31 ๖.๒ แหล่งเรียนร/ู้ ฐานการเรยี นรู้/กจิ กรรการเรียนรู้ มสี ื่ออุปกรณ์ แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และองคค์ วามรู้ท่ีครบถ้วนและเอ้ือต่อการสรา้ งเสรมิ ผูเ้ รยี นให้มอี ุปนสิ ัยอยู่อย่างพอเพยี ง ๖.๓ มีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้/กิจกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีถูกต้องและชัดเจน สามารถนำไปจัดการเรียนรู้ได้บรรลุตาม วัตถปุ ระสงค์ ๖.๔ มีวิทยากรรับผิดชอบแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ที่สามารถสื่อสารได้ถูกต้อง และชัดเจน ๖.๕ บุคลากรในสถานศึกษาสามารถเป็นวิทยากรอธิบายการใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้/ฐาน การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงได้ถูกต้อง และชัดเจน ๖.๖ มกี ารประเมนิ ปรับปรงุ และพฒั นาแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง ๗. สถานศกึ ษามีความสมั พันธอ์ ันดีกบั สถานศึกษาอน่ื หนว่ ยงาน/ชมุ ชน/องคก์ ร/ภาคเี ครอื ข่ายต่าง ๆ ในการขยายผลการขับเคลือ่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้ประสบผลสำเรจ็ ๗.๑ สถานศกึ ษามีเครอื ข่ายการเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๗.๒ สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การเพ่ือรองรบั การศกึ ษาดูงานของสถานศึกษาอน่ื /หน่วยงาน/ ชมุ ชน/องคก์ ร/ภาคเี ครอื ขา่ ยต่าง ๆ โดยไมก่ ระทบภารกจิ หลกั ของสถานศึกษา ๗.๓ สถานศึกษาเป็นแกนนำของสถานศึกษาอื่น/หน่วยงาน/ชุมชน/องค์กร/เครือข่ายต่าง ๆ ในการขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๗.๔ สถานศึกษาเป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาสถานศึกษาอื่นให้เป็นสถานศึกษาพอเพียง หรือ พัฒนา หน่วยงาน/ชุมชน/องค์กร/ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จนได้รับ การยอมรบั และเห็นผลสำเร็จเชิงประจกั ษ์ อย่างนอ้ ย ๑ แหง่ ๘. สถานศกึ ษามีความสมั พันธ์อนั ดกี ับหน่วยงานต้นสังกัด/หรอื หน่วยงานภายนอก ไดร้ บั การยอมรับ และความร่วมมือจากหน่วยงาน/ชุมชน/องค์กร/ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษาได้ประสบผลสำเร็จ ๘.๑ สถานศึกษามคี วามสัมพนั ธอ์ ันดกี ับหน่วยงานตา่ ง ๆ ๘.๒ สถานศึกษาประสานความร่วมมือจากหน่วยงาน/ชุมชน/องค์กร/ภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อให้และ/หรือ รับการสนับสนุนในการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ สถานศกึ ษา ๘.๓ สถานศึกษาสามารถบริหารจดั การความสมั พันธ์กบั หนว่ ยงาน/ชุมชน/องค์กร/ภาคเี ครือข่าย ตา่ ง ๆ ในการขับเคลือ่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดอ้ ย่างเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ ๘.๔ สถานศึกษาไดร้ ับการยอมรบั และความร่วมมือจากหน่วยงาน/ชมุ ชน/องค์กร/ภาคีเครือข่าย ตา่ ง ๆ ในการขยายผลการขับเคลอื่ นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่ภู ายนอกสถานศกึ ษา ๘.๕ สถานศึกษาประสานความร่วมมือกับหน่วยงานตา่ ง ๆ /ชมุ ชน/องค์กร/ภาคเี ครือข่ายตา่ ง ๆ จนสามารถพฒั นาสถานศึกษาอ่นื ใหเ้ ป็นสถานศกึ ษาพอเพยี ง หรอื พัฒนาหน่วยงาน/ชุมชน/องค์กร/ภาคี เครอื ข่ายตา่ งๆได้นำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จนไดร้ บั การยอมรับและเหน็ ผลสำเรจ็ เชงิ ประจักษ์ อยา่ งน้อย ๑ แหง่
เครือ่ งมอื การประเมิน แบบ ศรร.๐๑ – แบบ ศรร.๐๔
๓๓ แบบ ศรร.01 แบบสถานศกึ ษาประเมนิ ตนเอง เพอ่ื เปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา ชือ่ สถานศกึ ษา ………………………….....................................………….........................................................................................… สงั กัด ………………………...........……………………………….…จังหวดั ..................................................................................... ด้าน/องค์ประกอบ คะแนนประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ ๑. บคุ ลากร คะแนนรวม ๑.๑ ผู้บรหิ าร ๓๕ (๕) ๑.๒ ครู ๑๐ ๑.๓ นักเรยี น ๑๐ ๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ๑๐ ๕ ๒. การจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ คะแนนรวม ๒.๑ อาคาร สถานทแ่ี ละสิง่ แวดลอ้ ม ๑๐ (๕) ๒.๒ ฐานการเรยี นรู้ ปศพพ. และ/หรอื กจิ กรรมการเรียนรู้ ปศพพ. ๕ ๕ ๓. ความสมั พันธก์ ับหนว่ ยงานภายนอก คะแนนรวม ๓.๑ ความสมั พนั ธก์ ับสถานศกึ ษาอ่ืนในการขยายผลการขบั เคลอ่ื น ปศพพ. ๑๐ (๕) ๕ ๓.๒ ความสัมพนั ธ์กับหนว่ ยงานทสี่ งั กัด และ/หรือหนว่ ยงานภายนอก (ภาครฐั ภาคเอกชน และชมุ ชน) ๕ (ลงชอื่ )..............................................................................ผู้ประเมิน (.............................................................................) ตำแหน่ง*......................................................................................... วันที่ ................... เดือน .................................. พ.ศ. .................... * ผู้บริหารสถานศึกษา
๓๔ แบบ ศรร.02 เอกสารประกอบการคัดกรองศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศกึ ษา คำชแ้ี จง ใหส้ ถานศึกษาพอเพยี งทีม่ คี วามประสงค์ขอรับการประเมนิ เปน็ ศนู ย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้านการศึกษา จัดทำรายงานข้อมูลตามหัวข้อด้านล่าง ประกอบการคัดกรอง ความยาวไม่เกิน ๓๐ หน้ากระดาษ A4 (ไม่รวมภาคผนวก) โดยขอให้มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ครบทุกข้อ กรณีปีการศึกษาให้ปรับตามปีที่ส่ง การประเมนิ และปรับกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั ชัน้ ตามบริบทของระดบั การศกึ ษา เช่น อาชวี ศกึ ษา/กศน. เปน็ ต้น ช่อื สถานศกึ ษา..............................................................................สังกดั .......................................................................... สถานท่ตี ั้ง.................... ถนน.......................... ตำบล/แขวง..............................อำเภอ/เขต............................................ จงั หวดั ........................................รหสั ไปรษณยี .์ ..........................โทรศพั ท.์ ...................................................................... โทรสาร..................................Website............................................................................................................................ สถานศึกษาได้รับประกาศให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (สถานศกึ ษาพอเพยี ง) กระทรวงศึกษาธิการ เม่อื ปี พ.ศ. ............................................... ชือ่ -สกุลผอู้ ำนวยการสถานศึกษา...........................................................................โทรศัพท.์ ........................................... ช่ือ-สกลุ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา......................................................................โทรศัพท์........................................... ช่ือ-สกลุ ครแู กนนำ..................................................................................................โทรศัพท์........................................... ชอ่ื -สกลุ ครูแกนนำ..................................................................................................โทรศพั ท์........................................... ชอื่ -สกุลครแู กนนำ..................................................................................................โทรศพั ท.์ .......................................... ช่ือ-สกลุ ครูแกนนำ..................................................................................................โทรศพั ท.์ .......................................... ฯลฯ ๑. เหตผุ ลท่ีสถานศึกษาขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา ๒. ขอ้ มลู ทว่ั ไป ประกอบด้วย ๒.๑ จำนวนครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (รวมครอู ัตราจา้ ง) ปกี ารศึกษา ............................................ จำนวนจำแนกตามระดบั การศึกษา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู*้ ต่ำกวา่ ระดบั ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท สงู กวา่ รวม ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น บคุ ลากรทางการศึกษา รวมทัง้ สนิ้ หมายเหตุ * ปรบั ช่ือกลุม่ สาระฯ/วชิ า/รายวชิ า ฯลฯ ให้สอดคล้องกบั รปู แบบการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๓๕ ๒.๒ จำนวนนักเรียน/ผู้เรียน/นักศึกษา * จำแนกตามระดับชั้น* ปีการศึกษา (ย้อนหลัง 1 ปี และปปี ัจจุบัน) ปีการศึกษา (ยอ้ นหลงั ๑ ปี) ......................... ถงึ ปกี ารศึกษาปจั จุบัน ............................ ปกี ารศกึ ษาย้อนหลงั 1 ปี ปีการศึกษาปัจจบุ ัน ปกี ารศกึ ษา........ ปีการศึกษา........... ระดบั ชัน้ * นักเรยี น นักเรยี นทม่ี ี นกั เรยี น นกั เรยี น นักเรยี นท่ีมี นักเรยี น ท้งั หมด แกนนำ ทง้ั หมด แกนนำ คุณลักษณะอยู่ ขบั เคลอ่ื น คณุ ลกั ษณะอยู่ ขบั เคลอื่ น อยา่ งพอเพียง ปศพพ. อยา่ งพอเพียง ปศพพ. (จำนวนคน/ (จำนวนคน/ ร้อยละ) รอ้ ยละ) ระดับปฐมวัย* ชน้ั เตรยี มอนุบาล ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๑ ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๒ ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๓ รวม ระดบั ประถมศกึ ษา* ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ รวม ระดบั มัธยมศึกษา* ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ รวม รวมทั้งสนิ้ หมายเหตุ ระดบั การศกึ ษาปรับระดับชนั้ /ช้นั /ชัน้ ปี ฯลฯ ใหส้ อดคล้องกับรูปแบบการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ๒.๓ บรบิ ทของสถานศึกษา/ลกั ษณะชุมชน/ภูมิสงั คม โดยสังเขป ๒.๔ เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา/อัตลกั ษณ์ของนักเรียน/ผู้เรียน/นักศึกษา ๒.๕ แหลง่ เรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (มอี ะไรบ้าง/ใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งไร)
๓๖ ๓. แนวทางในการดำเนินการในด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาพอเพียงซึ่งสมควรได้รับการประเมินผา่ น เป็นศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา ๓.๑ การบริหารงานท่ัวไป ๓.๒ การบรหิ ารงานบุคลากร ๓.๓ การบริหารงานงบประมาณ ๓.๔ การบริหารงานวชิ าการ ๓.๕ แหล่งเรยี นรู้ ๓.๖ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาโดยยอ่ (รายละเอียดจดั ทำเป็นเอกสารแนบในภาคผนวก) ๔. ข้อมลู ด้านบุคลากร ๔.๑ ผู้บริหาร (อธิบายสาระการดำเนนิ งานและผลลพั ธท์ ่เี กิดขน้ึ ) ๔.๑.๑ ผู้บรหิ ารนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง เกิดผล อยา่ งไร ยกตวั อย่างประกอบ ๔.๑.๒ ผ้บู รหิ ารนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารจัดการศึกษาทั้ง ๔ ด้าน อย่างไร (การบริหารงานทั่วไป/การบริหารงานวิชาการ/การบริหารงานบุคคล/การบริหารงานงบประมาณ) และจากการดำเนินงานดังกลา่ ว ส่งผลให้เกดิ ข้นึ ต่อสถานศึกษาและบคุ ลากรของสถานศึกษาอยา่ งไรบ้าง ๔.๑.๓ ผู้บริหารพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้มี คณุ ภาพอยา่ งไร และส่งผลอย่างไรบา้ ง ยกตัวอยา่ งประกอบ ๔.๑.๔ ผู้บริหารเป็นผู้นำและมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัด การเรียนรู้ (PLC) เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งผลต่อบุคลากรของ สถานศกึ ษาและการเสรมิ สร้างอปุ นิสยั อยพู่ อเพยี งของผู้เรียนอยา่ งไรบ้าง ๔.๑.๕ ผู้บริหารมีนวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีการบริหารจัดการสถานศึกษาที่ดีตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งท่ีสง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือไม่ นวัตกรรม/วธิ ีการ/รูปแบบ (Model) มีสาระ อะไรบา้ ง และเกดิ ผลลัพธ์อย่างไร เขียนโดยย่อ ๔.๑.๖ ผู้บริหารขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายนอกสถานศึกษา/หน่วยงาน/ องค์กร/ชุมชน จนเป็นทีย่ อมรบั อยา่ งไรบา้ ง เกิดผลอยา่ งไร ๔.๒ ครูและบุคลากรทางการศึกษา (อธบิ ายสาระการดำเนนิ งานและผลลัพธท์ ี่เกิดขึน้ ) ๔.๒.๑ จำนวนครูที่มีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำไปสู่ การพัฒนางานในหน้าท่ี จำนวน ........คน ๔.๒.๒ ครูประสบความสำเร็จในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิต หรือการ พัฒนาตนเอง ว่านำไปใชอ้ ย่างไรบา้ ง และเกดิ ผลอย่างไรตอ่ ตนเองและผูอ้ ืน่ ยกตวั อยา่ งประกอบ ๔.๒.๓ ครูมีการพัฒนาหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ และการจัดการเรียนรูใ้ ห้ประสบความสำเรจ็ ใน การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะ อย่างพอเพียง วา่ ดำเนนิ การอย่างไร และเกิดผลอยา่ งไร ๔.๒.๔ ครูมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (PLC) ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีส่งผลต่อการจดั การเรียนรู้และการเสริมสร้างอปุ นสิ ยั อยู่อย่างพอเพียง ของผู้เรยี นอย่างไรบา้ ง
๓๗ ๔.๒.๕ ครูมีนวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ที่ดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตรก์ ารพฒั นา ๓ ศาสตร์ ทส่ี ่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รยี นหรือไม่ และมีชื่อเรื่องอะไรบา้ ง ส่งผล ต่อผู้เรยี นอย่างไรบ้าง เขียนโดยย่อ ๔.๒.๖ ครูแกนนำได้ขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ครูและบุคลากรภายใน สถานศึกษาอย่างไร ขยายผลสู่ภายนอกสถานศึกษาให้แก่ผู้ปกครอง ชุมชน สถานศึกษาอื่น หรือหน่วยงาน/ องคก์ ร/ภาคีเครือข่าย อยา่ งไรบ้าง ๔.๓ ผเู้ รยี น/ผู้เรียน/นักศึกษา * ๔.๓.๑ จำนวนผู้เรียนแกนนำ ......... คน ๔.๓.๒ ผูเ้ รยี นใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชวี ติ ประจำวนั อย่างไร ๔.๓.๓ ผู้เรยี นเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรและทำกจิ กรรมการเรยี นรู้อะไรบ้าง ๔.๓.๔ ผู้เรยี นเกิดคุณลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพยี ง มจี ติ สำนกึ ทดี่ แี ละปฏิบัติตนตอ่ ความเป็นพลเมืองทด่ี ี ตอ่ สงั คม และสถาบันหลกั ของชาติอยา่ งเหมาะสมอยา่ งไรบ้าง ๔.๓.๕ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในและนอก สถานศึกษาอย่างไรบ้าง หมายเหตุ * ปรบั ให้สอดคล้องกบั รูปแบบการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ๔.๔ คณะกรรมการสถานศกึ ษา (อธิบายสาระการดำเนินงานและผลลพั ธ์ทเ่ี กิดขึน้ ) ๔.๔.๑ ความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่าและศรัทธาในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔.๔.๒ บทบาทในการให้การสนับสนุน ส่งเสริม ร่วมคิด ร่วมพัฒนา และร่วมสืบสาน การขบั เคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอในสถานศึกษาอย่างไรบา้ ง ๕. ข้อมูลดา้ นอาคารสถานที/่ แหล่งเรียนรู/้ ส่ิงแวดลอ้ ม ๕.๑ ความพร้อมของอาคารสถานที่ทีเ่ ออื้ อำนวยต่อการจัดการเรียนรู้ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕.๒ มีแหล่งเรียนรู้/ฐานเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับบริบทและภูมิสังคมของสถานศึกษา เพื่อ เสรมิ สรา้ งอุปนิสยั อยู่อยา่ งพอเพียง และการเสรมิ สร้างผู้เรียนให้มีคุณสมบัติของคนไทยท่ีพึง ประสงค์ตามแนว พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของรัชกาลที่ 10 ๕.๓ ศูนย์รวมข้อมูลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษามีสื่ออุปกรณ์ เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้อะไรบ้าง มีบรรยากาศ และกิจกรรมที่เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอยู่อย่าง พอเพียงและการมีจิตสำนึกที่ดีและปฏิบัติตนต่อความเป็นพลเมืองที่ดีต่อสังคม และสถาบันหลักของชาติ อยา่ งไรบา้ ง ๕.๔ สง่ิ แวดล้อมและบรรยากาศทีเ่ อื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอยา่ งไรบ้าง ๖. ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนและหน่วยงานภายนอก ๖.๑ การวางแผนและการดำเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศกึ ษา ๖.๒ ชุมชนใหค้ วามไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนรว่ มในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาอย่างไรบา้ ง ๖.๓ สถานศึกษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชุมชน องค์กร ภาคีครือข่าย สถานศึกษาอื่น และ หนว่ ยงานอืน่ ในการขับเคลือ่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรบ้าง
๓๘ ๖.๔ สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษา และจัดการเรียนการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนสามารถเปน็ แบบอย่างแกส่ ถานศกึ ษาและหน่วยงานอืน่ ได้อย่างไรบ้าง ๖.๕ ผลความสำเร็จท่เี กิดจากความรว่ มมอื กันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน องคก์ ร ภาคีเครือข่าย หรือ หน่วยงานอน่ื ๗. ภาคผนวก (เอกสารอ้างอิงทีเ่ กี่ยวขอ้ ง) ๗.๑ วิธีการบริหารจัดการ/พัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศกึ ษาของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา (ขยายความจากขอ้ ๓.๖) ๗.๒ ผู้บริหารมีนวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีบริหารจัดการการศึกษาที่ดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือไม่ มีนวัตกรรม/วิธีการ/รูปแบบ (Model) อย่างไร (ขยายความจาก ขอ้ ๔.๑.๕) ๗.๓ เรื่องเล่าของผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชวี ิต หรอื การพัฒนาตนเอง ว่านำไปใชอ้ ย่างไรบา้ ง และเกิดผลอยา่ งไรตอ่ ตนเองและผ้อู ่ืน ยกตวั อยา่ งประกอบ ๗.๔ เรื่องเล่าของครูที่ประสบความสำเร็จในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิต หรือการพัฒนาตนเอง ว่านำไปใช้อย่างไรบ้าง และเกิดผลอย่างไรต่อตนเองและผู้อื่น ยกตัวอย่างประกอบ (มาจากขอ้ ๔.๒.๒) ๗.๕ เรื่องเล่าครูที่ประสบความสำเร็จในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ในกิจกรรมการเรยี นรู้ และหรือการบรู ณาการศาสตรก์ ารพัฒนา ๓ ศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรยี น เกดิ คุณลกั ษณะอย่างอยา่ งพอเพยี ง ว่าดำเนินการอย่างไร และเกิดผลอย่างไร เช่น การออกแบบการเรียนรู้เพื่อ สร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัย พอเพียง (มาจากข้อ ๔.๒.๓) ๗.๖ นวัตกรรม/รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ที่ดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการศาสตร์ การพัฒนา ๓ ศาสตร์ มอี ะไรบา้ ง สง่ ผลตอ่ ผู้เรียนหรือไม่ อย่างไรบ้าง เสนอตัวอย่าง ๑ - ๒ ผลงาน (มาจาก ขอ้ ๔.๒.๕) ๗.๗ ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของครูแกนนำ จำนวน ๑ - ๒ แผน ๗.๘ ตัวอยา่ งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูป้ ระจำฐาน ๑ - ๒ แผน หรือ ฐานการเรยี นรู้ ๗.๙ เร่ืองเล่าของนักเรยี นแกนนำเขียนด้วยลายมือของผูเ้ รียน (มาจากขอ้ ๔.๓.๒) ๗.๑๐ หลักฐานสำคัญท่ีเกยี่ วข้อง ๗.๑๐.๑ สำเนาเกียรติบัตรของสถานศึกษาที่ประกาศให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัด กิจกรรมการเรียนรู้และการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(สถานศึกษาพอเพียง) กระทรวงศึกษาธิการ ๗.๑๐.2 สำเนาเกียรติบัตรของสถานศึกษาเครือข่ายที่ประกาศใหเ้ ปน็ เป็นสถานศึกษาแบบอย่าง การจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู ละการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง) กระทรวงศึกษาธกิ าร หรอื สำเนาหลกั ฐาน (วุฒบิ ัตร เกยี รตบิ ัตร หรือ ภาพถา่ ย ฯลฯ ) ของชมุ ชน องค์กร ภาคี เครือข่าย หรือ หน่วยงานอื่นๆ ที่สถานศึกษาเป็นพี่เลี้ยงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจน ชุมชน องค์กร หรอื หนว่ ยงานนน้ั ๆ ไดน้ ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชจ้ น ได้รับการยอมรบั และเห็น ผลความสำเร็จในเชิงประจักษ์อย่างน้อย ๑ แห่ง ๗.11 ภาพถ่ายทเี่ กย่ี วขอ้ ง (ควรมกี ารบรรยายใตภ้ าพ) ๗.11.๑ ภาพถ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมและบรรยากาศภายในสถานศึกษา ๗.11.๒ ภาพถ่ายเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้/ศูนย์รวมข้อมูลฯ/กิจกรรมการรู้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของสถานศึกษา
๓๙ ๗.11.๓ ภาพถ่ายกิจกรรมการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหาร ครู และนกั เรยี นทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ๗.๑๒ จัดทำภาพประกอบและคำบรรยาย ให้เห็นบริบทและภาพการพัฒนา “สถานศึกษา พอเพยี ง” ตรงตามเกณฑ์การประเมนิ “ศูนยก์ ารเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา” ความยาวไมเ่ กิน ๑๕ นาที โดยจดั ทำเป็น วีดที ัศน์/VDO/แผน่ CD หรอื ทำ QR Code พรอ้ ม Link ให้สามารถ ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ของสถานศึกษาได้เข้าใจและชัดเจนไว้ในหน้าสุดท้ายของเอกสารรายงานประกอบ การคดั กรอง “ศูนย์การเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา” ฯลฯ
๔๐ แบบ ศรร.03 บันทึกคะแนนการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพียงเป็นศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา สำหรับคณะกรรมการ – รายบคุ คล ชื่อสถานศึกษา ………………………………………..…………………...............................................................… สังกัด ……………………………………………………………จังหวดั ……………………………………………………………............... ดา้ น/องคป์ ระกอบ คะแนนประเมนิ คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ ๑. บคุ ลากร คะแนนรวม ๓๕ (๕) ๑.๑ ผ้บู ริหาร ๑๐ ๑.๒ ครู ๑๐ ๑.๓ นกั เรียน ๑๐ ๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา ๕ ๒. การจดั การสภาพแวดล้อมทางกายภาพ คะแนนรวม ๑๐ (๕) ๒.๑ อาคาร สถานทแี่ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ๕ ๒.๒ ฐานการเรยี นรู้ ปศพพ. และ/หรือกิจกรรมการเรยี นรู้ ปศพพ. ๕ ๓. ความสมั พนั ธ์กับหน่วยงานภายนอก คะแนนรวม ๑๐ (๕) ๓.๑ ความสมั พนั ธ์กบั สถานศกึ ษาอืน่ ในการขยายผลการขบั เคลื่อน ปศพพ. ๕ ๓.๒ ความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัดและ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ๕ ภาคเอกชน และชมุ ชน) (ลงช่อื )...........................................................................ผ้ปู ระเมิน (.................................................................) ตำแหน่ง(ในคณะกรรมการ).............................................................................. สังกดั ........................................................................................... ประเมนิ วันที่ ...............เดือน...................................พ.ศ. ......................
๔ แบบบันทกึ คะแนนการประเมนิ สถานศึกษาพอเพียงเปน็ ศูนยก์ า ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะแต่ละด้านและตัวบ่งชี้ของผปู้ ระเมิน ชือ่ …………... คำชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ✓ ระดับคะแนนตามเกณฑ์การประเมินศูนย์การเร ให้ตรงตามความเปน็ จริง ระดับคะแนน คะแนน ด้าน/องค์ประกอบ น้ำหน 12345 ทีไ่ ด้ ๑.บคุ ลากร ๒ ๑.๑ ผู้บรหิ าร ๑.๒ ครู ๒ ๑.๓ นักเรียน ๒ ๑ ๑.๔ คณะกรรมการ สถานศึกษา
๔๑ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา ...............................................…………………สงั กดั ........................................... รียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาและเขียนความคิดเห็น นัก สรุปคะแนน ความคิดเห็น (จุดแขง็ /จุดออ่ น/ข้อเสนอแนะ/ขอ้ คน้ พบ)
๔ ดา้ น/องค์ประกอบ 1 ระดบั คะแนน 5 คะแนน นำ้ หน 234 ทไี่ ด้ ๑ 2. การจดั การ สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ 2.๑ อาคาร สถานท่ี และสิ่งแวดล้อม 2.๒ แหล่งเรียนรู้/ ๑ ฐานการเรียนรู้ และ/ หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัย อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๔๒ นกั สรุปคะแนน ความคดิ เห็น (จดุ แข็ง/จดุ ออ่ น/ขอ้ เสนอแนะ/ข้อคน้ พบ)
๔ ด้าน/องค์ประกอบ 1 ระดบั คะแนน 5 คะแนน นำ้ หน 234 ท่ีได้ ๑ 3. ความสัมพนั ธก์ บั หน่วยงานภายนอก 3.๑ ความสัมพันธ์ กับสถานศึกษาอื่นใน การขยายผลการ ขับเคลื่อน ปศพพ. 3.๒ ความสัมพันธ์ ๑ กับหน่วยงานที่สังกัด และ/หรือหน่วยงาน ภ า ย น อ ก ( ภ า ค รั ฐ ภาคเอกชน และชมุ ชน)
๔๓ นกั สรุปคะแนน ความคดิ เห็น (จดุ แข็ง/จดุ ออ่ น/ขอ้ เสนอแนะ/ข้อคน้ พบ)
๔๔ แบบ ศรร.04 แบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการประเมนิ ศูนย์การเรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ๑. ขอ้ มูลสถานศกึ ษา ชื่อสถานศึกษา …………….................................……………....................…….....…สังกัด………………………………………. ทอี่ ย…ู่ ....…………..…..……......………..…..……….…..............................................…จังหวัด…………………………………… ชือ่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา …………………….............………โทรศัพท์ ........................ E-mail....................................... ครูผรู้ ับผดิ ชอบเศรษฐกิจพอเพยี ง..........................................โทรศัพท์ .................. E-mail..................................... ปีทผ่ี ่านการประเมนิ เปน็ สถานศกึ ษาพอเพียงแบบอยา่ งของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปี พ.ศ. …….................………. ๒. ผลการประเมนิ โรงเรยี นศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ด้าน/องคป์ ระกอบ ๑.บุคลากร ๒. การจดั การ ๓. ความสมั พันธก์ ับ ช่อื ผูป้ ระเมนิ สภาพแวดล้อม หน่วยงานภายนอก ทางกายภาพ ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ เฉล่ีย ๒.๑ ๒.๒ เฉลีย่ ๓.๑ ๓.๒ เฉล่ีย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. คะแนนเฉล่ยี (จากเฉลยี่ ของผู้ประเมินทุกคน) ข้อสังเกตโดยรวมของคณะกรรมการประเมิน ............................................................................................................................. ....................................................... .......................................................................................................................................................................... เกณฑ์ผา่ น คะแนนเฉลย่ี ๔ ข้นึ ไปในแตล่ ะด้าน ครบทุกดา้ น ผา่ น ไม่ผ่าน (ลงชือ่ )......................................................ประธาน (.....................................................................) ตำแหน่ง*/สังกดั ……………………………………………………… (ลงช่ือ)................................................ผู้ประเมนิ (ลงชื่อ)...........................................ผู้ประเมนิ (.......................................................................) (....................................................................) ตำแหนง่ */สังกัด ……………………………………… ตำแหน่ง*/สงั กดั ………………………………………… (ลงช่ือ).................................................ผูป้ ระเมนิ (ลงชือ่ ).............................................ผ้ปู ระเมนิ (......................................................................) (.....................................................................) ตำแหน่ง*/สังกดั …………………………………........ ตำแหนง่ */สงั กดั ………………………..............… วันท่ี ...........เดือน.................................พ.ศ. .......... *ตำแหนง่ ในคณะกรรมการ
ภาคผนวก
๔๖
๔๗
๔๘
๔๙
๕๐
๕๑
๕๒
Search