Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารแนะนำตัว

เอกสารแนะนำตัว

Published by thanakit ritsri, 2022-08-13 04:38:01

Description: เอกสารแนะนำตัว

Search

Read the Text Version

เอกสารแนะนำตวั ประกอบการคัดเลือกบุคคล เพื่อบรรจุและแตง่ ต้ังใหด้ ำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา นายสุดใจ สุปัญบุตร รองผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา มัธยมศึกษากาฬสนิ ธ์ุ

นายสุดใจ สุปญั บุตร รองผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษากาฬสินธุ์ หวั ข้อ รายละเอยี ด ชื่อ - สกลุ นายสดุ ใจ สุปญั บุตร ตำแหนง่ ปัจจบุ นั รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากาฬสินธุ์ วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ รับเงินเดอื น ๖๐,๓๗๐ บาท เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์  ชนั้ ที่ ๑ ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) วันบรรจุเขา้ รับราชการ เมอื่ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ วนั บรรจุตำแหน่ง  เหรยี ญจักรพรรดิมาลา รอง ผอ. สพท. วันเกษยี ณอายรุ าชการ เม่ือวนั ที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ วนั เดอื น ปี เกดิ วนั ท่ี ๒๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ ท่ีอยู่ วนั ที่ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ เลขบัตรประจำตวั วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ประชาชน วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๐๖ ใบอนุญาตประกอบ บา้ นเลขที่ ๒ ซอย ๒๙ ถนนริมคลองสมถวลิ ตำบลตลาด วชิ าชีพผบู้ ริหารฯ อำเภอเมืองมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม รหัสไปรษณยี ์ ๔๔๐๐๐ ๓ ๔๖๑๐ ๐๐๑๖๑ ๙๘ ๗ เลขที่ ๖๕๓๓๒๒๔๐๑๔๙๑๒๖ วันที่ ๒๓ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถงึ วนั ที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๗๐ หนา้ ๑

ประวัตกิ ารศกึ ษา ระดบั การศึกษา ช่อื ปริญญา สาขา สถาบัน วัน เดือน ปี ปริญญาตรี ชอื่ เต็ม ชื่อย่อ ทส่ี ำเร็จ วิทยาลยั ครู ปรญิ ญาโท ครศุ าสตร์บัณฑติ ค.บ. เทคโนโลยี มหาสารคาม ๒๕ มนี าคม มหาวิทยาลยั ๒๕๒๘ ปริญญาเอก ทางการศึกษา มหาสารคาม ๒๑ การศกึ ษาระดบั พฤศจิกายน อนื่ ๆ ท่สี ำคญั การศกึ ษา กศ.ม. การศกึ ษา - ๒๕๔๐ มหาวทิ ยาลยั - มหาบัณฑติ ผ้ใู หญ่ ราชภัฏ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ์ มหาสารคาม ๒๕๕๓ - -- ประกาศนยี บัตร ป.บัณฑติ บรหิ าร บณั ฑิต การศกึ ษา ประวตั กิ ารรบั ราชการ พ.ศ. ตำแหน่ง/ประสบการณ์ อำเภอ/จงั หวัด พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๓ อาจารย์ ๑ โรงเรยี นบ้านเขวาค้อ สปอ. วาปีปทมุ พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๔๖ โคกกลาง สปจ. มหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๑ นกั วชิ าการศกึ ษา ศธอ.นาดนู จ.มหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๒ นกั วิชาการศึกษา ศธจ.มหาสารคาม ๑๘ ก.พ. พ.ศ. ๒๕๖๓ นักวชิ าการศึกษา สพท.มหาสารคาม เขต ๑ - ปจั จุบนั หัวหนา้ กล่มุ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเอกชน สพท.มหาสารคาม เขต ๑ หัวหน้ากลมุ่ สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษา สพท.มหาสารคาม เขต ๑ ผู้อำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา สพม.๒๖ จ.มหาสารคาม รองผูอ้ ำนวยการเขตพนื้ ที่การศึกษา สพม.กาฬสินธุ์ มัธยมศึกษากาฬสนิ ธุ์ หนา้ ๒

ประสบการณ์ทางการบริหาร “รักษาราชการแทน” ที่ ประสบการณ์ทางการบริหารและการบรหิ ารงาน พ.ศ. ๑ มีประสบการณ์ในการ “รกั ษาราชการแทน” ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่ี ๒๕๖๑ การศกึ ษา กรณี มี/ไมม่ ี แต่ไมอ่ าจปฏิบัตริ าชการได้ “รักษาราชการแทน”ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๖ ตามคำส่งั ฯ ที่ ๒๕๒/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ระหว่างวันที่ ๑๒ - ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ๒ “รกั ษาราชการแทน”ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ๒๕๖๒ เขต ๒๖ ตามคำส่งั ฯ ท่ี ๑๑๒/๒๕๖๒ ลงวนั ท่ี ๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๙ เมษายน – ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ๓ “รกั ษาราชการแทน”ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา ๒๕๖๒ เขต ๒๖ ตามคำส่งั ฯ ที่ ๑๕๙/๒๕๖๒ ลงวนั ที่ ๖ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ ระหว่างวันที่ ๑๐– ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ๔ “รกั ษาราชการแทน” ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสนิ ธุ์ ๒๕๖๓ คนท่ี ๒ กรณที ่ผี ู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากาฬสินธ์ุไมอ่ ยู่ หรืออยแู่ ต่ไมส่ ามารถปฏิบัติราชการได้ ตามคำส่ังฯ สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา มธั ยมศึกษากาฬสินธ์ุ ท่ี ๑๐๓/๒๕๖๓ ลงวันท่ี ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ๕ “รกั ษาราชการแทน” ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากาฬสนิ ธ์ุ ๒๕๖๔ คนที่ ๑ กรณที ีผ่ ู้อำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากาฬสนิ ธ์ไุ ม่อยู่ หรอื อยู่แต่ไม่สามารถปฏิบตั ิราชการได้ ตามคำสง่ั ฯ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษากาฬสินธ์ุ ท่ี ๑๖๖/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๔ หนา้ ๓

ประสบการณ์ทางการบรหิ ารและการบริหารงาน ท่ี ประสบการณท์ างการบริหารและการบรหิ ารงาน หน่วยงาน พ.ศ. ๒๕๖๕ ๑ เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื การวจิ ยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั ๒๕๖๕ นกั ศกึ ษาบณั ฑิตวทิ ยาลยั ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาวชิ า อุดรธานี ๒๕๖๕ การบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี ๒๕๖๕ ๒ เปน็ คณะทำงานประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารแข่งขนั สำนกั งานคณะกรรมการ ๒๕๖๕ โรงเรยี นตน้ แบบสภานักเรียน “ระดับประเทศ” การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ๒๕๖๔ ๒๕๖๒ ประจำปี ๒๕๖๕ ๓ เปน็ วทิ ยากรโครงการอบรมสมั มนาสภานักเรยี น สำนกั งานคณะกรรมการ ระดบั ประเทศ “สภานักเรยี น สพฐ. สานต่อแนวทาง การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ทส่ี ร้างสรรค์ เรยี นร้อู ย่างเท่าทนั มงุ่ มัน่ พฒั นา ประชาธปิ ไตย” ประจำปี ๒๕๖๕ ๔ เปน็ คณะกรรมการตดั สนิ สภานกั เรยี น การแขง่ ขนั สำนกั งานคณะกรรมการ โรงเรยี นตน้ แบบสภานักเรียน ระดับประเทศ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประจำปี ๒๕๖๕ ๕ เป็นคณะทำงานปรบั ฐานข้อมลู การแขง่ ขันงาน สำนกั งานคณะกรรมการ ศิลปะหัตถกรรมนกั เรยี น ประจำปี ๒๕๖๕ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ๖ เปน็ คณะกรรมการตัดสนิ การแข่งขนั โรงเรยี นตน้ แบบ สำนกั งานคณะกรรมการ สภานกั เรยี น ระดบั ประเทศ ประจำปี ๒๕๖๔ การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๗ เป็นวิทยากรอมรมสภานกั เรยี นตน้ แบบสภานกั เรยี นไทย สำนกั งานคณะกรรมการ รุ่นใหมพ่ ร้อมกา้ วไกลและกา้ วหนา้ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา มหาสารคาม เขต ๒ หนา้ ๔

ประสบการณท์ างการบรหิ ารและการบริหารงาน ที่ ประสบการณท์ างการบริหารและการบรหิ ารงาน หนว่ ยงาน พ.ศ. ๘ เป็นคณะทำงานจดั ทำหลกั สตู รและกจิ กรรมโครงการ สำนกั งานคณะกรรมการ ๒๕๖๒ อบรมสมั มนาสภานกั เรยี น ระดับประเทศ การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ประจำปี ๒๕๖๒ ๙ เปน็ คณะทำงานและวิทยากรโครงการอบรมสัมมนาสภา สำนกั งานคณะกรรมการ ๒๕๖๒ นกั เรยี น ระดบั ประเทศ ประจำปี ๒๕๖๒ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพ่ือนำเสนอข้อคดิ เหน็ ของสภานกั เรยี น ต่อรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๐ เป็นผู้ทรงคณุ วฒุ กิ ารสนทนากลมุ่ (Focus Group) มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ๒๕๖๑ นักศึกษาปรญิ ญาเอก มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ๑๑ เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญตรวจสอบผลงานทางวิชาการ โรงเรยี นผดุงนารี ๒๕๖๐ ขอเลอ่ื นวิทยฐานะ โรงเรียนผดงุ นารี ๑๒ เป็นวิทยากรอบรมสมั มนาคณะกรรมการสภานกั เรยี น สำนกั งานเขตพนื้ ท่ี ๒๕๖๐ และครู กลมุ่ โรงเรยี นพนสั นคิ มฯ จังหวัดชลบรุ ี การศกึ ษาชลบรุ ี เขต ๑ ๑๓ เปน็ วทิ ยากรอบรมสภานกั เรยี นและครู สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี ๒๕๖๐ สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา การศกึ ษาประถมศกึ ษา มหาสารคาม เขต ๓ มหาสารคาม เขต ๓ ๑๔ เป็นวทิ ยากรโรงเรยี นตน้ แบบสภานกั เรียนชุมชนโพธส์ิ อง สำนกั งานเขตพน้ื ท่ี ๒๕๖๐ ห้อง สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา การศกึ ษาประถมศกึ ษา มหาสารคาม เขต ๒ มหาสารคาม เขต ๒ ๑๕ เปน็ วทิ ยากรใหก้ ารอบรมสัมมนาสภานักเรยี น สำนกั งานคณะกรรมการ ๒๕๖๐ ระดับประเทศ ประจำปี ๒๕๖๐ การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน หนา้ ๕

ประสบการณท์ างการบริหารและการบริหารงาน ที่ ประสบการณ์ทางการบริหารและการบรหิ ารงาน หน่วยงาน พ.ศ. ๑๖ เป็นผเู้ ชย่ี วชาญตรวจสอบเครือ่ งมอื วทิ ยานิพนธ์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ๒๕๕๙ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ๑๗ เปน็ คณะทำงานดำเนนิ การพฒั นาหลกั เกณฑ์ สำนกั งานคณะกรรมการ ๒๕๕๙ การคัดเลือกโรงเรยี นตน้ แบบสภานกั เรยี น การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน และพฒั นาศกั ยภาพคณะทำงาน วิทยากรทีข่ บั เคล่ือนกจิ กรรมสภานกั เรยี น ๑๘ เป็นคณะทำงานและวิทยากร ประชมุ สมั มนา สำนักงาน ๒๕๕๙ สภานกั เรียน ระดบั ประเทศ ประจำปี ๒๕๕๙ คณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๑๙ ได้รบั การแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการคัดเลอื ก สำนกั งาน ๒๕๕๙ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทจี่ ัดกิจกรรมลกู เสือ คณะกรรมการ ดีเด่น การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ๒๐ เป็นวิทยากรอบรมสภานกั เรยี นโรงเรยี นนาเชอื ก โรงเรยี นนาเชือก ๒๕๕๗ พิทยาสรรค์ พทิ ยาสรรค์ ๒๑ เป็นคณะทำงานจัดทำคู่มอื การปฏิบัติงานสภา สำนักงาน ๒๕๕๗ นักเรยี นและจดั ทำหลกั สตู รการจดั กิจกรรมอบรม คณะกรรมการ สมั มนา การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สภานกั เรยี น ๒๒ เปน็ คณะกรรมการคัดเลือกและประเมนิ โรงเรียน สำนกั งาน ๒๕๕๗ ต้นแบบสภานกั เรยี นของสำนกั งานคณะกรรมการ คณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ประจำปี ๒๕๕๗ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หน้า ๖

ประเภท ชอ่ื ผลงาน ระดับ ปี พ.ศ. สถานศกึ ษา ๑. โรงเรยี นต้นแบบสภานักเรียน สพฐ. ๒๕๕๕ ผู้บรหิ าร (ตนเอง) ระดับประเทศ ๒. โรงเรยี นระบบการดูแลช่วยเหลือ สพฐ. ๒๕๕๙ นกั เรียน ดีเด่น ๓. โรงเรียนปลอดขยะ Zero West กระทรวงทรพั ยากร ๒๕๕๙ School โรงเรยี นนาดูนประชาสรรพ์ ธรรมชาตฯิ ๔. โรงเรียนสีเขยี ว กฟผ. ๒๕๖๑ ๕. ประกวดระเบยี บแถว ระดับประเทศ สำนักการลกู เสือ ๒๕๖๒ ๖. สถานศกึ ษาสขี าว แหง่ ชาติ ๗. สถานศึกษาส่งเสริมและสนับสนุน ศธ. ๒๕๕๗,๒๕๕๘ โครงการเยาวชนต้นแบบดา้ นดนตรไี ทย กระทรวงวฒั นธรรม ๒๕๖๐, ๒๕๖๑ ๘. Best Practice บริหารจัดการขยะ ๙. รางวัล Moe awards ๑๐. รางวัล เสมา ป.ป.ส. สพฐ. ๒๕๖๐ ๑๑. ผ่านการคัดเลือกสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๖๐ พอเพียง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒๕๖๐ ๑๒. ได้รับการรับรองมาตรฐานโรงเรียน มูลนธิยุวสถิรคณุ ๒๕๖๐ สง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชร กรมอนามัย ๒๕๖๐ ๑. เสมา ปปส. ศธ. ๒๕๕๙,๒๕๖๐ ๒. ผูบ้ ังคับบัญชาลกู เสือดีเดน่ สำนักการลูกเสอื ๒๕๕๗,๒๕๖๐, แห่งชาติ ๒๕๖๑,๒๕๖๒ ๓. MOE Award ศธ. ๒๕๕๙ ๔. ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษาดีเด่น สภาผู้ปกครองครู ๒๕๖๔ แห่งประเทศไทย หนา้ ๗

ประเภท ชอ่ื ผลงาน ระดบั ปี พ.ศ. ครูผู้สอน ๒๕๕๙ ๑. เสมา ปปส. ศธ. ๒๕๕๙ นกั เรยี น ๒๕๕๙ ๒. พสน.ดเี ด่น สพฐ. ๒๕๖๔ ๓. ผบู้ งั คับบัญชาลูกเสือดีเด่น สำนกั การลูกเสอื ๒๕๖๕ ๔. ผู้ควบคุมนักเรียนเข้าร่วมการ ศนู ย์หนุ่ ยนตก์ มลาไสย ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔, ๒๕๕๖,๒๕๕๙, อบรมและแข่งขนั หนุ่ ยนต์อัตโนมตั ิ ๒๕๖๓ ๒๕๕๐,๒๕๕๓, ๕. นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ๒๕๕๖,๒๕๕๘ ๒๕๕๗ สาขาวชิ าฟสิ ิกสแ์ ละชวี วทิ ยา ศนู ย์เครือข่าย สควค. ๒๕๖๑ ๑. นักเรียนได้รบั รางวลั ศธ. ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ พระราชทาน ๒. คุณธรรม ธนาคารออมสนิ สพฐ. , ธ.ออมสิน ๓. งานศลิ ปหัตกรรมนกั เรยี น สพฐ. ๔. รางวลั มูลนิธิเปรม มลู นธิ เิ ปรมฯ ตณิ สูลานนท์ ๕. การแขง่ ขันห่นุ ยนตอ์ ตั โนมัติ ศูนยห์ ่นุ ยนตก์ มลาไสย ๖. การแข่งจนั กฬี าแห่งชาติ ๔๗ การกฬี าแห่งประเทศไทย หนา้ ๘

 กลยทุ ธก์ ารกำหนดเปา้ หมายและแนวทางการจดั การศกึ ษาของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ทสี่ อดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิในสถานศกึ ษา ตามพระราชบั ญญ ั ต ิ การศึ กษาแห ่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีความมุ่งหมาย จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคน ไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) กำหนด เป้าหมายในการพัฒนาคนในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคน ดี เก่ง และมีคุณธรรม สร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง สังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มีแนวทางการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีการพัฒนาการ สมรรถนะ และบุคลิกลักษณะที่ดีและสมวัยทุกด้าน มีการปฏิรูปการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ มีเป้าหมายในการ จัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนา กำลงั คนใหม้ ีสมรรถนะในการทำงานท่สี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ โดยมีหลักการตาม นโยบาย คือ สร้าง TRUST หรือ “ความเชื่อมั่นไว้วางใจ” รูปแบบการทำงาน “MOE ONE TEAM” หรือการทำงาน ร่วมกันเป็นหนึ่งเดียวของกระทรวงศึกษาธิการ ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดำเนนิ การตามภารกจิ โดยผ่านการรบั ฟงั ความคิดเห็นมาประกอบเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดนโยบาย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ แนวทาง การพัฒนา “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” ใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาส ด้านคุณธรรมและด้านประสิทธิภาพ และต่อยอดพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ให้เป็น “วิถีอนาคต วิถีคุณภาพ” ใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาสและการลด ความเหลือ่ มล้ำทางการศึกษา ดา้ นคุณภาพ และดา้ นประสิทธิภาพ หน้า ๙

สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา มีหนา้ ที่ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยร่วมมือกับสถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามความมุ่ง หมาย มาตรฐานของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและขับเคลื่อน งานนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร และสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ข้าพเจ้า ได้ศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์เพือ่ เป็นแนวคิดในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาใหเ้ หมาะสม ตามบริบทเชิงพื้นที่จึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ คติพจน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ค่านิยมองค์กร และแนวทางการ พฒั นาเขตพ้ืนที่การศึกษา ดงั น้ี  วิสัยทศั น์ (Vision) “คิดค้น พัฒนาสคู่ ณุ ภาพ บนพน้ื ฐานความพอเพยี ง”  คตพิ จน์ (Motto) “คิดคน้ พัฒนา คุณภาพ”  พันธกจิ (Mission) ๑. ส่งเสริม สนับสนุน การสร้างความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษา สร้างระบบกลไกการดูแล สร้างภูมิคุ้มกันการรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีดิจิทัล ในการดำรงชีวิต มสี ขุ ภาพวะทด่ี ีและเปน็ มติ รกับสงิ่ ล้อม ๒. ส่งเสริม สนับสนุนด้านโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาให้ผู้เรียนทุกคน ทั้งเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาสเข้าสู่ระบบการศึกษาด้วยความเสมอภาค พัฒนาเต็มตามศักยภาพการดูแล ป้องกัน ไม่ให้ผู้เรียนหลุดออกจากระบบการศึกษา โดยมีระบบข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการบริหาร จัดการศึกษา ๓. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพในการจัดการศึกษา ทั้งคุณภาพ ผู้เรียนให้มีความรู้ ตามหลักสูตร และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษ ที่ ๒๑ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มี สมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวชิ าชพี ๔. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาทั้งระบบโดยยึด หลักธรรมาภิบาลนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาเพิ่มประสิทธิภาพ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา การประกัน คุณภาพภายใน โดยยึดโรงเรียนเป็นฐาน เพื่อให้สอดรับกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวิตวิถีปกติ (Next Normal) หนา้ ๑๐

 เป้าประสงค์ (Goal) ๑. สร้างระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัย อย่างเข้มข้นให้กับผู้เรียน ครูและบุคลกรทางการศึกษา เพื่อให้ ปลอดจากภยั คุกคามทุกรปู แบบ ๒. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี มีการจัดสภาพแวดล้อม ท่ีเอ้อื อำนวยต่อการมสี ุขภาวะท่ีดีและเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม ๓. ประชากรในวัยเรยี น รวมถึงเดก็ พกิ าร และผดู้ ้อยโอกาสได้รับโอกาสและความเสมอภาค ในการเข้ารับการศึกษาอยา่ งท่ัวถึง และพัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งกการตลาดแรงงาน ๔. พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใช้ในการบริหาร จดั การศกึ ษา ปอ้ งกนั ไม่ให้ผูเ้ รยี นหลดุ ออกจากระบบ ๕. ผเู้ รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ มีทักษะท่ีจำเป็น ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นพลเมอื งดี มีศลี ธรรม ยึดม่ันในสถาบันหลกั ของชาติ ๖. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่ง และมาตรฐานวิชาชีพ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็นมืออาชีพ มีภาคีเครือข่ายในการจัด การศึกษา ๗. เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาบรหิ ารจัดการศึกษาโดยยึด หลักธรรมาภิบาล นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดการระบบ ฐานข้อมลู สารสนเทศ เพ่อื การบริหารจัดการศกึ ษา ๘. การพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพ โดยยึด โรงเรียนเป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วม ทุกภาคส่วน มีระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษาภายใน ของสถานศึกษาและการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลแบบบรู ณาการ  คา่ นยิ มองคก์ ร (Corporate Values) “มคี ุณธรรม ให้บรกิ าร ประสานความร่วมมือ” หนา้ ๑๑

 แนวทางการจดั การศึกษาของสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธกิ าร และสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานไปสู่การปฏบิ ัตใิ นสถานศกึ ษา การจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเชื่อมโยงการปฏิบัติไปสู่สถานศึกษา ต้องศึกษา วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ขององค์กรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ทั้งระบบ โดยจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาแบบมีส่วน ร่วม ดำเนินการตามแผน กำกับ ติดตาม และรายงานผล ด้วยระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล การน้อมนำ หลักการทรงงาน ศาสตร์พระราชา (ร.๙) พระบรมราโชบายด้านการศึกษา (ร.๑๐) เป็นแนวทางในการ พฒั นา “ระเบิดจากขา้ งใน เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา” ซ่งึ จะต้องกำหนดแนวทางใหส้ อดคล้องกับนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธิการ คือ หลักการตามนโยบายสร้าง TRUST หรือ “ความเชื่อมั่นไว้วางใจ” รูปแบบ การทำงาน “MOE ONE TEAM” หรือการทำงานร่วมกันเป็นหนึ่งเดียว รวมทั้งนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ไดก้ ำหนดแนวทางพัฒนา “การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานวิถีใหม่ วิถคี ณุ ภาพ” ใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ด้านคุณภาพ และดา้ นประสทิ ธภิ าพ เพือ่ ตอ่ ยอดการพัฒนาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานให้เปน็ “วถิ ีอนาคต วถิ คี ณุ ภาพ” แนวทางการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษา จึงต้องกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ภายใต้กรอบแนวคิดในการพัฒนา “ISCA Model” ซึ่งมี องคป์ ระกอบ ๔ สว่ น คือ คดิ คน้ (Invent) มงุ่ มัน่ (Strive) ประสานงาน (Coordinate) สู่ความสำเร็จ (Accomplish) การบริหารจัดการเชิงระบบเพื่อพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิผล PDCA ได้แก่ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติ (Do) การตรวจสอบ (Check) การปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act) หน้า ๑๒

รปู แบบการพัฒนา ISCA Model หลกั การทรงงาน/ ศาสตรพ์ ระราชา / พระบรมราโชบาย คิดค้น ม่งุ มน่ั ประสานงาน สู่ความสำเรจ็ (Invent) (Strive) (Coordinate) (Accomplish) Plan Act Do Check  ผลลัพธ์ (Results) การพัฒนาเขตพื้นที่การศึกษาสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ภายใต้กรอบแนวคิด รูปแบบ ISCA Model นำสู่การปฏิบัติ ส่งผลให้เกิดความสำเร็จตามนโยบายและจุดเน้น ทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ ใน ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านโอกาสและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ด้านคุณภาพ และด้านประสิทธิภาพ หน้า ๑๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook