Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบติดตามและประสานผู้เรียนเข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)

ระบบติดตามและประสานผู้เรียนเข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET)

Description: นางสาวยุภารัตน์ ภูวงษ์ ครู กศน.ตำบลทุ่งสว่าง

Search

Read the Text Version

ก คานา การเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นการสอน การพบกลุ่ม การร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของนักศึกษา รวม ไปถึงจานวนนักศึกษาที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) ของนักศึกษา หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นสิ่งท่ีบ่งชี้ถึงคุณภาพในการจัดการศึกษา ของครู กศน.ตาบลและสถานศกึ ษา ว่ามคี วามใสใ่ จตอ่ ผเู้ รยี นมากนอ้ ยเพียงใด ระบบการติดตามและประสานนักศึกษา จึงเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งในการติดต่อและประสานกันนักศึกษา เพื่อให้เข้าร่วมในกิจกรรมท่ี กศน.ได้ ดาเนินการจัดขน้ึ ซึ่งการดาเนินการระบบตดิ ตามนักศึกษานั้น ได้ดาเนินการโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นกรอบแนว ทางการดาเนนิ งานเพ่อื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ขอขอบคุณ ผู้บริหาร บุคลากรและนักศึกษาผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สาหรับความร่วมมือในการจัดทาระบบการ ติดตามและประสานผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ซึ่งจะนาไปเป็นแนวทางในการ ตดิ ตามและประสานนักศึกษาตอ่ ไป นางสาวยุภารัตน์ ภวู งษ์ ครู กศน.ตาบล

ข หนา้ สารบัญ 1 เรอ่ื ง 2 คานา 3 ผลการปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice) 3 ระบบตดิ ตามและประสานผเู้ รยี นเขา้ รับการทดสอบทางการศึกษา 3 ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) 8 9 1. ความเป็นมาและความสาคัญ 10 2. จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนินงาน 10 3. เป้าหมาย 10 4. หลักการและแนวคิด 5. กระบวนการผลติ งานหรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน (วิธปี ฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ ) 6. ผลการดาเนนิ งาน 7. ปจั จยั ความสาเรจ็ 8. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 9. การไดร้ บั การยอมรบั /รางวลั ที่ได้รับ/การเผยแพร่ ภาคผนวก เอกสารท่ีใช้ในการติดตามและชอ่ งทางในการติดตามนักศึกษา ภาพกจิ กรรม รางวัลที่ได้รบั ซึ่งเปน็ ผลทีเ่ กดิ จากระบบการตดิ ตามและประสานงานนักศกึ ษา เอกสารท่เี กย่ี วข้อง

1 ผลการปฏิบตั ิงานท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ………………………………………………………………………………………………………………… ช่ือผลงาน : ระบบตดิ ตามและประสานผเู้ รียนเขา้ รบั การทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ชือ่ ผู้นาเสนอผลงาน : นางสาวยุภารตั น์ ภวู งษ์ ตาแหนง่ : ครู กศน.ตาบล หนว่ ยงาน : กศน.ตาบลท่งุ สวา่ ง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั หนิ โทรศัพท์มอื ถอื : 080-4695400 E-Mail : [email protected] ผบู้ ริหาร : นายวีระพนั ธ์ อนิ ทรพนั ธุ์

2 1. ความเป็นมา/ความสาคัญของผลงาน การจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นการ จดั การเรียนรตู้ ามปรชั ญา “คิดเป็น” และยดึ หลกั วา่ ผเู้ รียนทุกคนสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนแต่ละคนมี ธรรมชาติที่แตกต่างกัน ท้ังด้านวัย วุฒิภาวะ ความถนัด ความสนใจ วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนมีการดาเนินชีวิตและ สิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงต้องยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ัฒนาความสามารถของตนเอง ตามธรรมชาติ เตม็ ตามศกั ยภาพท่ีมอี ยู่ และเรียนร้อู ย่างมคี วามสุข ตามที่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้สถานศึกษา ดาเนินการจัดการศึกษาท้ัง 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่ง นกั ศึกษาทุกคนทีจ่ ะจบหลกั สูตรได้นั้น ตอ้ งผา่ นเกณฑ์การจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตามเกณฑ์ดังนี้ 1. ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรยี นรรู้ ายวชิ าในแต่ละระดับการศกึ ษา ตามโครงสร้างหลักสตู ร - ระดับประถมศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ 48 หนว่ ยกติ - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ไมน่ อ้ ยกว่า 56 หน่วยกติ - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายไม่นอ้ ยกว่า 76 หนว่ ยกติ 2. ผ่านการประเมินกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) ไม่น้อยกวา่ 200 ชวั่ โมง 3. ผ่านการประเมินคุณธรรม ในระดับพอใช้ขน้ึ ไป 4. เขา้ รับการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ และด้วยสานักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ มีนโยบายต้องการท่ีจะยกระดับจานวนนักศึกษาผู้เข้ารับการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของจานวน นักศกึ ษาผู้ทค่ี าดว่าจะจบทมี่ ีใน กศน.ตาบล แต่ดว้ ยสภาพปัญหาในปัจจบุ ันนกั ศกึ ษา มนี ักศกึ ษาบางส่วนไม่ใส่ใจในการ เขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนการสอน และไม่เข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต สง่ ผลใหจ้ านวนผู้เข้ารับการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ กศน.ตาบลทุ่งสว่างลดลง และมีผลต่อการจบ การศึกษาตามโครงสร้างหลกั สตู รของตัวนักศึกษาเอง ซ่งึ ปัญหาดังกล่าวไดถ้ ูกนามาพิจารณา และดาเนินการเพื่อออกแบบระบบติดตามและประสานนักศึกษา เพื่อ ใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามและประสานนักศึกษา ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตามท่ี กศน.ตาบลหนองม้า และ กศน.อาเภอโพธ์ิศรีสุวรรณจัดขึ้น และเพ่ือเป็นการเพิ่มจานวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และสอดคล้องกับนโยบายยกระดับจานวนนักศึกษาผู้เข้ารับการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ สานักงาน กศน.จังหวัดศรสี ะเกษ กศน.ตาบลท่งุ สวา่ ง จงึ ได้ออกแบบและจัดทาระบบการติดตามและประสานนกั ศกึ ษา น้ีข้ึน

3 2. จุดประสงค์และเปา้ หมาย ของการดาเนนิ งาน 2.1 จุดประสงค์ - เพอ่ื ตดิ ตามให้นักศกึ ษา กศน.ตาบลท่งุ สวา่ ง เขา้ รับทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ได้ 3. เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ - นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลทงุ่ สว่าง ท่มี สี ทิ ธิส์ อบ N-NET มี 2 ระดบั จานวนทั้งหมด 3 คน ดงั น้ี - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวน 1 คน - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 คน เชิงคณุ ภาพ - นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลทงุ่ สวา่ ง ที่มีสิทธิ์สอบ N-NET มี 2 ระดบั จานวนทั้งหมด 3 คน เขา้ สอบ จานวน 3 คน ครบทุกคน ร้อยละ 100.00 ท่ี ระดับ ผู้มีสทิ ธิเ์ ขา้ สอบ เขา้ สอบ คิดเป็นร้อยละ 1 ประถมศึกษา - - - 2 มธั ยมศึกษาตอนต้น 1 1 3 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2 2 รอ้ ยละ 100.00 3 3 รอ้ ยละ 100.00 รวม รอ้ ยละ 100.00 4. หลกั การและแนวคดิ ครู กศน.ตาบลท่งุ สวา่ ง ได้ดาเนนิ การตดิ ตามนักศกึ ษาผู้คาดวา่ จะจบการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 อย่างต่อเนื่อง ติดตามนักศึกษาถึงบ้านและเคร่ืองมือส่ือสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยได้รับความร่วมมือ กับผู้ปกครอง เครือข่ายและผู้นาชุมชน เพ่ือที่จะสามารถนามาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและแก้ไขปัญหาได้ ตาม วิธกี าร ดงั น้ี การวางแผนงานและ เตรยี มการ (Plan) AP การดาเนนิ การ การนาไปปฏิบัติ (Act) (Do) C D การติดตาม (Check)

4 4.1 การวางแผนงานและเตรยี มการ (Plan) ครทู าความเข้าใจและแจ้งนักศึกษาให้ทราบดังนี้ 1. ครูลงทะเบียนนักศึกษาใหม่และเก่า ครูวิเคราะห์ผู้เรียน และสารวจความต้องการของนักศึกษา เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อจัดทาแผนการเรียนรู้รายบุคคลให้กับนักศึกษา ให้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และ ความตอ้ งการของผเู้ รียนและแจง้ ใหน้ กั ศึกษาทราบ 2. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ - แจ้งนกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบียนในภาคเรียนท่ี 2/2563 ท้ังนักศึกษาเก่าและนักศึกษาใหม่ให้ทราบและเข้าร่วม กิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา - จัดกระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม นักศึกษากลุ่ม กศน.ตาบลทุ่งสว่าง ระดับประถมศึกษาทุกวันวัน อังคาร เวลา 09.00 – 16.00 น. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทุกวันวันพุธ เวลา 09.00 – 16.00 น. และระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลายทกุ วนั พฤหัสบดี เวลา 09.00 – 16.00 น. - แจ้งนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แต่ละกิจกรรมท่ี กศน.อาเภอวังหิน ได้จัดให้กับ นกั ศึกษา 3. ดา้ นการวัดผลประเมนิ ผล - การวดั ผลประเมินรายวิชาระหว่างภาคเรียน 60 คะแนน และปลายภาคเรียน 40 คะแนนผู้เรียนต้องเข้า สอบปลายภาคเรยี น และมีคะแนนสอบปลายภาคเรยี นรวมกบั คะแนนระหว่างภาคเรียนจึงจะผ่านเกณฑ์ขั้นต่า การทา แบบฝกึ หัด ได้แก่ - แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนในส่ือการเรียนรู้รายวิชาต่างๆ หรือเป็นแบบฝึกหัดที่ช่วยเสริมให้เกิดทักษะการ เรยี นรู้ และเข้าใจในบทเรียนตามจุดประสงคก์ ารเรียนร้ใู นแตล่ ะบทเรยี น - การประเมินคุณธรรม ประเมิน ต่อเนื่องตลอดภาคเรียน โดยประเมินจากผลงาน เน้นพฤติกรรมบ่งช้ี คุณธรรมทัง้ 9 ได้แก่ ความสะอาด สภุ าพ กตัญญูกตเวที ความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ สามัคคี มีน้าใจ มีวินัย โดยต้อง ผ่านระดบั พอใชข้ ึ้นไป - การประเมินกิจกรรม กพช.ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง โดยมี ขอบข่ายเนื้อหาท้ังในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ - นักศึกษาที่คาดว่าจะจบฯในเทอมนั้นทุกคนต้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ในแต่ละระดับชั้นให้เป็นไปตามที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)ได้กาหนดไว้ ในภาคเรียนสุดท้ายของการจบหลักสูตร และดาเนินการก่อนสอบปลายภาคของภาค เรียนนนั้ ๆ โดยไม่มผี ลต่อการสอบได้ หรือ สอบตกของผู้เรยี น - การเข้าสอบปลายภาคเรียนผู้เรียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรียน และมีคะแนนสอบปลายภาคเรียนรวม กบั คะแนนระหวา่ งภาคเรยี นถึงจะผ่านเกณฑข์ ั้นต่า

5 4.2 วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ ( Do ) - ประชาสัมพันธ์แจ้งนักศึกษาท่ีลงทะเบียนในภาคเรียน ที่ 2/2563 ทั้งนักศึกษาเก่า และนักศึกษา ใหม่ ให้นักศึกษาทราบและเข้าร่วมกิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา มีคู่มือนักศึกษาให้ทราบโครงสร้างหลักสูตร การเรียนแบบ กศน. ครูแจ้งวันเวลาและสถานท่ีพบกลุ่มของนักศึกษา และรับใบงานของนักศึกษาที่ลงทะเบียนตาม รายวชิ าของแต่ละคน แนะนาการเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของผเู้ รยี น การเข้าสอบเรยี นในแต่ละระดับ - เม่ือปฐมนิเทศนักศึกษาเรียบร้อยแล้ว ครูจะทาการประเมินรู้ระดับการรู้หนังสือ สาหรับนักศึกษา ใหม่ที่ลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนท่ี 2/2563 และตรวจสุขภาพกายสุขภาพจิตของนักศึกษาทุกคน เพื่อให้ทราบถึง ปัญหาสุขภาพรา่ งกาย จติ ใจ ของนกั ศกึ ษา เวลาการจัดกจิ กรรมใหน้ กั ศกึ ษา - จดั กระบวนการเรียนรแู้ บบพบกลุม่ นกั ศึกษากลมุ่ กศน.ตาบลทุ่งสว่าง ท่ี กศน.ตาบลทุ่งสว่าง ระดับ ประถมศึกษาทุกวันอังคาร เวลา 09.00 – 16.00 น. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทุกวันพุธ เวลา 09.00 – 16.00 น. และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายทกุ วันพฤหัสบดี เวลา 09.00–16.00 น. แม้นักศึกษาจะมากหรือน้อย แต่ครูก็ต้องจัด กระบวนการเรียนรู้แบบพบกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ทาสม่าเสมอ เพื่อให้เป็นมาตรฐานของครู และเพ่ือให้นักศึกษามีความ ตระหนกั ในหนา้ ที่ของตนเอง - การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษาใหม่ภาคเรียนท่ี 2/2563 โดยครูนัดนักศึกษาเข้ารับ การประเมนิ สปั ดาห์แรกของภาคเรียนเพือ่ ประเมินทักษะการอ่านออกและการเขียนได้ของนักศึกษา เป็นไปตามเกณฑ์ ทสี่ านกั งาน กศน.กาหนด - กรณที ่ี กศน.ตาบลทุง่ สว่าง จดั กิจกรรมโครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ครูจะแจ้งนักศึกษาทราบทางโทรศัพท์ ทางกลุ่ม Line / Chat Messenger หัวใจสาคัญคือ Fanpage facebooke กศน.ตาบล และ Fanpage facebooke กลุ่มนักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งสว่าง ช่วยให้นักศึกษาทราบข่าวล่วงหน้า ทันท่วงที มีเวลาเตรียมตัว ในกรณีท่ีออกไปทางานต่างถิ่น และแจ้งผู้ปกครองให้ทราบเพ่ือช่วยเตือนให้นักศึกษาเข้า รว่ มกจิ กรรม ที่คณะครูได้จัดใหก้ บั นกั ศึกษาแต่ละภาคเรยี นนั้น ๆ - รายงานกิจกรรมการพบกลุ่ม การร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รายชื่อนักศึกษาท่ีมีสิทธิ์สอบ N-NET และรายช่ือนักศึกษาสอบปลายภาค ผ่านทาง Line ส่วนตัวของนักศึกษาเอง และผ่าน page facebook กศน.ตาบล ทุ่งสว่าง และ facebook กศน.ตาบลทุ่งสว่าง และทางMessenger กลุ่ม กศน.ตาบลทุ่งสว่าง เป็นการเผยแพร่ ข่าวสารการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ต่อเน่ืองอย่างสม่าเสมอช่วยให้นักศึกษาที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทราบ ข่าว และติดตอ่ ปรกึ ษาเพ่ือนๆ ทีม่ ารว่ มกิจกรรมสม่าเสมอ

6 - หลงั จากทีส่ ถาบันการทดสอบระดับชาติ (สทศ.) แจ้งวันเวลาสอบแล้ว และทางฝา่ ยทะเบียน กศน.อาเภอวังหนิ ได้แจ้งสถานท่ีสอบ ครูรีบประสานทางโทรศัพท์ติดต่อนักศึกษาให้มาสอบตามตารางสอบท่ีแจ้งทาง Line ส่วนตัวของนักศึกษา,ผ่าน page facebook กศน.ตาบลทุ่งสว่าง,ผ่านทาง facebook กศน.ตาบลทุ่งสว่าง และ ทาง Messenger กลุ่ม กศน.ตาบลทุ่งสว่าง และแจ้งให้ผู้ปกครองทราบด้วยเพื่อจะช่วยครูในการติดตามนักศึกษาให้ มาสอบไดอ้ กี ทางหนึ่ง ส่วนนักศึกษาที่ประสานไม่ติด ครูต้องไปติดตามหาตัวนักศึกษาที่บ้านและแจ้งข่าวให้ทราบและ ครตู อ้ งคอยแก้ปญั หาให้นักศึกษาทกุ คนจนกวา่ นักศึกษาเขา้ สอบ N-NET ครบทุกคน ตามตารางสอบ - หลังจากท่ีสานักงาน กศน. แจ้งตารางการสอบปลายภาค ครูจะแจ้งกาหนดการสอบ วัน เวลา สถานที่สอบ ให้นักศึกษาได้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 2 เดือน เพ่ือให้นักศึกษาเตรียมลางานมาสอบ กรณีนักศึกษาที่ คาดว่าจะจบในภาคเรียนนี้ ท่ีต้องเข้ารับการทดสอบทางการศึกษานอกระบบระดับชาติ (N–NET) ครูจะต้องแจ้ง นักศึกษาให้ทราบล่วงหน้าตั้งแต่ลงทะเบียนเรียน เพื่อให้นักศึกษาเตรียมตัวในการเข้าสอบ และทากิจกรรม กพช.ให้ ครบ 200 ช่ัวโมง ในภาคเรยี นทีน่ กั ศึกษาจะจบ - การส่งใบงาน หลังจากการสอบ N – NET เรียบร้อยแล้ว โดยครูกาหนดวันส่งใบงานให้กับ นักศกึ ษาตงั้ แต่วันปฐมนิเทศ โดยให้ส่งให้ทันเวลาเพื่อครูจะได้ให้คะแนนการทาแบบฝึกหัดใบงานเป็นคะแนนเก็บและ วเิ คราะห์ผูเ้ รียนแต่ละคนวา่ ผูเ้ รียนมีอปุ สรรคอะไรในการเรยี นของนักศึกษาแต่ละคน - ส่งตารางสอบปลายภาคเรียนนักศึกษารายบุคคล เพื่อให้นักศึกษาเข้าสอบ ตามกาหนดวัน เวลา สถานที่ และรายละเอียดของระเบยี บการเข้าสอบ - กิจกรรมการติวเข้มเติมเต็มความรู้ก่อนสอบปลายภาคเรียน โดยนานักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทุก ระดับ เพื่อเพิ่มความรู้ และนาความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึนมีการนาแผนการดาเนินงาน ไปสู่การปฏบิ ตั ิ การดาเนนิ การจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน วิธีพบกลุม่ ทกุ กระดบั ช้ัน ตามวันเวลาสม่าเสมอ อย่างต่อเน่ือง ยึดหลักการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยคณะครู เป็นผู้ขับเคล่ือน เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสาคัญ โดย นานักศึกษาร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านต่างๆ ท่ี กศน.อาเภอวังหินได้จัดข้ึน เพื่อสร้างแรงจูงให้กับนักศึกษา ให้มี ความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ตระหนกั ในหนา้ ท่ขี องตน และเตรียมพร้อมท่ีจะเข้าสอบปลายภาคเรียน 4.3 วิธตี ดิ ตามนกั ศึกษาโดย “เย่ยี มยามถามข่าว” (Check) - การติดตามเย่ียมบ้านเพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการพบกลุ่มของ นกั ศกึ ษาวา่ นกั ศึกษามคี วามรู้มากนอ้ ยเพียงใดจากการเรียนรู้และมีปัญหาด้านใดบ้าง ซ่ึงผู้ปกครองคือครูที่ปรึกษาของ ทงั้ ครูและผูเ้ รยี น เพอื่ ช่วยสร้างขวัญและกาลังใจใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความตระหนัก มีความกระตือรอื รน้ ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น - ครูพบกลุ่มย่อยท่ีบ้าน ที่ทางาน ของนักศึกษา ของนักศึกษา ในช่วงเวลาที่นักศึกษาสะดวก เพื่อ สร้างแรงจูงใจให้นักศึกษา เกิดความตระหนักในหน้าที่ของตนเอง มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และกระตือรือร้นท่ีจะต้องเข้า สอบปลายภาคเรยี นนั้น

7 - ครูแจ้ง เช็ค หรือสอบถามปัญหานักศึกษาทางกลุ่ม Line / Chat Massage หัวใจสาคัญคือ Fanpage facebooke กศน.ตาบล กลมุ่ นักศกึ ษา กศน.ตาบลทงุ่ สว่าง ทาให้นกั ศึกษาทราบขา่ วล่วงหนา้ ทนั ทว่ งที มีเวลาเตรียมตัวทัน ในกรณีผู้ทางานต่างถ่ินและนักศึกษาทราบกาหนดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านต่างๆ และแจ้ง นักศกึ ษาทมี่ สี ทิ ธิ์สอบตอ้ งเข้ารบั การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ทกุ คน ส่วนใครท่พี ลาดการสอบ N-NET อาจจะไม่มีสทิ ธิสอบ N-NET อกี เลย และไมไ่ ด้วฒุ กิ ารศกึ ษาดว้ ย 4.4 การมีส่วนร่วมกบั ภาคเี ครือขา่ ย ในการสรา้ งแรงจูงใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (Action) - ก่อนวนั สอบครูต้องดูแลและประสานพูดคุยกับนักศกึ ษาตลอดเพ่ือให้ทราบวา่ นกั ศกึ ษาอยู่ทไี่ หน อย่างไร ประเมินวา่ นักศกึ ษามีความพร้อมมากน้อยแค่ไหน โดยเฉพาะพาหนะในการเดินทางมาสอบ ถ้านักศกึ ษาไม่มี พาหนะครูต้องไปรบั ทบี่ ้านเพื่อให้นักศึกษาได้มาสอบ - ในวนั สอบครตู ้องเตรียมอปุ กรณ์ในการสอบ กางเกงขายาว กระโปรง สาเนาบัตรประชาชน มา สถานทีส่ อบฯ ด้วย เพ่ือเชค็ และช่วยเหลือนักศึกษาท่ีมีปัญหาจนเข้าห้องสอบจนครบทุกคน - ดาเนินงานกบั ภาคีเครอื ขา่ ย และการติดตามการสรา้ งแรงจงู ใจให้ผูเ้ รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรม การพบ กลุ่ม และเพมิ่ จานวนผเู้ ข้าสอบปลายภาค โดยคณะครูรว่ มกนั วางแผนการทางาน และการปฏิบัติตามแผนร่วมกบั ภาคี เครอื ข่าย โดยเข้าร่วมประชุมกับผนู้ า และสารวจผ้ทู ี่อยูน่ อกระบบการศึกษาเพอ่ื ให้อปุ สรรคในการมาพบกลุม่ และการ ร่วมกจิ กรรมของผู้เรยี น บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ตลอดจนการยกย่องเชิดชเู กยี รติสรา้ งขวญั และกาลงั ใจกบั นกั ศึกษาท่เี รียน จบหลกั สตู ร จากดาเนินการจัดทาระบบการตดิ ตามและประสานนักศึกษา มีการวางแผนการดาเนนิ งาน และตดิ ตามงาน อยา่ งเป็นระบบเพ่ือให้ได้ข้อมูลถูกตอ้ งและแม่นยา โดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA อย่างไรก็ตาม ในบางกิจกรรมที่ กศน.ได้ดาเนนิ การจดั ขึ้น ยังมีนักศึกษา กศน.ตาบลทงุ่ สวา่ ง เขา้ ร่วมกจิ กรรมไมเ่ ป็นไปตามจานวน เปา้ หมายทก่ี าหนดเอาไว้ และยังสามารถเพ่มิ จานวนผูเ้ ข้าสอบปลายภาคใหม้ ีร้อยละทเี่ พ่ิมขึน้ ได้อีก จึงตอ้ งมกี าร ปรบั ปรงุ ระบบตดิ ตามและประสานนกั ศึกษา ให้มีประสิทธิภาพทีด่ ยี ิ่งข้ึน 1. วเิ คราะห์ข้อมูลของนกั ศึกษา 2. ทบทวนข้อมูลให้มีความครอบคลุม 3. สรุปผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 4. รวบรวมข้อมลู เพื่อประกอบการจดั ทาระบบการติดตามและประสานนักศึกษาในครัง้ ต่อไป 5. รายงานผลการดาเนินงานต่อผู้บรหิ าร

8 5. กระบวนการผลติ งานหรอื ขัน้ ตอนการดาเนินงาน (วธิ ปี ฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลศิ ) จากดาเนนิ การจัดทาระบบการติดตามและประสานนักศึกษา มีการวางแผนการดาเนนิ งาน และตดิ ตามงาน อยา่ งเปน็ ระบบเพ่ือให้ไดข้ ้อมูลถกู ต้องและแม่นยา โดยใชว้ งจรคณุ ภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA การวางแผน (Plan) จากข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน จานวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และจานวนผู้เข้าสอบปลายภาคเรียน ในปีที่ผ่านมาพบว่า จานวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนการสอนและการเขา้ สอบ และการเข้าสอบยังไม่เป็นที่น่าพอใจ จึงได้กาหนดแผนใน การดาเนนิ งาน ระบบการติดตามและประสานนักศึกษาไวด้ ังน้ี 1 2 3 4 ชี้แจงแนวทางการ ออกแบบการ รวบรวมขอ้ มลู และ ดาเนนิ การติดตาม ดาเนนิ งานให้กับ จัดเก็บข้อมลู ใน ดาเนินการจัดทา นกั ศกึ ษาโดยใช้ ผู้บริหารและคณะ การติดตามและ คมู่ ือติดตามและ คู่มือติดตามและ ประสานนักศึกษา ประสานนกั ศึกษา ประสานนกั ศึกษา ครูทราบ การปฏบิ ัตติ ามแผน (Do) ปฏบิ ัตงิ านตามแผนทว่ี างไว้ โดยดาเนนิ การตามขั้นตอนดงั ต่อไปนี้ 1. จัดทาแบบสารวจข้อมูลเพื่อการตดิ ตามและประสานนักศึกษา 2. ประชุมชี้แจงกบั นักศึกษาเพอ่ื กรอกแบบสารวจขอ้ มลู เพ่ือการติดตามและประสานนักศึกษา 3. บนั ทกึ ข้อมลู ท่ีได้จากใบสมัครและแบบสารวจข้อมูลเพ่ือการติดตามและประสานนักศึกษา 4. จดั ทาคู่มือเพอื่ การติดตามและประสานนักศึกษา 5. จดั ทาไฟลท์ อ่ี ย่นู ักศึกษา ในรูปแบบไฟล์ Microsoft Excel 6. ให้นกั ศึกษาเขา้ กล่มุ Line กศน.ตาบลทุง่ สวา่ ง 7. เพิม่ นักศึกษาเปน็ เพือ่ นใน Facebook 8. เชญิ นักศกึ ษากดถกู ใจ และติดตาม Fan page Facebook กศน.ตาบลทุ่งสวา่ ง กศน.อาเภอวังหนิ 9. ดาเนินการตดิ ต่อประสานนกั ศึกษาเพื่อเขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีทาง กศน.จัดขึน้ ผา่ นทางโทรศัพท์ ส่ง ขอ้ ความในกลุม่ Line กศน.ตาบลท่งุ สว่าง Line สว่ นตัวของนักศึกษา Facebook Messenger 10. ประชาสัมพันธก์ ารจดั กจิ กรรมท่ี กศน.จะดาเนนิ การผา่ นทาง Facebook ส่วนตัวของครูและ Fan page Facebook กศน.ตาบลท่งุ สว่าง กศน.อาเภอวงั หิน

9 11. ทาสง่ เปน็ หนังสอื เชญิ นกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมกิจกรรม โดยครลู งพ้ืนทสี่ ่งหนงั สือเชญิ ดว้ ยตนเอง 12. แจ้งวนั เวลาและสถานที่สอบ N-NET ใหน้ กั ศึกษาทราบล่วงหนา้ อยา่ งน้อย 30 วนั โดยการโทร ประสาน แจง้ ไปใน Line กศน.ตาบลทงุ่ สวา่ ง Line สว่ นตัวของนักศกึ ษา Facebook Messenger และจัดทาตารางสอบพร้อมนาส่งยงั ทอ่ี ยู่ของนักศกึ ษา การตรวจสอบ (Check) แบ่งการตรวจสอบข้อมลู ออกเป็น 3 ช่วง คอื - ระหว่างภาคเรียน สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพบกลุ่มของนักศึกษาในแต่ละสัปดาห์ โดย อ้างอิงจากบัญชีลงเวลาการพบกลุ่มนักศึกษา สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนของนักศกึ ษาในแตล่ ะกิจกรรม/โครงการ โดยอา้ งองิ จากบญั ชีลงผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมเข้าร่วม กจิ กรรม - ระหวา่ งการสอบ N-NET ตรวจสอบจานวนนักศึกษาทเี่ ข้าสอบใน แต่ละห้อง โดยการเดิน สงั เกต และดจู ากบญั ชีลงเวลาการเข้าสอบของนักศึกษา - ภายหลงั การสอบ N-NET ตรวจสอบจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ด้าน การศึกษานอกระบบ (N-NET) การปรบั ปรุงการดาเนินงาน (Act) - จากการดาเนินการตามระบบการติดตามและประสานนักศึกษา ถือว่าระบบการติดตามดังกล่าวมี ประสิทธิภาพอยู่พอสมควร โดยอ้างอิงจากจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีจานวนเพิ่มข้ึน รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ (N-NET) ท่ีนักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งสว่าง เข้ารับการทดสอบ ร้อยละ 100 ของจานวนนกั ศึกษาทเ่ี ขา้ รบั การทดสอบทัง้ หมด ซึ่งเป็นจานวนท่เี พ่มิ ขึ้นจากภาคเรยี นท่ผี า่ นมา 6. ผลการดาเนนิ งาน ผลสัมฤทธิแ์ ละประโยชน์ท่ีไดร้ ับ - จากการจดั ทาระบบการตดิ ตามและประสานนกั ศึกษา สามารถสรุปผลการดาเนนิ งานท่ีเก่ยี วข้องทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 6.1 หนว่ ยงาน/สถานศึกษา - กศน.ตาบลทุ่งสว่าง มีจานวนนักศึกษาท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมเพ่ิมข้ึน จานวนนักศึกษาที่ เขา้ รับการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ (N-NET) รอ้ ยละ 100 6.2 บคุ ลากร - ครู กศน.ตาบล มีระบบการตดิ ตามและประสานนกั ศึกษาท่มี ปี ระสิทธิภาพ สะท้อนถงึ การปฏบิ ตั งิ าน ของครู กศน.ตาบล สามารถใช้เปน็ แนวทางในการประสานนักศกึ ษา ของ ครู กศน.ตาบล อ่ืนต่อไป 6.3 ผู้เรียน/ผรู้ ับบริการ - นักศึกษาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ได้เขา้ รว่ มกิจกรรม กระบวนการเรยี นรู้ ทั้งกจิ กรรมการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น เข้าสอบ N-NET ผ่านเกณฑ์การจบ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

10 7. ปัจจัยความสาเร็จ 7.1 การกาหนดกลยุทธ์ในการดาเนินงานโดยใช้หลักการและแนวคิดในการวิเคราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ วงจร PDCA 7.2 การมสี ว่ นร่วมของนกั ศึกษาทุกคน ทาให้ได้ข้อมูล ที่อยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ ชื่อ Facebook ID Line เพื่อใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการติดต่อประสานงาน 7.3 เทคโนโลยใี นการตดิ ต่อสอื่ สารทที่ นั สมยั Smartphone, Facebook, Line 7.4 การกากบั ติดตามนักศึกษาโดยการลงพนื้ ทปี่ ระสานนักศึกษารายบุคคล สง่ หนังสอื เชิญเพื่อเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ ท่ี กศน.จดั ขึน้ 7.5 การสรา้ งปฏิสัมพันธท์ ด่ี กี บั นักศึกษา สรา้ งความคุน้ เคย เปน็ กนั เองไม่ถือตัวมที ัศนคตทิ ่ดี ีกบั นกั ศกึ ษาทุกคน มาความหวังดีกบั นักศึกษา 8. ประโยชน์ทไี่ ด้รับ 8.1 การวิเคราะห์ข้อมลู ต้องศึกษาหลักการ แนวคิด และวิธีการท่หี ลากหลาย เพ่ือให้สามารถนาไป ประยกุ ต์ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับตามสภาพของหน่วยงาน 8.2 การวางแผน เป็นกระบวนการสาคญั ทีจ่ ะช่วยให้มแี นวทางในการปฏิบัติงานชดั เจน ถูกต้อง 8.3 ความสาเรจ็ ของงาน เกดิ จากการมสี ่วนร่วมของทุกฝ่ายในองค์การ ดังนัน้ ควรใหโ้ อกาสในการ ปฏิบัตงิ าน เสนอแนะความคิดเหน็ รวมถึงสรา้ งขวญั กาลังใจแกบ่ คุ ลากรอย่างต่อเนื่อง 8.4 การมชี ่องทางการติดตอ่ กบั นกั ศึกษาทีห่ ลากหลาย เป็นสิ่งทีจ่ าเปน็ อย่างยิ่งในการตดิ ต่อและ ประสานนกั ศึกษาในการเข้าร่วมกจิ กรรม 9. การได้รับการยอมรับ/รางวัลท่ไี ด้รบั /การเผยแพร่ 9.1 ได้รับประกาศนียบัตรจากผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการตาม อัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ ในการติดตามนักศึกษาเข้ารับทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) ไดร้ ้อยละ 100

ภาคผนวก

เอกสารท่ีใช้ในการติดตามและชอ่ งทางในการตดิ ตามและประสานนักศกึ ษา ใบสมัครผ้เู รียน แบบสารวจขอ้ มลู ประวตั ผิ ูเ้ รยี น แบบติดตาม และสารวจความต้องการนักศกึ ษา

การติดต่อนักศกึ ษาผ่านทาง Line Faecbook Massenger

การตดิ ต่อนักศกึ ษาผ่านทาง Line Faecbook Massenger ขอ้ มูลท่ีอยู่ เบอร์โทรศพั ท์ ชื่อเฟสบคุ๊ และไลนไ์ อดี ของนักศกึ ษา การตดิ ต่อนักศึกษาผา่ นทาง ไลนต์ าบล ไลน์สว่ นตัว และแมสเซนเจอร์เฟสบคุ๊

ภาพกิจกรรม การลงพื้นทต่ี ิดตามและประสานนักศกึ ษา

รางวลั ที่ไดร้ บั ซึ่งเปน็ ผลที่เกิดจากระบบการติดตามและประสานงานนกั ศกึ ษา

เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง