทเ่ี ตบิ โตพรอ้ มสงั คมสขุ ภาพด”ี สงั คม สิง่ แวดล้อม วิถชี วี ิตผ้คู น และปรับตวั ตามบริบทของ ดว้ ยการใชน้ วตั กรรมขบั เคลอ่ื นสงั คมสขุ ภาวะ ทก่ี าำ เนดิ ขน้ึ มาจากวธิ กี าร โลกทห่ี มนุ เรว็ ขนึ้ ทกุ ที นคี่ อื ความทา้ ทายของ สสส. และภาคี และรูปแบบใหม่ในการสร้างองค์กรอิสระ โดยการนำางบประมาณจาก เครือข่ายที่ร่วมมือกันกว่า 15,000-20,000 คน/องค์กร ภาษีบุหรี่และแอลกอฮอล์ (Sin Tax) ท่ีเป็นนวัตกรรมกลไกการเงิน ทต่ี อ้ งทาำ งานกบั การเปลย่ี นความเชอ่ื ทศั นคติ และพฤตกิ รรม การคลงั (Innovative Financing) มาบรหิ ารจดั การ และกระบวนการ ไปพรอ้ ม ๆ กนั สสส. จงึ อยากสง่ ตอ่ ปณธิ านในการขบั เคลอ่ื น บรหิ ารการทาำ งานทเ่ี นน้ ความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ยทม่ี คี วามเชย่ี วชาญ สังคมสุขภาวะ เพ่ือสร้างสรรค์สังคมสุขภาพดีไปด้วยกัน หลากหลายสาขา (Multi-Sectoral) ตง้ั แตร่ ะดบั ชมุ ชน ถงึ ระดบั ประเทศ เพราะเราเชอ่ื วา่ สขุ ภาพทด่ี เี ปน็ ของประชาชนทกุ คน รว่ มสง่ ตอ่ พรอ้ มรบั ชมเสน้ ทางการทาำ งานขบั เคลอ่ื นสงั คมกวา่ 20 ปี เพอ่ื ใหค้ นไทย ปณธิ านผา่ น Interactive board ทท่ี กุ คนสามารถเปน็ สว่ นหนง่ึ มสี ขุ ภาวะท่ีดี ผ่าน Interactive timeline และทิศทางการขบั เคล่ือน ของการมสี ่วนร่วมในการสร้างสังคมสุขภาพดีไปดว้ ยกนั ในอกี 10 ปขี ้างหนา้ ท่ีทา้ ทายยิ่งข้ึน แนวทางการทำางานรปู แบบใหม่ สสส. • โซนที่ 2 ยกระดบั คุณภาพชีวติ ใหส้ ังคมไทย การทำางานของ สสส. ได้ผลิดอกออกผล แตกแขนง เม่ือการสร้างสังคมสุขภาวะมิใช่งานท่ีทำาได้ตามลำาพัง แต่เป็น การทำางานเพื่อมุ่งไปสู่การสร้างเสริมงานสุขภาวะในหลาย ๆ รูปแบบ โดยเกิดหน่วยงานพิเศษ คือ สถาบันการเรียนรู้ การทำางานโดยผสานวิทยาการหลากหลายด้าน สานทุกพลังให้มาสู่ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (ThaiHeath Academy) มพี นั ธกจิ เป้าหมายเดียวกัน จนกลายเป็นศาสตร์แห่งการสร้างเสริมสุขภาพ ในการพัฒนาศักยภาพและให้คำาปรึกษาภาคีเครือข่าย (Working Model) ของ สสส. ทีส่ ร้างผลลพั ธ์การเปล่ียนแปลงให้กบั เพอ่ื ยกระดบั ขดี ความสามารถนกั สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพมอื อาชพี สงั คมไทย พรอ้ มรบั ชมตวั อยา่ งผลงาน (Showcase) จากภาคเี ครอื ขา่ ย และศนู ยก์ จิ กรรมสร้างสขุ (SOOK Enterprice) มพี นั ธกจิ ภายในงาน ซง่ึ จะแบง่ เปน็ งานดา้ นนโยบาย ทที่ าำ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง ในการขยายผล สรา้ งเสรมิ ประสบการณด์ า้ นสขุ ภาวะใหเ้ ขา้ ถงึ คา่ นยิ มทางสงั คม การผลกั ดนั ใหเ้ กดิ กฎหมายในระดบั ประเทศ และขอ้ ตกลง ประชาชน ผ่านกิจกรรมและผลิตภัณฑ์สุขภาวะท่ีสร้างสรรค์ ระดับชุมชน ด้านงานสานพลังชุมชน ที่เกิดข้ึนได้เพราะการร่วมมือกัน สานความร่วมมือและบริหารจัดการเครือข่ายให้เกิดการ ของคนในชมุ ชน ดำาเนนิ งานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากนทิ รรศการ 20 ปี ภาคสี รา้ งสขุ (Virtual Exhibition) แลว้ โซนนวตั กรรมสรา้ งสขุ ไดร้ วบรวมนวตั กรรมสขุ ภาวะหลากหลาย รปู แบบ ท่ีเกดิ จากการรว่ มคดิ รว่ มสรา้ ง จนกลายเปน็ ผลงานที่ถูกนาำ ไปตอ่ ยอดเพอื่ สรา้ งประโยชน์ให้สังคมอยา่ งมากมาย 18 นติ ยสำรสร้างสุข
จดุ ประกายนวตั กรรมความสุข นาำ เสนอนวตั กรรมแนวคดิ และกระบวนการขบั เคลอ่ื นสงั คมสขุ ภาวะ ดว้ ยความมงุ่ มน่ั การสานพลงั ในการแกไ้ ข ปญั หา เพื่อนาำ ไปสกู่ ารเปล่ียนแปลงอยา่ งยั่งยืนในสงั คม + เครอื่ งมือปรบั พฤติกรรมบุคคล • นวดกดจุดเลิกบหุ ร่ี • สมนุ ไพรตวั ช่วยเลิกบหุ ร่ี • Condom4Teen by p2h • ลดการบรโิ ภคหวานลดการบริโภคเคม็ • การขบั เคล่อื นองค์กรสุขภาวะภาครฐั • MASK 4 ALL • Fun D นวัตกรรมส่งเสรมิ ทนั ตสขุ ภาพ + เคร่ืองมือสนบั สนุนการทาำ งาน • เพศวถิ ศี กึ ษารอบด้านสาำ หรบั เยาวชน • พลังเมอื งไทยสูภ้ ัยวิกฤติ (citizen resilience) ท่ีมีความบกพร่องทางการไดย้ ิน โดย วิทยาลยั ราชสุดา • Happy university • How to be องค์กรสุขภาวะ โดยมูลนธิ เิ คร่อื งนงุ่ หม่ • กิจกรรมเล่นตามวัย • เครอื่ งมอื วัดความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ Health Literacy • เกณฑ์ Health Literacy Organization (HLO) + ชุดความรู้ Knowledge • ศนู ย์วจิ ยั เพือ่ การจดั การความรู้เพื่อการควบคมุ ยาสูบ • ถอดรหสั 8 เมนสู กู่ ารสร้างเสรมิ สขุ ภาพ • ชดุ การเรียนรปู้ จั จยั เสีย่ ง • ศูนยว์ จิ ัยปญั หาสุรา • ฉลาดซ้อื • สงฆ์ไทยไกลโรค + ต้นแบบเชิงนโยบาย มาตรการ หรอื พน้ื ทีต่ น้ แบบ • แอลกอฮอล์กบั การลดปญั หาความรุนแรง • กลไกสภาผูน้ ำาชมุ ชน : รากฐานการสร้างเสริมสขุ ภาพอย่างย่ังยืน • การสร้างมมุ มองการรับรู้ใหม่ด้านกิจกรรมทางกาย • รณรงค์เร่อื งเหล้า • การจัดการสุขภาวะชุมชน • การจ้างงานคนพกิ าร ตลาดสรา้ งสุข (Market Place) ติดตามขอ้ มลู ไดผ้ า่ นเว็บไซต์ https://20th.thaihealth.or.th นำาเสนอแนวคิด ผลิตภัณฑ์ท่ีสร้างคุณค่าต่อสังคมในมิติ ต่าง ๆ อาทิ ปนั กนั อม่ิ รา้ นอยูไ่ ด้ สังคมอย่รู อดทีน่ อกจากอิม่ ท้อง แลว้ ยังเปน็ การร่วมทำาบุญอกี ทางหนง่ึ ด้วย ต่อยอดนวัตกรรมความสขุ (Innovation & Intellectual Property) แสดงผลงานนวตั กรรมและทรพั ยส์ ินทาง ปัญญาบางส่วนของ สสส. และภาคีเครือข่าย ที่ร่วมคิดร่วมสร้าง เพื่อใช้ดำาเนินงานในการ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เพม่ิ โอกาสใหผ้ ทู้ ส่ี นใจสามารถ ตดิ ตอ่ ขอนาำ ผลงานไปตอ่ ยอดหรอื ใชป้ ระโยชนใ์ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะในวงกวา้ ง ต่อไป อาทิ อนสุ ทิ ธิบัตรผลิตภัณฑ์ลูกอมสมนุ ไพรหญา้ หมอน้อยท่ีมสี รรพคุณ ช่วยลดการสบู บหุ รี่ เกา้ อร้ี องนั่งสาำ หรบั ขับถา่ ย เครื่องมอื วดั ความเข้มแข็งของชุมชน ทอ้ งถน่ิ ชดุ ปลกู ผกั สวนครวั อจั ฉรยิ ะ SOOK ชอ้ นปรงุ ลด เครอ่ื งวดั ความเคม็ Salt Meter และเสาหลกั นำาทางจากยางพารา เปน็ ต้น
สสส. ทำ�งานร่วมกับภาคีเครือข่าย ศ.นพ.ประกติ วาทสี าธกกจิ ประธานมลู นิธิรณรงค์ ท่ัวประเทศไทย กว่า 20,000 ภาคี หลาย ๆ เพือ่ การไมส่ ูบบุหร่ี ความเปล่ียนแปลงทางสุขภาพเกิดขึ้นได้จาก “ ส ส ส . เ ช่ื อ ม า ตั้ ง แ ต่ ต้ น ว่ า การผสานไอเดีย ร่วมกันผลักดันจนเกิดขึ้น “ป้องกัน” ดีกว่า “รักษา” นำ�ไปสู่ จริง อะไรคือ “ความฝัน ความหวัง และการ แนวทาง “สร้าง” นำ� “ซ่อม” ท่ีผ่านมา สสส. มีกลไกในการ เปลีย่ นแปลง” ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในทศวรรษตอ่ ไป สนับสนุนภาคี ทำ�ในส่ิงที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของสภาพ สิ่งแวดล้อม กรอบพฤติกรรมท่ีทำ�ให้คนสุขภาพดีข้ึน ความหวัง ดร.ประกาศติ กายะสิทธิ์ ของผมที่มตี อ่ อนาคตของ สสส. ก็คือ การท�ำ ให้สงั คมไทยเขา้ ใจ รองผู้จดั การกองทุน สสส. คอนเซปต์เร่ืองการสร้างเสริมสุขภาพมากยิ่งข้ึน ไม่ใช่คิดถึง “สสส. ไมส่ ามารถเกดิ ขน้ึ หรอื ท�ำ งานไดด้ ว้ ยคนใดคนหนง่ึ เรื่องสุขภาพต่อเม่ือไม่สบาย หรือคิดถึงความปลอดภัยเมื่อเกิด แต่เกิดจากทุก ๆ คนร่วมสร้างมาด้วยกัน ใช้ศาสตร์ความรู้ อบุ ตั เิ หตุ แตต่ อ้ งท�ำ ใหต้ วั เองสขุ ภาพดกี อ่ นทจ่ี ะปว่ ย ผา่ นทง้ั กลไก หลาย ๆ ดา้ นมาท�ำ งานเชอ่ื มประสานกนั แมห้ ลงั จากนห้ี นทาง ทางสงั คมและนโยบายของรฐั บาล โดยเรอ่ื งเหลา่ นไ้ี มใ่ ชภ่ าระของ ท่ีต้องเดินยังยาวไกล เหมือนไม่มีจุดจบ ไม่เห็นเส้นชัยใกล้ ๆ กระทรวงสาธารณสุขเท่าน้นั แตท่ ุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้อง ไมว่ า่ จะเปน็ เพราะปัญหาสุขภาพ สภาพแวดล้อม สังคม เปลี่ยนแปลง กระทรวงศกึ ษา ทม่ี หี นา้ ทใ่ี หค้ วามรู้ กระทรวงการคลงั ทท่ี �ำ หนา้ ท่ี อยู่ตลอดเวลา ทางข้างหน้าอาจจะยังมีอุปสรรค มีส่ิงที่ต้อง จัดเก็บภาษี กระทรวงพาณิชย์ในการดูแลสินค้าทำ�ลายสุขภาพ ยกระดับสู้ตอ่ ไป วนั ทจ่ี ะประสบความสำ�เร็จ ก็คอื วันท่สี ังคม ท้งั หลาย ก็ตอ้ งร่วมมือกัน” เคลอื่ นไปขา้ งหนา้ และเปล่ยี นไปสู่สงั คมสุขภาวะ” เบญจมาภรณ์ ลิมปษิ เฐยี ร ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้ชว่ ยผจู้ ัดการกองทุน สสส. ผู้ชว่ ยผ้จู ดั การกองทุน และรก.ผ้อู ำ�นวยการ สสส. และรก.ผูอ้ ำ�นวยการ ศูนยเ์ รียนร้สู ขุ ภาวะ สสส. สำ�นกั สร้างเสริมวถิ ีชวี ติ สขุ ภาวะ สสส. “ในช่วง 20 ปีท่ีผ่านมา มีประสบการณ์มากมายท่ี สสส. ได้พบและเรียนรู้ระหว่างทาง ทำ�ให้ สสส. เติบโตทางความคิด “สขุ ภาพไมใ่ ชเ่ พยี งแคเ่ รอ่ื งเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยหรอื การรกั ษาโรค และแตกแขนงประเด็นการทำ�งาน จากจุดเริ่มต้นที่มีเพียงงาน แต่หมายรวมถึงปัจจัยเเวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพด้วย ไมก่ ป่ี ระเดน็ แตจ่ ากการท�ำ งาน และเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ ท�ำ ให้ สสส. ท้ังสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิต โดยเฉพาะในยุค มีเพ่ือนร่วมทางอีกจำ�นวนมากที่ร่วมกันทำ�งานในประเด็นเชิง ท่ีโลกเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงมีโจทย์ใหม่ ๆ เข้ามา สขุ ภาวะท่คี รอบคลมุ และหลากหลาย ในวันขา้ งหน้า สสส. จะยัง ท้าทายเสมอ เมอ่ื พดู ถึงการมีสุขภาวะที่ดี ในยคุ นเี้ ราจึงกำ�ลัง เป็นองค์กรชั้นนำ�ในการสร้างเสริมสุขภาพ พูดถึงการพัฒนาโลกไปอย่างสมดุล ท้ังการดูแลสุขภาพ ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ เพอ่ื ชน้ี �ำ สงั คมตอ่ ไป” ในระดับบุคคล และการสร้างปัจจัยแวดล้อมที่จะส่งเสริม ให้คนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ภายใต้การใช้ทรัพยากรอย่างมี ภก.สงกรานต์ ภาคโชคดี ประสทิ ธภิ าพ” ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งาน เครอื ขา่ ยองคก์ รงดเหลา้ (สคล.) “สสส. เปน็ องคก์ รนวตั กรรม ทท่ี �ำ งาน เพอ่ื ตอบโจทยก์ ารสรา้ งสขุ ภาพ มหี ลกั การ ทำ�งานที่รวมพลังทุกภาคส่วน ร่วมกันผลักดันเชิงระบบ ให้เกิด พลงั ในการเปลย่ี นแปลงสงู และเกดิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งแรงผลกั ดนั พลังของเครือข่ายจึงสำ�คัญ เช่น เครือข่ายงดเหล้า มีคนทำ�งาน ในทกุ จงั หวดั จงึ สรา้ งพลงั ในการเปลย่ี นแปลงได้ แมใ้ นประเดน็ ท่ี หยั่งรากลึกมานานจนยากต่อการเปล่ียนแปลง สิ่งท่ีคาดหวังให้ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต คือ การที่คนไทยตระหนักวา่ การสรา้ งสขุ ภาพ เปน็ เรอ่ื งของทกุ คน และอยากมสี ว่ นรว่ ม ทง้ั เปลยี่ นแปลงตนเอง และรว่ มผลักดนั ใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงเชิงระบบด้วย” 20 นิตยสารสร้างสุข
นพ.วทิ ยา ชาตบิ ญั ชาชัย พระไพศาล วิสาโล ประธานแผนงานสนบั สนนุ การปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุจราจรระดับจังหวัด (สอจร.) เจา้ อาวาสวดั ป่าสคุ ะโต และผเู้ ช่ยี วชาญในคณะท่ปี รกึ ษาขององค์การ อนามัยโลกดา้ นการป้องกนั การบาดเจ็บ “ในทัศนะของอาตมา สสส. ทำ�ใหผู้คนตระหนักว่า “ในห้วงเวลาไม่ก่ีปีที่ผ่านมานี้มีสัญญาณบอกเหตุหลาย เร่ืองของสุขภาพไม่ใช่แค่เรื่องของร่างกายอย่างเดียว แต่รวม อย่างท่ีบ่งช้ีว่า โลกของเรากำ�ลังขยับเข้าสู่วิกฤตอันใหญ่หลวง ไปถึงมิติของจิตใจ สังคม สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณ อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองภาวะโลกร้อน ซ่ึงหมายความว่าการจะมีสุขภาพดีไม่ใช่แค่เร่ืองมีอาหาร อบุ ตั ภิ ยั สาธารณภยั โรคระบาด วกิ ฤตอาหาร น�ำ้ ดม่ื ผลกระทบ การกินดี มีโรงพยาบาลดี แต่ต้องมีมาตรการหรือกลไกทาง จากสภาพแวดลอ้ มทล่ี ว้ นเกดิ จากน�ำ้ มอื ของมนษุ ย์ จะยอ้ นกลบั สังคม จนไปถึงเศรษฐกิจการเมือง ท่ีจะช่วยให้สังคมมีมิติ มาท�ำ ลายมนษุ ยเ์ อง ซง่ึ ผลกระทบนน้ั สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยู่ ทัง้ ทางด้านสุขภาพกายและจิตใจด”ี ในทุกมิติ การมองเห็นถึงปัญหา และร่วมกันลงมือแก้ปัญหา ปรับเปล่ียนวิถีชีวิตเป็นส่ิงท่ีต้องลงมือทำ�ทันที สสส. จะเป็น นพ.วิโรจน์ ตั้งเจรญิ เสถียร หัวหอกน�ำ การเปลย่ี นแปลงแก้ไข” ท่ีปรึกษาสำ�นกั งานปลดั กระทรวง สาธารณสุขด้านต่างประเทศ สารี อ๋องสมหวัง และสำ�นกั งานพฒั นานโยบายสขุ ภาพ เลขาธกิ ารสภา องคก์ รของผู้บรโิ ภค ระหว่างประเทศ (IHPP) อดตี เลขาธกิ ารมลู นิธิ เพือ่ ผบู้ ริโภค “การสร้างเสริมสุขภาพ” เป็นทางเลือกเดียวท่ีทำ�ให้ ประชาชนไทยมีสุขภาพแข็งแรง การลงทุนกับการรักษา “สงั คมจะเปลย่ี นแปลงได้ พยาบาลจะมากมายมหาศาลไม่ส้ินสุด หากประชาชนไม่มี หากมขี อ้ มลู ทด่ี ใี นการใชต้ ดั สนิ ใจ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) โจทย์สำ�คัญ เชน่ ขอ้ มูลการเจอื ปนในอาหาร ขอ้ มลู ของสินค้าที่มผี ลกระทบ คือทำ�อย่างไรให้คนมีความตระหนักรู้ด้านสุขภาพ (Health ต่อสุขภาพ สิ่งเหล่านี้มองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่ต้องใช้ Conscious) ซึ่งการสร้างสุขภาพเป็นเร่ืองของทุกคน แต่ก็ การวิเคราะห์ จัดทำ�ข้อมูล ซงึ่ สภาองคก์ รของผ้บู รโิ ภค เชื่อตรง ไมใ่ ชป่ ระชาชนทต่ี อ้ งแบกรบั ไปฝา่ ยเดยี ว รฐั เองกม็ หี นา้ ทใี่ นการ กบั สสส. ว่า ข้อมูลทางสุขภาพจะนำ�ไปสู่การเปล่ียนแปลงได้ คุ้มครองสุขภาพของประชาชน โดยการสร้างสิ่งแวดล้อมให้ ทั้งด้านพฤติกรรมผู้บริโภค และผู้ผลิตจะปรับเปล่ียนตัวเอง เออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาพดี สง่ิ ท่ี สสส. ท�ำ มาตลอด 20 ปี คอื การลด เพอ่ื ใหม้ สี นิ คา้ ตอ้ งตามความตอ้ งการลดผลกระทบทางสขุ ภาพลง” ปัจจัยเส่ียง เพิ่มปัจจัยสร้างเสริมสุขภาพ ช่วยลดภาวะการ เจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรค NCDs ดังนั้น หากคนไทยไมม่ ี สสส. เมอ่ื 20 ปที แ่ี ลว้ เชอ่ื วา่ บรษิ ทั บหุ ร-่ี เหลา้ ก็จะโหมยั่วยวนด้วยกลยุทธ์ต่าง ๆ ทำ�ให้คนสูบบุหร่ี กินเหล้า เพ่ิมมากขึ้นกว่าน้ี ปัจจุบัน สสส. ก็ทำ�งานต่อสู้กับสินค้าท่ี ทำ�ลายสุขภาพเหมือนไม้ซีกที่งัดไม้ซุง แต่ก็คาดหวังว่า ไม้ซีก จะงดั ไมซ้ ุกได้ส�ำ เรจ็ และกลายเป็น “แจ็คผู้ลม้ ยักษ”์ ในทีส่ ดุ ” พญ.วชั รา ร้วิ ไพบลู ย์ ผู้อำ�นวยการสถาบันสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพคนพิการ “มันเป็นเร่ืองความเช่ือใจกันและกันว่า เราจริงใจในการสร้างเสริมสุขภาพ ประชาชน หลายครั้งอาจได้ยินคำ�พูดว่า สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องทำ�เอง แต่ส่ิงท่ีทำ�ให้เช่ือว่าสุขภาพดีเกิดข้ึนได้จริง เพราะกระบวนการทำ�งานของ สสส. ท่ีสร้างกระบวนการมีสุขภาพดีด้วยรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งในอนาคตจะขยับวิธีคิดไปสู่ การสร้าง สุขภาพสมรรถนะ “Functional health” ที่ทำ�ให้คนทุกกลุ่มมีความ สามารถในการพ่ึงพาตนเองในการดำ�รงชีวิตได้ แม้ว่าจะมีความแตกต่างทาง กายภาพอย่างไร กต็ อ้ งไม่ถูกกดี กันจากการมสี ุขภาพด”ี นติ ยสารสรา้ งสขุ 21
สุขรอบบ้าน ปน่ั จกั รยาน เคลด็ ไมล่ บั ชว่ ยหลบั ดี วิจยั ชีอ้ อกกำ�ลงั กายก่อนนอนทำ�ได้ หลายคนอาจมภี าพจ�ำ วา่ การออกก�ำ ลงั กาย คณะผวู้ จิ ยั ไดร้ วบรวมขอ้ มลู จากการศกึ ษาทงั้ หมด 15 การศกึ ษา ตอ้ งเกดิ ขน้ึ ตอนเชา้ แตถ่ า้ ไลฟส์ ไตลไ์ มไ่ หวกอ็ ยา่ ฝนื นำ�มาวิเคราะห์รวมเป็นงานวิจัยใหม่ โดยมุ่งศึกษาถึงผลของการ สว่ นถา้ กงั วลเรอื่ งการออกก�ำ ลงั กายตอนค�ำ่ หรอื ออกกำ�ลังกายแบบคาร์ดิโอ ซ่ึงเป็นการออกกำ�ลังกายท่ีเน้นการเสริม กอ่ นเขา้ นอนจะท�ำ ใหน้ อนไมห่ ลบั หรอื ไม่ กม็ งี านวจิ ยั ความแขง็ แรงของหวั ใจและปอดใหส้ ามารถน�ำ ออกซเิ จนมาใชไ้ ดม้ ากขน้ึ มาตอบว่า มีวิธีท่ีออกกำ�ลังกายแล้วจะทำ�ให้นอน โดยเลอื กวิธีออกก�ำ ลังกายมาหลายชนิด กอ่ นจะหาคำ�ตอบวา่ ชนิดไหน หลบั สบาย เหมาะสมในการส่งเสรมิ การนอนหลับมากทส่ี ุด ท่ีสำ�คัญนักวิจัยต้องการหาคำ�ตอบว่า ต้องทำ�ช่วงเวลาไหน จากผลการวิจัยล่าสุดที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ กอ่ นเขา้ นอนถงึ จะมผี ลดเี ตม็ ท่ี ทง้ั นก้ี ลมุ่ ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั น้ี ด้านเวชศาสตร์การนอนหลับ สลีฟ เมดิซิน รีวิวส์ (Sleep เป็นคนวัยหนุ่มสาวถึงวัยกลางคน ซ่ึงมีระยะเวลาการออกกำ�ลังกาย Medicine Reviews) ท่ีนักวิจัยค้นคว้าและทดสอบมาให้ แบ่งเป็น 3 ช่วงด้วยกัน ดังน้ี ออกกำ�ลังกายเสร็จนานเกิน 2 ช่ัวโมง เสรจ็ สรรพพบวา่ ออกก�ำ ลงั กายแบบไหน อยา่ งไรถงึ จะท�ำ ให้ แล้วจงึ นอน ออกก�ำ ลังกายเสรจ็ นอ้ ยกว่า 2 ชัว่ โมงแลว้ นอน และกลุ่ม คณุ นอนหลับสบาย และตื่นมาอยา่ งสดชนื่ กระปร้ีกระเปรา่ สดุ ทา้ ยคอื ออกก�ำ ลงั กายเสรจ็ ไดป้ ระมาณ 2 ชว่ั โมงพอดถี งึ ไดเ้ ขา้ นอน 22 นติ ยสารสร้างสุข
ข้ันตอนการศึกษานั้น นักวิจัยได้ตรวจสอบและเปรียบเทียบ อย่างไรก็ดี นักวิจัยมีคำ�เตือนตัวโต ๆ สำ�หรับคนที่ คุณภาพการนอนหลับ และสุขภาพโดยรวมของคนในกลุ่มตัวอย่าง ไม่สามารถเผ่ือเวลาไว้ 2 ชั่วโมงหลังการออกกำ�ลังกายป่ัน ทั้ง 3 ประเภทนี้ อีกทั้งได้นำ�ปัจจัยด้านพฤติกรรมการออกแรงกาย ให้หัวใจสูบฉีดอย่างเต็มที่แบบนี้ได้ว่า ไม่ควรเลือกรูปแบบ ในชีวิตประจำ�วันมารวมไว้ในการวิเคราะห์ด้วย ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรม การออกกำ�ลังกายแบบน้ีก่อนนอน เพราะหากไม่สามารถ ท่ชี อบน่งั ๆ นอน ๆ หรือพฤติกรรมทมี่ แี นวโน้มชอบออกกำ�ลังเปน็ ทนุ เผ่ือเวลาให้ร่างกายได้ค่อย ๆ ผ่อนคลายลง แล้วเกิดหลับ อยูแ่ ลว้ เพอ่ื จะไดด้ วู า่ เมอื่ ที่กลมุ่ ตวั อยา่ งเหล่าน้ีไดอ้ อกกำ�ลงั กายแบบ ไปก่อน ซ่ึงกรณีน้ีนักวิจัยบอกว่ามักจะเกิดกับคนประเภท คาร์ดิโอแล้ว มีผลตอ่ คณุ ภาพการนอนหลับ และสขุ ภาพโดยรวมของ ทช่ี อบนอนตน่ื เชา้ ๆ ผลทจ่ี ะตามมาคอื แทนทจ่ี ะนอนหลบั ลกึ พวกเขาแตกตา่ งกนั หรือไมอ่ ย่างไร และดี จะกลายเป็นว่า ร่างกายรู้สึกวา่ นอนไม่พอ หรือกล่าว ท้ังน้ีเมื่อเปรียบเทียบวิธีการออกกำ�ลังกายแบบคาร์ดิโอ ในอีกทางหนึ่งว่า ได้คุณภาพการนอนไม่ดีพอ ทำ�ให้ร่างกาย รปู แบบตา่ ง ๆ แลว้ นกั วจิ ยั ทมี น้ี ซง่ึ น�ำ โดยคณุ เมโลดี โมแกรส นกั วจิ ยั อ่อนล้าเม่ือต่ืนขึ้นมาในวันใหม่ โดยจะสังเกตได้ว่า มักจะมี ประจำ�ที่หน่วยวิจัยด้านการนอนหลับ ชื่อ เพอร์ฟอร์ม สลีฟ แล็บ ความอ่อนเพลยี และง่วงนอนในช่วงเวลากลางวัน แห่งมหาวิทยาลัยคอนคอร์เดีย เมืองมอนทรีออล รัฐควิเบก ประเทศแคนาดา ไดข้ อ้ สรปุ วา่ การปน่ั จกั รยาน เปน็ การออกก�ำ ลงั กาย สำ�หรับคำ�แนะนำ�เพ่ิมเติมเกี่ยวกับการออกกำ�ลังกาย กอ่ นนอนทมี่ แี นวโน้มจะให้ผลดตี ่อสขุ ภาพการนอนมากทีส่ ดุ ก่อนนอนให้เหมาะสมและได้ผลดีน้ัน คุณเมโลดี หัวหน้า “การออกก�ำ ลงั กายชนดิ คารด์ โิ อ อยา่ งการปน่ั จกั รยานน้ี พบวา่ ทีมวิจัย แนะนำ�ให้เลือกออกกำ�ลังกายแบบคาร์ดิโอหนัก ๆ มีผลดีในเร่ืองการช่วยให้นอนหลับได้ดีท่ีสุด ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่ท่ี ในชว่ งหวั ค�่ำ เปน็ เวลาประมาณครง่ึ ชวั่ โมงถงึ หนง่ึ ชวั่ โมง และ การจัดตารางเวลาการออกกำ�ลังกายและการนอนให้เหมาะสมด้วย ท่ีสำ�คัญไปกว่าน้ันคือ จำ�เป็นต้องจัดตารางการออกกำ�ลัง ถงึ จะได้ผลดีทสี่ ุด” นักวิจยั หญงิ กล่าว กายเชน่ นี้ แลว้ ตามดว้ ยเวลาการนอน ใหม้ คี วามคงเสน้ คงวา ส�ำ หรบั เหตผุ ลทว่ี า่ ท�ำ ไมการออกก�ำ ลงั กายแบบคารด์ โิ อ อยา่ งเชน่ เพอ่ื ใหร้ า่ งกายและวงจรหลบั ตนื่ ของรา่ งกายเราเคยชนิ ถงึ จะ การปน่ั จกั รยานถงึ มผี ลตอ่ การนอนหลบั ของคนเรา คณะผทู้ �ำ การวจิ ยั ไดผ้ ลดีทส่ี ุดในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ไดอ้ ธบิ ายวา่ เปน็ เพราะการออกก�ำ ลงั กายประเภทน้ี จะสง่ ผลตอ่ การกระตนุ้ ด้านมูลนิธิการนอนหลับ (Sleep Foundation) อุณหภูมิของแกนกลางร่างกายให้สูงข้ึนขณะท่ีกำ�ลังออกกำ�ลังกาย องค์กรไม่แสวงกำ�ไรที่มุ่งเน้นส่งเสริมองค์ความรู้เก่ียวกับ ซ่ึงกระบวนการกระตุ้นอุณหภูมิที่ว่านี้เองที่มีประโยชน์ต่อระบบการ สุขภาพการนอน ซ่ึงต้ังอยู่ท่ีเมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน ควบคุมอุณหภมู ิรา่ งกายใหเ้ หมาะสมในช่วงเวลาหลังจากนั้น ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ใหข้ อ้ มลู เพม่ิ เตมิ วา่ การออกก�ำ ลงั กาย โดย ณ เวลาที่เราออกกำ�ลังกายแบบคาร์ดิโอ ความร้อน ชว่ ยใหก้ ารหลบั ดี เพราะท�ำ ใหเ้ กดิ การจ�ำ ลองการเปลย่ี นแปลง ในร่างกายของเราจะพุ่งข้ึนสูงมาก และเมื่อเราผ่อนคลายร่างกายลง ของอณุ หภมู แิ กนกายในลกั ษณะทเ่ี หมอื นกบั การเปลย่ี นแปลง หลังการใช้แรงกายอย่างหนักแล้ว ร่างกายก็จะปรับลดอุณหภูมิลง ที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติก่อนที่ร่างกายเราจะง่วงนอน ให้เหมาะสมแก่การนอนหลับพักผ่อน ซึ่งนักวิจัยชี้ว่าเป็นหลักการท่ี นอกจากนัน้ แล้ว การออกก�ำ ลังกายยังพบดว้ ยวา่ มีสว่ นช่วย ใกลเ้ คยี งกนั กบั หลกั การทอ่ี ธบิ ายวา่ ท�ำ ไมถงึ แนะน�ำ ใหอ้ าบน�ำ้ อนุ่ กอ่ น ในการปรบั นาฬกิ าในรา่ งกายคนเรา ซงึ่ จะยดึ โยงกบั เวลาทเ่ี รา นอนแลว้ จะหลับสบาย กลา่ วคือ การท�ำ แบบนัน้ เปน็ การสง่ สัญญาณ ออกกำ�ลังกายในแต่ละวัน อีกทัง้ การออกก�ำ ลังกายยังพบว่า ให้ร่างกายรีบลดอุณหภูมิแกนกายลงอย่างรวดเร็วหลังจากท่ีร้อนขึ้น ช่วยผ่อนคลายความวิตกกังวลและความซึมเศร้า ซ่ึงเป็น ดังนน้ั ร่างกายจึงพร้อมจะหลับเรว็ ข้นึ ตามไปดว้ ยนน่ั เอง ปัจจยั ลบต่อสุขภาพการนอนของคนเราไดด้ ีอีกดว้ ย ...แนน่ อนวา่ ไมว่ า่ จะออกกำ�ลงั เวลาใดก็ล้วนเปน็ เรอ่ื งด.ี .. นติ ยสารสร้างสุข 23
สขุ ไร้ควัน ออสเตรเลยี ผ่านกม.ให้หมอเทา่ นนั้ ส่งั จ่ายบุหรีไ่ ฟฟ้าได้ ประเทศออสเตรเลีย เพิ่งผ่านกฎหมายบังคับให้ผู้ใช้บุหร่ีไฟฟ้าทุกคนต้องมีใบสั่งยา จากแพทย์เท่าน้ันถึงจะสามารถซ้ือหามาสูบได้ โดยก่อนหน้าท่ีจะผ่านกฎหมายควบคุม บุหร่ีไฟฟ้าใหม่น้ี ได้มีการศึกษาติดตามผลการวิจัยต่าง ๆ มากมายจากทั่วโลกเพื่อนํา มาเปน็ ข้อมลู ประกอบการตดั สนิ ใจ โดยพบว่า ในช่วงเวลาสามสัปดาห์ก่อนที่กฎหมายควบคุมบุหร่ีไฟฟ้าจะผ่าน ออกมาบังคับใช้ มีรายงานถึงกรณีวัยรุ่นนักสูบบุหร่ีไฟฟ้ารายหนึ่งที่ถูกหามส่ง โรงพยาบาลดว้ ยอาการชกั หลงั จากเสพบหุ รไี่ ฟฟา้ จนไดร้ บั สารนโิ คตนิ เขา้ ไปเกนิ ขนาด นอกจากน้ันก็มีกรณีท่ีเด็กเล็กเกิดปัญหาภาวะผิดปกติท่ีหัวใจหลังจากเผลอด่ืม นโิ คตนิ เหลวทใ่ี ชส้ าํ หรบั การสบู บหุ รไ่ี ฟฟา้ ทอ่ี ยใู่ นบา้ นเขา้ ไป อกี ทง้ั ยงั พบกรณกี ารเสยี ชวี ติ อกี หนง่ึ รายที่พบวา่ เก่ยี วข้องกนั กบั การด่มื นิโคตนิ เหลวสําหรบั บหุ รไี่ ฟฟ้าเข้าไปเช่นเดยี วกนั ดา้ นศาสตราจารย์ เอมลิ ี่ แบงค์ นกั วชิ าการดา้ นระบาดวทิ ยาจากมหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาตอิ อสเตรเลยี ผสู้ นใจศกึ ษาเกย่ี วกบั บุหร่ีไฟฟ้าในออสเตรเลีย มองว่ากฎหมายควบคุมบุหรี่ไฟฟ้าอันใหม่คือความหวังในการรับมือกับพิษภัยต่อสุขภาพท่ีมา กับบุหร่ีไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่น สารนิโคตินที่เป็นตัวการสําคัญท่ีทําให้คนติดผลิตภัณฑ์ยาสูบ และมีผลเสียต่อพัฒนาการ ของสมอง ในขณะทม่ี กี ารวจิ ยั ยนื ยนั วา่ คนทส่ี บู บหุ รไ่ี ฟฟา้ และไดร้ บั สารนโิ คตนิ ดว้ ยวธิ นี ้ี จะตดิ นโิ คตนิ สงู กวา่ ปกติ ถงึ 3 เทา่ ตวั ตะลึง! พบสารเคมีลึกลบั รว่ ม 2,000 ชนิด ในบหุ รไี่ ฟฟ้า ผลการวจิ ยั ครง้ั สาํ คญั ของคณะนกั วจิ ยั จากโรงเรยี นการสาธารณสขุ บลมู เบริ ก์ แหง่ มหาวทิ ยาลยั จอหน์ ส์ ฮอปกนิ ส์ ทเ่ี พง่ิ ตพี มิ พใ์ นวารสารดา้ นการวจิ ยั ทางเคมใี นพษิ วทิ ยา (Chemical Research in Toxicology) หลังตรวจสอบสารประกอบท้ังในของเหลวท่ีใช้กับเครื่องสูบบุหร่ีไฟฟ้า และในละอองของเหลวท่ีปล่อยออกออกจากเคร่ืองมาเพ่ือให้ผู้สูบสูดเข้าไปในทางเดินหายใจ และปอด โดยคณะผู้วิจัยได้ใช้เทคนิคการตรวจท่ีเรียกว่า การพิมพ์ลายมือทางเคมี (chemical fingerprinting technique) เพ่ือจําแนกแยกแยะสารประกอบในบุหรี่ไฟฟ้าอย่างละเอียด อย่างที่ยังไม่เคยมีการวิจัยไหนทํากันมาก่อนเลย ผลท่ีได้พบว่าจําแนกได้สารประกอบที่จํานวน รว่ ม ๆ 2,000 รายการ ซง่ึ ไมท่ ราบวา่ เปน็ สารอะไรกนั แน่ ทาํ ใหต้ ง้ั ขอ้ สงสยั ถงึ อนั ตรายของบหุ รไ่ี ฟฟา้ ทอี่ าจจะมีมากกวา่ ท่เี ขา้ ใจกนั ก่อนหนา้ น้ี อกี ทง้ั ยงั ทาํ ใหเ้ กดิ ขอ้ กงั ขาวา่ ผผู้ ลติ ผลติ ภณั ฑส์ าํ หรบั บหุ รไ่ี ฟฟา้ จงใจใสส่ ารเหลา่ นเ้ี ขา้ ไปดว้ ยหรอื ไม่ และมเี หตผุ ลแอบแฝงหรอื ให้ ออกฤทธอ์ิ ะไรทผ่ี ผู้ ลติ ไมย่ อมเปดิ เผยหรอื ไม่ โดยในจาํ นวนสารเหลา่ น้ี พบวา่ 6 ชนดิ ทม่ี คี วามเปน็ ไปไดว้ า่ จะเปน็ สารอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ 3 ตวั แรกเปน็ สารเคมีที่ใชใ้ นอตุ สาหกรรมที่ไม่เคยมกี ารตรวจพบในผลิตภณั ฑบ์ ุหรี่ไฟฟ้าใด ๆ มาก่อน อีกสารหนึ่งเปน็ ยาฆา่ แมลง ส่วนอีก 2 สารเป็นสารแต่งรสท่ีมีความเชื่อมโยงกับการเกิดพิษต่อระบบทางเดินหายใจ ย่ิงไปกว่าน้ันแล้ว นักวิจัยพบว่า มีสาร ที่คล้ายไฮโดรคาร์บอน ซ่ึงเป็นอันตรายต่อสุขภาพและจะเกิดขึ้นเม่ือมีการเผาไหม้ หากแต่ผู้ผลิตบุหร่ีไฟฟ้ามักอ้างเสมอว่า บุหร่ีไฟฟ้า ใชค้ วามรอ้ นตาํ่ กวา่ จุดเผาไหม้และมคี วามปลอดภัยกว่าการสูบบุหร่ที ่ีมีการเผาไหม้ 24 นิตยสารสรา้ งสขุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: