1
2 บทสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร โครงการปลกู พชื ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสํงเสริมให๎ผู๎เข๎ารํวม มีความรู๎ความเข๎าใจน๎อมนา “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”สามารถนาความร๎ูท่ีได๎รับไปปรับใช๎ใน ชวี ติ ประจาวนั ใหก๎ ับตนเองและครอบครัวได๎ ผเ๎ู ข๎ารวํ มโครงการไดเ๎ รยี นร๎จู ากการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วันท่ี 17 มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ ศาลาเอนกประสงค์บ๎านปุาไรํ ตาบลปุาไรํ อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก๎ว มีขั้นตอน การดาเนินการ การวางแผน (Plan) ประชุมผู๎บริหาร และคณะครู ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทย บริเวณชายแดนสระแก๎ว โดยให๎ผ๎ูเข๎ารํวมประชุมระดมความคิด การปฏิบัติตามแผน (Do) ดาเนินงานตาม โครงการฯ การตรวจสอบหรือประเมินผล (Check) และนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (Action) นาผล การประเมินมาปรับปรุงโครงการในคร้ังตอํ ไป ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว จึงได ดาเนินการประเมิน โครงการดังกลาวโดยใชรูปแบบ ซิปป CIPP MODEL) โดยดาเนินการเก็บรวบรวมขอมูล จากผูท่ีเขารวม โครงการ โดยใชแบบประเมนิ โครงการปลกู พชื ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกลุมเปา หมายที่เขารวมกจิ กรรมตามโครงการ จานวน 19 คน 1. สรุปผลการประเมนิ โครงการ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว ได๎ดาเนินการจัด สรุปผลการประเมิน โครงการปลูกพชื ผสมผสานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลมํุ ตวั อยาํ ง จานวน 19 คน ดังนี้ ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ท่ัวไป ผ๎ูเข๎ารํวมกิจกรรมเป็นเพศชาย จานวน 8 คน คิดเป็นร๎อยละ 42.10 ผ๎ูเข๎ารํวมโครงการฯเป็น เพศ หญงิ จานวน 11 คน คดิ เป็นร๎อยละ 57.90 ผ๎ูเข๎ารํวมกิจกรรมระดับการศึกษามากท่ีสุดคือระดับ ป.4 จานวน 8 คน คิดเป็นร๎อยละ 42.10 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น จานวน 7 คนคิดเป็นร๎อยละ 36.84 และระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย จานวน 3 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.79 ระดับปริญญาตรี จานวน 1 คน คิดเป็นร๎อยละ 5.27 ตามลาดับ ผู๎เข๎ารํวมกิจกรรมมีชํวงอายุมากที่สุด อยํูในชํวงอายุ 40 – ๕9 ปี จานวน 9 คน คิดเป็นร๎อยละ ๔ 7.36 รองลงมาชวํ งอายุ อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป จานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.32 และ 15 – 39 ปี จานวน 5 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 26.32 ตามลาดบั ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจ ด้านเนือ้ หา ผลการประเมินโครงการการจดั กระบวนการเรยี นร๎ูโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ดา๎ นเนอื้ หา ด๎านเนอื้ หา หลังการดาเนินโครงการโดยรวม อยูในระดับ มากท่ีสุด คาเฉลี่ย เทาํ กบั 4.62 คาํ ร๎อยละ ๙2.37 และผลการประเมนิ อยูในระดับทีใ่ กลเคียงกนั มคี า S.D. เทากบั 0.60
3 ดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม ผลการประเมินโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู๎โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการจัดกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.5๙ คําร๎อยละ ๙1.79 และผลการประเมินอยูในระดับท่ีใกลเคียงกัน มีคา S.D. เทากับ 0.58 ดา้ นวทิ ยากร ผลการประเมินโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู๎โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด๎านวิทยากร หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.๖3 คาํ ร๎อยละ ๙2.63 และผลการประเมินอยูในระดับท่ีใกลเคยี งกนั มคี า S.D. เทากับ 0.62 ด้านการอานวยความสะดวก ผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การอานวย ความสะดวก หลงั การดาเนนิ โครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.63 คําร๎อยละ ๙ 2.63 และผลการประเมินอยูในระดับที่ใกลเคยี งกนั มีคา S.D. เทากบั 0.74 สรุปผลการประเมินโโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู๎เข๎ารํวม โครงการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.62 คําร๎อยละ ๙2.36 และ ผลการประเมนิ อยใู นระดบั ท่ใี กลเคียงกนั มีคา S.D. เทากับ 0.63 อภปิ รายผลการศึกษา การประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินตามรูปแบบ การประเมินทุกขั้นตอนอยํางเป็นระบบ ผลการประเมินเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด คือ การดาเนิน โครงการ มกี ารวเิ คราะห์สภาพปญั หาการดาเนนิ โครงการ การศกึ ษาความต๎องการของผ๎ูที่รํวมดาเนินโครงการ วางแผนและจัดทาให๎ตรงตามสภาพท่ีแท๎จริงมากท่ีสุด ทาให๎การดาเนินโครงการเป็นไปตามขั้นตอนท่ีกาหนด อยาํ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สอดคล๎องกับแนวคิดในการวางแผนของ อทุ ยั บุญประเสริฐ (2532 : 23) ที่กลําววําถ๎า หนํวยงานใดมีการวางแผน โดยวางแผนเป็นไปด๎วยดี มีประสิทธิภาพ มีแผนงานที่ดีต้ังแตํต๎น การปฏิบัติงาน ตามแผนยํอมมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนั้นการจัดทาปฏิทินปฏิบัติงานตามข้ันตอนโดยละเอียดการ ดาเนินงานตามปฏิทินปฏิบัติงานที่กาหนดทุกขั้นตอน และทุกกิจกรรม ทาให๎ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพ โดยเฉพาะการนิเทศติดตามกากบั และใหข๎ วัญกาลังใจแกผํ ป๎ู ฏิบตั งิ านอยาํ งสมา่ เสมอ เป็นสํวนสาคัญอยาํ งยิง่ ซ่ึงผลที่ได๎สามาถนาไปใช๎ในการปรับปรุงโครงการในปีตํอๆ ไป เพ่ือจะได๎ทราบวําการดาเนินงานทุก ข้ันตอน ได๎ตรงตามเปูาหมายท่ีกาหนดหรือไมํ และจะต๎องนาผลการประเมินมาปรับปรุง แก๎ไข และ พัฒนาการดาเนนิ งานใหม๎ ปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู สุดของหนํวยงาน โดยจะเห็นได๎จากผลการประเมิน โครงการที่บํงชี้วํากระบวนการเรียนร๎ูที่หลากหลายมีคะแนนการประเมินท่ีมีคําเฉลี่ยต่าที่สุด ซ่ึงทาให๎เห็น แนวทางในการพฒั นารปู แบบการดาเนินการตอํ ไป
4 ข้อเสนอแนะ 1.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายและเชงิ ปฏบิ ัติ 1.1 ควรให๎กลํุมบุคคลทุกฝุายท่ีเก่ียวข๎องเข๎ามามีสํวนรํวมในการคิดวิเคราะห์ตลอดจน รวํ มกันวางแผนโครงการ ดาเนนิ งานไปตามโครงการ และตดิ ตามประเมินผลการจัดทาโครงการตํางๆ รํวมกัน 1.2 ควรมีการช้ีแจงรายละเอียดโครงการให๎แกํผู๎เกี่ยวข๎องทุกระดับได๎รับทราบและเข๎าใจ ตั้งแตเํ รมิ่ ดาเนินการ และมีการสรปุ รายงานผลให๎ทราบเปน็ ระยะ 1.3 สํงเสริมและพฒั นาเสรมิ สร๎างทักษะการเรียนรสู๎ าหรบั ผูเ๎ ข๎ารวํ มโครงการ 2.ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การดาเนนิ งานตอ่ ไป ควรมีการศึกษาผลลัพธ์ (Outcome) หรือผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่มีตํอผ๎ูรํวม โครงการในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพ่ือดูผลสรุปรวมและประโยชน์ท่ี ได๎รับจากโครงการที่แท๎จริง และจัดให๎มีกิจกรรมโครงการน้ีในทุกปีงบประมาณ เพ่ือสํงเสริมให๎ผ๎ูเข๎ารํวม โครงการมีความร๎ู ความเข๎าใจ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และสามารถนาความรู๎ที่ได๎รับไปปรับ ใชใ๎ นชีวิตประจาวนั ใหก๎ ับตนเองและครอบครัวได๎
5 ก คานา เอกสารสรปุ โครงการปลกู พชื ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เอกสารเลํม นี้จัดทาขึ้น เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรม สํงเสริมให๎ประชาชนได๎เรียนร๎ูจากกิจกรรมการ เรยี นรู๎ในรปู แบบทห่ี ลากหลายสอดคลอ๎ งและตรงตามความต๎องการเน๎นการเรียนรู๎แบบบูรณาการที่เรียนรู๎จาก การลงมือปฏิบัติจริงในรูปแบบโครงงานสํงเสริมให๎ได๎เรียนรู๎และนาความรู๎และประสบการณ์สรุ ปเป็นองค์ ความรู๎และนาเสนอในรูปแบบตํางๆ ท่ีเป็นประโยชน์ หลักการจัดทาสรุปผลการดาเนินงานอยํางถูกต๎องและ เป็นระบบเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ซึ่งจะเป็นการสรุปผลการดาเนินงานของ ศูนย์ฝึกและ พัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว โดยดาเนินการ วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ ศาลา เอนกประสงค์บา๎ นปุาไรํ ตาบลปาุ ไรํ อาเภออรญั ประเทศ จังหวัดสระแก๎ว โดยเอกสารประกอบด๎วย 5 บท คือ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข๎อง บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน และบทท่ี 5 สรปุ ผลและอภิปรายข๎อมูล โดยยึดกระบวนการจัด กจิ กรรมตามวงจรเดม็ มงิ่ (PDCA) เพ่ือนาผลการดาเนินงานมาปรบั ปรุงในการจดั กิจกรรมครัง้ ตอํ ไป ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแกว๎ หวงั วาํ เอกสารเลมํ นี้จะบํงบอก ถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการดาเนินงานตํอไป ทั้งนี้ ขอขอบคุณผูท๎ ่ีมสี ํวนเกีย่ วข๎องและใหค๎ วามรํวมทกุ ทําน ไว๎ ณ โอกาสนด้ี ว๎ ย นายประสทิ ธ์ิ ฝาคา ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น กรกฎาคม ๒๕๖๕
สารบญั 6 ข เรือ่ ง หนา้ บทสรปุ ผู้บรหิ าร คานา ก สารบัญ ข บทท่ี ๑ บทนา ๑ ทม่ี าและความสาคัญ ๑ วตั ถุประสงค์ ๑ เป้าหมาย ๒ ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ๒ ขอบเขตดา้ นพืน้ ทีแ่ ละเวลา ขอบเขตดา้ นเน้ือหา ๓ นยิ ามศัพท์ ๔ ประโยชนท์ ีค่ าดว่าไดร้ บั ๑๔ บทที่ ๒ เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง ชอ่ื โครงการ ๑๙ การประเมนิ โครงการ ๑๙ แนวคิดเกยี่ วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑๙ บทท่ี ๓ วธิ กี ารประเมิน ๒๐ ประชากรกลุํมตวั อยํางทใ่ี ชใ๎ นการศึกษา ๒๑ เครอื่ งมอื ที่ใช๎ในการศกึ ษา การเก็บรวบรวมข๎อมูล สถติ ิท่ใี ช๎การวเิ คราะห์ข๎อมลู บทท่ี ๔ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลการวเิ คราะห์ข๎อมูล
สารบัญ (ต่อ) 7 เรื่อง หนา้ บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ๒๖ ๒๖ วตั ถปุ ระสงค์การศึกษา ๒๗ สรปุ ผลการศึกษา ๒๘ อภปิ รายผลการศึกษา ข๎อเสนอแนะ ภาคผนวก โครงการ หนงั สือเชญิ วิทยากร รายชอ่ื ผ้เู ข้าร่วมโครงการ รปู ภาพ แบบสอบถาม คณะผ้จู ดั ทา
๑ บทท่ี ๑ บทนา ทมี่ าและความสาคัญ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 เคยตรัสสอนข๎าราช บริพารและชาวบ๎านอยูํเสมอ ๆ วํา “บรรพบุรุษทํานพึ่งตนเองได๎ทุกเรื่อง หาอยูํ หากิน ทาข๎าวของเครื่องใช๎ สร๎างบ๎าน สร๎างท่ีอยูํอาศัยได๎เอง มีอากาศรํมเย็น ไมํเคยต๎องพ่ึงแอร์ มีทุกอยํางพอเพียง” พระองค์ทํานทรง เน๎นให๎ประชาชน และเกษตรกรร๎ูจักพึ่งตนเอง และสามารถดารงชีวิตอยํางไมํเดือนร๎อนมีความเป็นอยูํอยําง พอเพยี ง ประมาณตนตามฐานะ ตามอัตภาพ ทากิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับตนเองและสามารถพึ่งตนเองได จึงได๎ พระราชทานแนวคิดด๎านตํางๆ อาทิ “เกษตรทฤษฎใี หมํ และ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพ่ือเป็น หลักคิดให๎กับ ทุก ๆ คน ด๎วยสานึกในพระวิริยะอุตสาหะของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดชที่พระองค์ได๎ทรงทาให๎ประเทศไทยเกิดการเปล่ียนแปลงในด๎านวิถีการดาเนินชีวิตท่ีดีขึ้น ม่ันคง และ ย่งั ยืน ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว๎ จึงไดจ๎ ดั ทาโครงการปลกู พืชผสมผสาน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงขน้ึ เพ่ือปลูกฝังและใหใ๎ ห๎ประชาชน และเกษตรกรร๎จู ักพงึ่ ตนเอง และ สามารถดารงชีวิตอยํางปกติสุข วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ให๎ประชาชนที่เข๎ารับการอบรมมีความรู๎ความเข๎าใจน๎อมนา “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง” ๒. เพอ่ื ใหป๎ ระชาชนท่เี ขา๎ รบั การอบรมสามารถนาความรท๎ู ี่ได๎รบั ไปปรบั ใชใ๎ นชวี ิตประจาวันได๎ ขอบเขตการศกึ ษา ขอบเขตดา้ นประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง ประชากร คือ ประชาชนทั่วไป ที่เข๎ารํวมโครงการ : โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวนกลุมํ เปาู หมาย 19 คน ขอบเขตด้านพืน้ ที่และเวลา ขอบเขตดา้ นพ้นื ท่ี ไดแ๎ กํ ประชาชนท่ัวไปตาบลปาุ ไรํ จานวน 19 คน ขอบเขตดา้ นเวลา ได้แก่ ระยะเวลาที่ดาเนนิ การจดั กจิ กรรม วนั ที่ ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๕ ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขึ้น จานวน กลุํมเปาู หมาย 19 คน มเี นื้อหา ดังนี้
๒ วทิ ยากรจดั กระบวนการเรียนร๎ู 1. บรรยายใหค๎ วามรเ๎ู รื่อง - หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและการปลูกพชื ตามฤดูกาล - การทาน้าหมักจลุ นิ ทรยี ์และการทาปุย๋ หมักมูลสัตว์ - การปลูกพืชผสมผสานและการขยายพันธพ์ุ ชื 2. วิทยากรจดั กระบวนการเรียนร๎ูโดยลงมือปฏิบตั ิ ดังนี้ - การเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ในการสาธิตและฝึกปฏบิ ตั กิ ารขยายพันธ์พุ ืช - ขน้ั ตอนการขยายพันธ์ุพชื นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ในการสรุปผลการดาเนนิ งาน ตามหลักการ(Swot Analysis) มนี ยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ดังน้ี ๑. ผเ๎ู ข๎ารวํ มโครงการ หมายถงึ ประชาชนทวั่ ไปตาบลปาุ ไรํ จานวน 19 คน 2. การประเมนิ โครงการ หมายถงึ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือการใช๎วิธีการวิจัยเพ่ือ เก็บรวบรวมข๎อมูลท่ีเป็นจริงและเช่ือถือได๎ และวิเคราะห์ข๎อมูลของการดาเนินโครงการเพื่อพิจารณาบํงชี้ให๎ ทราบถึงจุดเดํนหรือจุดด๎อยจากโครงการน้ัน และตัดสินวําโครงการน้ันบรรลุถึงวัตถุประสงค์หรือไมํ แล๎ว ตัดสินใจวําจะปรับปรุงแก๎ไขโครงการนั้นเพ่ือการดาเนินงานตํอไปหรือจะยุติการดาเนินงานโครงการนั้นเสีย ซงึ่ ในทนี่ ้ีใชก๎ ารประเมินรูปแบบซิป (CIPP MODEL) โดยกาหนดประเด็นและคาถามการประเมินแตํละด๎านไว๎ ดงั นี้ 1) การประเมินด๎านสภาวะแวดล๎อม (Context Evaluation) เป็นการประเมินเก่ียวกับ สภาพแวดล๎อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพ่ือศึกษาจุดแข็ง จุดอํอน อุปสรรค และโอกาส ขององค์กร 2) การประเมินด๎านปัจจัยปูอน (Input Evaluation) เป็นการประเมินเกี่ยวกับการ เตรยี มการด๎านปัจจัยตํางๆ ในแงขํ อง ความรู๎ ความเข๎าใจ ด๎านการทางานทเี่ หมาะสมกบั วัย 3) การประเมินด๎านกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินเกี่ยวกับการ ดาเนินงานโครงการวําได๎มีการจัดทาแผนหรือปฏิทิน มีการปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว๎ มีระบบติดตามผลการ ดาเนินงานหรือไมํ มีวิธีการในการปรับปรุงแก๎ไขหรือพัฒนาอยํางไร และการดาเนินงานโครงการ มีการ รวบรวมเอกสาร หลักฐาน รปู ภาพ/รายงานการดาเนนิ งานไว๎หรอื ไมอํ ยาํ งไร 4) การประเมินด๎านผลผลิต (Product Evaluation) เป็นการประเมินเกี่ยวกับผลที่เกิด ขึ้นกับตัวบุคคลหรือกลุํม หรือเกิดประโยชน์อยํางไร และผลของการดาเนินโครงการสํงผลกระทบอยํางไร มี หลักฐานหรือตวั บงํ ชีไ้ ดย๎ ืนยัน รวมทั้งสารวจความพงึ พอใจตํอผลของโครงการของกลุมํ เปูาหมาย ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั ไดจ้ ากโครงการ ๑. ผ๎ูเขา๎ รํวมโครงการมีความรู๎ความเขา๎ ใจน๎อมนา “หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ๒. ผูเ๎ ข๎ารํวมโครงการสามารถนาความร๎ูทไ่ี ดร๎ ับไปปรบั ใช๎ในชวี ติ ประจาวนั ได๎
๓ บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว ดาเนินการจัดโครงการปลูกพืช ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น จานวนกลุํมเปูาหมาย 19 คน ศึกษาเอกสารกรอบ เนอื้ หาในการใหค๎ วามรู๎ ดงั น้ี 1. เอกสาร/ใบความรู๎ - ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. วิทยากรจัดกระบวนการเรียนรู๎โดยลงมือปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ - การเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ในการสาธติ และฝกึ ปฏบิ ัติการขยายพนั ธุพ์ ชื - ขัน้ ตอนการขยายพนั ธพุ์ ชื 1. ช่ือโครงการ : โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย 2.1 กรอบยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ด๎านท่ี 3 ยทุ ธศาสตรช์ าติด๎านการพฒั นาและเสรมิ สรา๎ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ด๎านท่ี 4 ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด๎านการสร๎างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ดา๎ นท่ี 5 ยุทธศาสตร์ชาติ ดา๎ นการสร๎างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรตํอสงิ่ แวดลอ๎ ม 2.2 ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน๎ การดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 256๕ (รําง) 1. ด๎านการจัดการเรยี นร๎คู ุณภาพ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู๎ท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รัฐมนตรวี าํ การ และรฐั มนตรีชํวยวําการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. ด๎านการสรา๎ งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 สํงเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิตท่ีเน๎นการพัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับแตํ ละชวํ งวัย และการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูท๎ ี่เหมาะสมกบั แตํละกลุมํ เปูาหมายและบริบทพ้ืนท่ี 2.3 สอดคล๎องกบั มาตรฐาน กศน. มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู๎เรียนการศกึ ษาตํอเนื่อง มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรกู๎ ารศึกษาตอํ เนื่อง มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3. หลกั การและเหตผุ ล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 เคยตรัสสอนข๎าราช บริพารและชาวบ๎านอยํูเสมอ ๆ วํา “บรรพบุรุษทํานพึ่งตนเองได๎ทุกเรื่อง หาอยูํ หากิน ทาข๎าวของเคร่ืองใช๎ สร๎างบ๎าน สร๎างที่อยูํอาศัยได๎เอง มีอากาศรํมเย็น ไมํเคยต๎องพ่ึงแอร์ มีทุกอยํางพอเพียง” พระองค์ทํานทรง เน๎นให๎ประชาชน และเกษตรกรรู๎จักพึ่งตนเอง และสามารถดารงชีวิตอยํางไมํเดือนร๎อนมีความเป็นอยํูอยําง พอเพยี ง ประมาณตนตามฐานะ ตามอตั ภาพ ทากิจกรรมที่เหมาะสมกับตนเองและสามารถพ่ึงตนเองได จึงได๎ พระราชทานแนวคดิ ดา๎ นตํางๆ อาทิ “เกษตรทฤษฎใี หมํ และ “หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อเป็น หลักคิดให๎กับ ทุก ๆ คน ด๎วยสานึกในพระวิริยะอุตสาหะของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
๔ อดุลยเดชที่พระองคไ์ ดท๎ รงทาให๎ประเทศไทยเกดิ การเปลี่ยนแปลงในด๎านวิถีการดาเนินชีวิตที่ดีข้ึน มั่นคง และ ยงั่ ยนื ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว จึงได๎จัดทาโครงการปลูกพืช ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงข้ึน เพ่ือปลูกฝังและให๎ให๎ประชาชน และเกษตรกรร๎ูจัก พงึ่ ตนเอง และสามารถดารงชีวติ อยํางปกตสิ ุข 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพื่อให๎ประชาชนท่ีเข๎ารับการอบรมมีความรู๎ความเข๎าใจน๎อมนา “หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง” ๔.๒ เพ่อื ให๎ประชาชนท่ีเข๎ารบั การอบรมสามารถนาความรท๎ู ี่ไดร๎ ับไปปรับใช๎ในชวี ิตประจาวนั ได๎ 5. เป้าหมาย 5.1 เปาู หมายเชงิ ปริมาณ ประชาชนทว่ั ไป จานวน 19 คน 5.2 เปาู หมายเชิงคณุ ภาพ ผู๎เข๎ารบั การอบรมมีความรคู๎ วามเขา๎ ใจ “หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”และนาความรู๎ ท่ีไดร๎ ับไปปรับใชใ๎ นชีวติ ประจาวนั ได๎ ๖. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ๖.1 ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแก๎ว ๖.2 นายประสิทธ์ิ ฝาคา ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 2. การประเมินโครงการ (Project Evaluation) 2.1 ความหมายของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการเปน็ “ศาสตร์ประยกุ ต์ (Applied Science)” หรอื เป็น “วทิ ยาศาสตร์” ทีเ่ กดิ จากการผสมผสานของศาสตร์หลายแนวซ่ึงเป็นแนวคิดและเทคนิควิธีท่ีใหมํสาหรับเมืองไทยและสาขา การศกึ ษา การประเมนิ โครงการได๎เขา๎ มามบี ทบาทสาคญั ในการศกึ ษาประมาณ 15 ปี ที่ผํานมา โดยเร่ิมจาก แนวคิดของราฟ ไทเลอร์(Ralph Tyler) ลี เจ ครอนบาค (Lee J. Cronbach) และ ไมเคิล สคริฟเวน (M.Scriven) เปน็ ตน๎ มา อยํางไรก็ดถี ๎าพิจารณาเฉพาะคาวาํ “การประเมินโครงการ” จะพบวําเปน็ การผสม คาระหวําง คาวํา “การประเมนิ ” กับคาวํา “โครงการ” ซ่งึ ท้ังสองคาตาํ งกม็ ีความหมายหรอื คาจากัดความ เฉพาะของตนเอง ดงั น้ี “การประเมิน” หรือ “การประเมนิ ผล” มีความหมายตรงกับคาในภาษาองั กฤษวํา “Evaluation” ในทน่ี ผ้ี ป๎ู ระเมินขอใช๎คาวาํ “การประเมนิ ” ซ่งึ ได๎มีนักวชิ าการใหค๎ วามหมายไวต๎ ํางๆ กันดังน้ี กูด (Good, 1973: 220) กลาํ ววํา หมายถงึ กระบวนการค๎นหาหรือตัดสนิ คุณคาํ หรือจานวนของ บางสิ่งบางอยําง โดยใชม๎ าตรฐานของการประเมนิ รวมทั้งการตัดสนิ โดยอาศยั เกณฑ์ภายในและ/หรือ เกณฑ์ ภายนอก บราวน์ (Brown, 1983: 14) กลําววํา การตีความหมายในเชงิ ปฏิบตั ิการของบุคคลโดยตคี ําตรี าคา ในส่งิ นัน้ เพ่อื ตอบคาถามวําดีแคํไหน ลนิ เด็น (Linden, 1984: 5) กลําววาํ เปน็ การตดั สนิ ความสอดคล๎องต๎องกันระหวํางการปฏบิ ตั กิ บั
๕ 2.2 วัตถปุ ระสงค์ เวิรธ์ เธ็น และแซนเดอร์ (Worthen & Sandar, 1973 อ๎างอิงใน UNESCO, 1999: 48) กลําววาํ การประเมินเป็นการกาหนดคุณคาํ ของส่ิงใดสิง่ หนึง่ ซงึ่ ประกอบด๎วย การแสวงหาสารสนเทศเพอื่ ใช๎ในการ ตดั สนิ คณุ คําของโครงการเก่ียวกบั ผลผลติ กระบวนการและการบรรลวุ ัตถุประสงคข์ องโครงการหรือพิจารณา ศกั ยภาพของแนวทางปฏบิ ัตทิ ีก่ าหนดขึ้นเพ่ือบรรลุวัตถปุ ระสงค์ทีก่ าหนดไว๎ ส. วาสนา ประวาลพฤกษ์ (2544 : 16) กลําววํา เป็นการพิจารณาตรวจสอบคุณคําของส่ิงท่ี ประเมิน ทวีป ศิริรัศมี (2545 : 114) กลําววํา เป็นกระบวนการในการแสวงหาสารสนเทศเพ่ือการกาหนด คุณคําของส่ิงใดๆ เพ่ือนาไปสูํการตัดสินใจอยํางใดอยํางหน่ึง ซ่ึงดาเนินการอยํางเป็นระบบระเบียบและมี หลักเกณฑท์ ่สี มเหตสุ มผลเชอื่ ถอื ได๎ เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี (2546 : 7) กลําววํา เป็นคาท่ีใช๎ในการอธิบายและตัดสินคุณสมบัติ บางอยาํ งของบคุ คลหรือกลํุมบุคคล รวมท้ังกระบวนการโครงการตาํ งๆ สุภาพร พิศาลบุตร (2547 : 222) กลําววํา เป็นการวิเคราะห์ตรวจสอบความก๎าวหน๎าและความ สัมฤทธ์ิผลของผลโครงการหรือแผนงานวํามีมากน๎อยเพียงใด สาหรับให๎ผ๎ูที่เกี่ยวข๎องสามารถใช๎เป็น สารสนเทศ ประกอบการพิจารณาตัดสินใจที่จะดาเนินโครงการหรือแผนงานนั้นตํอไปได๎อยํางไรก็ตาม คาวํา “Evaluation” ในปัจจุบันได๎ครอบคลุมความหมายกว๎างข้ึน เชํน ในทางการศึกษา “Evaluation” ได๎มีผ๎ู นามาใช๎ในด๎านการประเมินโครงการตํางๆ รวมทั้งโครงการท่ีเกี่ยวข๎องกับสังคมก็ได๎ใช๎วิธีการประเมินอยําง กว๎างขวาง นอกจากนี้ยังมีความหมายเก่ียวข๎องกับคาอ่ืนๆ อีกหลายคาเชํน การวิจัย (Research) การวัดผล (Measurement) การตรวจสอบรายงานผล (Appraisal) การควบคุมดูแล (Monitoring) การประมาณการ (Assessment) และการพิจารณาตัดสิน (Judgment) เป็นต๎น ซ่ึงคาดังกลําวอาจสรุปเป็นความหมายหรือคา จากดั ความรํวมกันไดว๎ าํ เป็นการประมาณคุณคําที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงาน โดยอาศัยกระบวนการรวบรวม และเตรียมข๎อมูลด๎วยวิธีการสอบถาม สารวจ สังเกตและวิธีการอื่นๆ แล๎วทาการวิเคราะห์เพ่ือตัดสินการ ดาเนินงานน้ันบรรลุวัตถุประสงค์ของการดาเนินงานน้ันมากน๎อยเพียงใด เพ่ีอเสนอให๎เป็นทางเลือก ประกอบการตดั สินใจตอํ ไป “โครงการ” ตามประมวลศพั ทว์ ชิ าการ กรมสนธิสัญญาและกฎหมายกระทรวงการตํางประเทศ พ.ศ. 2528 ระบุไว๎วํา มีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษวํา “Project” ซึ่งได๎มีนักวิชาการได๎ให๎ความหมายใน แงํมมุ ตาํ งๆ กันดงั น้ี เทียนฉาย กีระนันท์ (2537 : 1) กลําววํา โครงการ หมายถึง การกะเกณฑ์หรือการเตรียมการเพื่อ กระทาการอยํางใดอยาํ งหน่ึงหรอื อาจจะหมายถึงแนวความคิดในเร่ืองหน่ึงๆ เพือ่ หาทางปฏิบัติหรือดาเนินการ ใหบ๎ รรลุวตั ถุประสงค์ของเรอื่ งนน้ั ๆ ทีแ่ นชํ ัดและมีระบบ ดิเรก ศรีสุโข (2538 : 8) กลําววํา โครงการ หมายถึง ความต๎องการอยํางใดอยํางหนึ่งที่จะต๎องนา ทรัพยากรท่ีมีอยํูมาใช๎ประโยชน์ให๎มากทีส่ ุดภายในระยะเวลาทกี่ าหนดไว๎ โดยคาวํา “การประเมิน” (Evaluation) รวมกับคาวํา “โครงการ” (Project) จึงเป็นคาศัพท์ทาง วิชาการโดยเฉพาะคาวาํ การประเมินโครงการ (Project Evaluation) ซึ่งมีความหมายดังตอํ ไปนี้ เดวิส (Davis, 1974: 272) ให๎ความหมายการประเมินโครงการวํา การตรวจสอบวัตถุประสงค์ของ โครงการวําเปน็ ไปตามเปูาหมาย และบรรลุเปูาหมายตามท่ไี ดก๎ าหนดไวไ๎ ดห๎ รือไมํเพียงใด
๖ แคสซ์ (Katz, 1978: 5) ให๎ความหมายการประเมินโครงการวํา เป็นกระบวนการพิจารณา วิเคราะห์ ถึงคณุ ลกั ษณะ และคุณภาพของโครงการ รัทแมน (Rutman, 1982: 21) ให๎ความหมายการประเมินโครงการวํา กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์หรือการใช๎วิธีการวิจัยเพื่อหาข๎อมูลที่เป็นจริงและมีความเชื่อถือได๎ แล๎วพิจารณาวําโครงการน้ัน บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์หรอื ไมํและคุณภาพของความสาเร็จนัน้ เปน็ เชนํ ใด อัลคิน (Alkin) (Worthen & Sandar, 1987: 150 อ๎างถึงใน สุวิมล ติรกานนท์.2544:53) ให๎ ความหมายการประเมินโครงการวาํ เป็นกระบวนการกาหนดขอบเขตการตัดสินใจ การเลือกข๎อมูลท่ีแนวทาง ในการเลือกวธิ ีการปฏบิ ตั ิ ชัคแมน (Suchman), 1990: 93 อ๎างถึงใน สุวิมล ติรกานนท์.2544:53) ให๎ความหมายการ ประเมินโครงการวํา การใหก๎ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือการใช๎เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เพื่อหา ข๎อมูลท่ีเป็นจริงและเช่ือถือได๎เก่ียวกับโครงการ เพ่ือการตัดสินใจวําโครงการดังกลําวดีหรือไมํดีอยํางไร หรือ เป็นการค๎นหาวําผลของกิจกรรมท่ีวางไว๎ในโครงการ ประสบความสาเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ หรือความมุํง หมายของโครงการหรอื ไมํ ครอนบาค (Cronbach) (Worthen & Sandar, 1990: 3 อา๎ งถึงใน สุวิมล ติรกานนท.์ 2544:53) ให๎ความหมายการประเมินโครงการวํา เป็นการพิจารณาคุณคําของสิ่งๆ หนึ่ง ประกอบด๎วยการจัดหา สารสนเทศเพื่อตัดสินคุณคําของแผนงานผลผลิต กระบวนการ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือการพิจารณา ศักยภาพ ของทางเลือกตํางๆ ทใี่ ช๎ในการเพ่อื ใหบ๎ รรลุวตั ถุประสงค์ สุภาพร พิศาลบุตร (2547 : 223) ให๎ความหมายการประเมินโครงการวํา เป็นกระบวนการในการ เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข๎อมูลของการดาเนินโครงการ และพิจารณาบํงชี้ให๎ทราบถึงจุดด๎อยของโครงการ อยาํ งมีระบบ แล๎วตัดสนิ ใจวาํ จะปรบั ปรงุ แก๎ไขโครงการน้ันเพื่อการดาเนินงานตํอไปหรือจะยุติการดาเนินงาน โครงการนน้ั เสีย จากความหมายดังกลําวข๎างต๎น สามารถสรุปได๎วํา การประเมินโครงการ หมายถึง กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์หรือการใชว๎ ธิ กี ารวิจยั เพื่อเก็บรวบรวมข๎อมูลที่เป็นจริงและเชื่อถือได๎และวิเคราะห์ข๎อมูลของการ ดาเนินโครงการ เพือ่ พิจารณาบํงชใี้ หท๎ ราบถงึ จุดเดนํ หรอื จุดดอ๎ ยจากโครงการน้ัน และตัดสินใจวําโครงการนั้น บรรลุวัตถุประสงค์หรือไมํ แล๎วตัดสินใจวําจะปรับปรุงแก๎ไขโครงการนั้นเพ่ือการดาเนินงานตํอไป หรือจะยุติ การดาเนินงานโครงการน้นั เสยี 2.3 ความม่งุ หมายและความสาคญั ของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการอยํางมีระบบ ยํอมมีสํวนชํวยให๎ผ๎ูบริหารโครงการได๎ตระหนักถึงคุณภาพของ โครงการที่กาหนดข้ึนไว๎วําจะสามารถตัดสินใจในการดาเนินการ การปรับปรุงและเปล่ียนแปลงโครงการน้ัน ดาเนินงานอยํางมีประสิทธิภาพ บรรลุเปูาประสงค์ท่ีกาหนดไว๎ทุกประการการประเมินโครงการมีความมํุง หมายและมคี วามสาคัญตามความคิดเห็นของนักวิชาการในแงํมุมตาํ งๆ ดังตํอไปนี้ 5.2.1 เพือ่ ใหท๎ ราบวาํ การปฏบิ ัติงานตามโครงการ บรรลุตามเปูาหมายทีก่ าหนดไวห๎ รือไมํ 5.2.2 เพื่อท่ีจะให๎ทราบวําเปูาหมายที่กาหนดไว๎เป็นเปูาหมายท่ีปฏิบัติได๎จริงหรือไมํและ เปน็ เปาู หมายท่ีมคี วามเหมาะสมมากน๎อยเพียงใด 5.2.3 เพ่ือรวบรวมหลักฐานความจริงและข๎อมูลที่จาเป็นเพ่ือนาไปสํูการพิจารณาถึง ประสทิ ธผิ ลของโครงการ
๗ 5.2.4 เพ่ือการวิเคราะห์ข๎อมูลและข๎อเท็จจรงิ ตาํ งๆ เพอ่ื นาไปสูํการสรุปผลของโครงการ 5.2.5 เพื่อเปน็ การวิเคราะห์ขอ๎ ดีและข๎อเสียหรือข๎อจากัดของโครงการ เพื่อการตัดสินใจใน การสนบั สนุนโครงการ 5.2.6 เพื่อแสดงให๎เห็นถึงเหตุผลท่ีชัดเจนของโครงการอันเป็นพ้ืนฐานที่สาคัญของการ ตัดสินใจวําลักษณะใดของโครงการมีความสาคัญมากท่ีสุด ซึ่งจะต๎องทาการประเมินเพ่ือการหาประสิทธิผล และข๎อมลู ชนิดใดทจี่ ะต๎องรวบรวมไว๎เพอ่ื การวเิ คราะห์ 5.2.7 เพื่อการตัดสินใจวําข๎อมูลหรือข๎อเทจ็ จรงิ ใดท่สี ามารถนาเอาไปใช๎ได๎ 5.2.8 เพอื่ พิจารณาถงึ คณุ คําและการคาดคะเนคุณประโยชน์ของโครงการ 5.2.9 เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการพัฒนาปรับปรุงโครงการให๎มีประสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึน้ 5.2.10 เพือ่ เปน็ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารโครงการ อนึ่งระลึกเสมอวําการประเมินโครงการมิได๎มีจุดมุํงหมายเพ่ือการพิสูจน์หรือตรวจสอบโครงการ แตํ เป็นการกร ะทาเพ่ือปรั บปรุงแก๎ไ ขสํวนบกพรํ องของโ ค รงการเป็น สาคัญดั งข๎ อเขียนของ สตัฟเฟิลบี ม (Stufflebeam) ที่วํา“ความมํุงหมายที่สาคัญของการประเมินโครงการมิใชํเพ่ือการพิสูจน์ แตํเพ่ือการ ปรบั ปรงุ ’’ 2.4 ประโยชนข์ องการประเมินโครงการ 2.4.1 การประเมินโครงการ จะชํวยให๎การกาหนดวัตถุประสงค์ และมาตรฐานของการ ดาเนินงานมีความชัดเจนขึ้น กลําวคือ กํอนที่โครงการจะได๎รับการสนับสนุนให๎นาไปใช๎ยํอมจะได๎รับการ ตรวจสอบอยาํ งละเอยี ดจากผบ๎ู ริหารและผูป๎ ระเมนิ สวํ นใดทไ่ี มํชดั เจน เชนํ วตั ถุประสงค์หรือมาตรฐานในการ ดาเนินงานหากขาดความแนํนอน แจํมชัด จะต๎องได๎รับการปรับปรุงแก๎ไขให๎มีความถูกต๎องชัดเจนเสียกํอน ฉะนัน้ จงึ กลาํ วได๎วาํ การประเมินโครงการมีสํวนชวํ ยทาให๎โครงการมีความชัดเจนและสามารถท่ีจะนาไปปฏิบัติ ได๎อยาํ งได๎ผลมากกวาํ โครงการไดร๎ ับการประเมนิ 2.4.2 การประเมินโครงการชํวยให๎การใช๎ทรัพยากรเป็นไปอยํางค๎ุมคําหรือเกิดประโยชน์ เต็มท่ี ท้ังนี้เพราะการประเมินโครงการจะต๎องวิเคราะห์ทุกสํวนของโครงการ ข๎อมูลใดหรือปัจจัยใดที่เป็น ปัญหาจะได๎รับการจัดสรรให๎อยูํในจานวนหรือปริมาณท่ีเหมาะสมเพียงพอแกํการดาเนินงานทรัพยากรที่ไมํ จาเป็นหรือมีมากเกินไปจะได๎รับการตัดทอน และทรัพยากรใดท่ีขาดจะได๎รับการจัดหาเพิ่มเติม ฉะนั้นการ ประเมนิ โครงการจงึ มสี ํวนที่ทาใหก๎ ารใชท๎ รพั ยากรของโครงการเป็นไปอยํางคุ๎มคําและมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.4.3 การประเมินโครงการชํวยให๎แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ ดังได๎กลําวแล๎ววําโครงการ เป็นสํวนหน่ึงของแผน ดังนั้นเม่ือโครงการได๎รับการตรวจสอบวิเคราะห์ปรับปรุงแก๎ไขให๎ดาเนินการไปด๎วยดี ยํอมจะทาให๎แผนงานดาเนนิ ไปดว๎ ยดีและบรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่ได๎กาหนดไว๎ หากโครงการใดโครงการหน่ึงมี ปญั หาในการนาไปปฏิบัติยํอมกระทบกระเทือนตํอแผนงานท้ังหมดโดยสํวนรวม ฉะน้ันจึงอาจกลําวได๎วําหาก การประเมินโครงการมสี วํ นชํวยใหโ๎ ครงการดาเนินไปอยํางมีประสิทธิภาพ ยํอมหมายถึงการประเมินโครงการ มสี ํวนชํวยใหแ๎ ผนงานบรรลุถงึ วตั ถุประสงคแ์ ละดาเนินงานไปดว๎ ยดเี ชํนเดยี วกนั 2.4.4 การประเมินโครงการมีสํวนชํวยในการแก๎ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบ (Impact) ของโครงการและทาให๎โครงการมขี ๎อท่เี กิดความเสียหายลดน๎อยลง ดังตัวอยํางโครงการเขื่อนน้าโจนซึ่งในการ สร๎างถนนเพ่ือไปสูํสถานที่สร๎างเขื่อนน้ันต๎องผํานปุาไม๎ธรรมชาติ ทาให๎เกิดการลักลอบตัดไม๎ทาลายปุาและ
๘ สัตว์ปุาหลายชนิดซ่ึงอาจต๎องสูญพันธ์ุ โดยการประเมินโครงการจะชํวยให๎เกิดโครงการปูองกันรักษาปุา และ โครงการ อนุรักษ์และอพยพสัตว์ปุาขึ้นเพ่ือการแก๎ปัญหา เป็นต๎น ด๎วยตัวอยํางและเหตุผลดังกลําวจึงถือได๎วําการ ประเมินโครงการมสี วํ นในการชวํ ยแกป๎ ญั หาได๎ 2.4.5 การประเมินโครงการมีสํวนชํวยอยํางสาคัญในการควบคุมคุณภาพของงานดังที่ได๎ กลําวแล๎ววําการประเมินโครงการเป็นการตรวจสอบและควบคุมชนิดหน่ึงซึ่งดาเนินงานอยํางมีระบบแล ะมี ความเป็นวิทยาศาสตร์อยํางมาก ทุกอยํางของโครงการและปัจจัยทุกชนิดท่ีใช๎ในการดาเนินงานจะได๎รับการ วิเคราะห์อยํางละเอียดกลําวคือ ทั้งข๎อมูลนาเข๎า (Inputs) กระบวนการ (Process) และผลงาน (Outputs) จะได๎รับการตรวจสอบประเมินผลทุกข้ันตอนสํวนใดท่ีเป็นปัญหาห รือไมํมีคุณภาพจะได๎รับการพิจารณา ย๎อนกลับ(Feedback) เพื่อให๎มีการดาเนินงานใหมํจนกวําจะเป็นไปตามมาตรฐานหรือเปูาหมายท่ีต๎องการ ดังน้ัน จงึ ถือได๎วําการประเมนิ ผลเปน็ การควบคมุ คุณภาพของโครงการ 2.4.6 การประเมินโครงการมีสํวนในการสร๎างขวัญและกาลังใจให๎ผ๎ูปฏิบัติตามโครงการ เพราะการประเมินโครงการมิใชํเป็นการควบคุมบังคับบัญชาหรือส่ังการ แตํเป็นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อการ ปรับปรุงแก๎ไขและเสนอแนะวิธีการใหมํๆ เพื่อใช๎ในการปฏิบัติโครงการ อันยํอมจะนามาซ่ึงผลงานท่ีดีเป็นท่ี ยอมรับของผเู๎ กย่ี วข๎องท้ังปวง โดยลักษณะเชนํ นย้ี ํอมทาการให๎ผ๎ูปฏิบัติมีกาลังใจ มีความพึงพอใจ และมีความ ตั้งใจกระตือรือร๎นท่ีจะปฏิบัติงานตํอไปและมากข้ึน ฉะน้ันจึงกลําวได๎วําการประเมินโครงการมีสํวนอยําง สาคัญในการสร๎างขวญั กาลงั ใจและความพึงพอใจในการปฏิบัตงิ าน 2.4.7 การประเมินโครงการชํวยให๎การตัดสินใจในการบริหารโครงการกลําวคือ การ ประเมินโครงการจะทาให๎ผ๎ูบริหารได๎ทราบถึงอุปสรรคปัญหาข๎อดี ข๎อเสีย ความเป็นไปได๎และแนวทางในการ ปรับปรุงแก๎ไขการดาเนินการโครงการ โดยข๎อมูลดังกลําวแล๎วจะชํวยทาให๎ผ๎ูบริหารตัดสินใจวําจะดาเนิน โครงการน้ันตํอไปหรือจะยุติโครงการนั้นเสีย นอกจากน้ันผลของการประเมินโครงการอาจเป็นข๎อมูลอยําง สาคัญในการวางแผนหรอื การกาหนดนโยบายของผบ๎ู ริหารและฝาุ ยการเมือง 2.5 ประเภทของการประเมินโครงการ การจาแนกประเภทของการประเมินโครงการ ได๎มีผท๎ู รงคุณวฒุ ทิ างการศกึ ษา แตํละทํานมีแนวคิดใน การจัดแบงํ ประเภทของการประเมินโครงการแตกตํางกัน สาหรับผู๎ประเมินเองได๎มีความคิดเห็นสอดคล๎องกับ แนวคดิ ของ พรนภา เมธาววี งศ์ ทจี่ าแนกการประเมนิ โครงการออกเป็น 2 ลักษณะ ดงั นี้ (พรนภา เมธาววี งศ์) 2.5.1 จาแนกตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการประเมิน มีนักวิชาการแยกแยะประเภทของ การประเมนิ ลักษณะนี้ไว๎วํามีหลายประเภท อาทิ 4 ประเภทบ๎าง 7 ประเภทบ๎าง หรือ 8 ประเภทบ๎าง โดยมี หลักใหญํคล๎ายคลึงกัน ในท่ีน้ีขอนาเสนอ 8 ประเภท ดังนี้คือ การประเมินความต๎องการที่จาเป็น (Need Assessment) การประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency Evaluation) การประเมินความพยายาม (Effort Evaluation) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) การประเมินผลการปฏิบัติ (Performance Evaluation) การตดิ ตามผลอยาํ งตอํ เนอื่ ง (Continuous Monitoring) การประเมินผลผลติ (Product Evaluation) การประเมินผลลัพธ์ (Outcome Evaluation) และการประเมินผลกระทบ (ImpactEvaluation) 2.5.2 จาแนกตามระยะเวลาที่ประเมิน เป็นการประเมินที่สัมพันธ์กับวงจรโครงการ คือ การ ประเมนิ ทง้ั กอํ นดาเนนิ โครงการ ขณะดาเนินโครงการ และเมื่อส้นิ สุดโครงการ 1) การประเมินกํอนตกลงใจให๎มกี ารทางาน (Pre-evaluation)
๙ การประเมินกํอนตกลงใจให๎มีการทางานน้ี เป็นการประเมินเพื่อตัดสินใจเพ่ือเลือกโครงการ เป็น ความพยายามตรวจสอบในข้ันตน๎ เพื่อให๎มีการตัดสินใจจัดทาโครงการที่คาดวําจะให๎ผลตอบแทนค๎ุมคํา ให๎ได๎ โครงการทม่ี ีผลได๎หรือผลตอบแทนสงู หรอื ให๎ได๎โครงการทม่ี ีความเหมาะสมมากทีส่ ุดการประเมินเพื่อตัดสินใจ หรือเพ่ือหาข๎อสรุปสาหรับการตัดสินใจเลือกโครงการนี้มีชื่อเรียกแตกตํางกันตามแนวคิดหรือจุดเน๎นของการ ประเมนิ สวํ นใหญมํ กั นิยมเรยี กกันวาํ การวเิ คราะห์โครงการ คาศัพท์ในภาษาอังกฤษมีใช๎หลายคาแตํท่ีใช๎มาก ได๎แกํ Project Appraisal และ Project Analysis ในวงการธุรกิจอุตสาหกรรมก็มีวิธีการเฉพาะของตนเอง เรียกวํา Feasibility Study หรือการศึกษาความเป็นไปได๎ของโครงการ ในโครงการขนาดใหญํทางด๎านธุรกิจ และอุตสาหกรรมซึ่งต๎องใช๎ทุนเป็นจานวนมาก มักจะมีการศึกษาสารวจเพิ่มขึ้นกํอนอีกข้ึนหน่ึง เรียกวํา Pre- feasibility Study สํวนในด๎านการวางแผนท่ัวไปมักจะเรียกวํา การศึกษาความเป็นไปได๎ของโครงการ หรือ การวเิ คราะหโ์ ครงการเพอ่ื การวางแผนไมํวําจะเรียกชื่ออยํางไรก็ตาม จุดมํุงหมายท่ีสาคัญท่ีสุดก็คือ การศึกษา วิเคราะห์เพ่ือหาข๎อสรุปเพื่อตัดสินใจเลือกทาโครงการใดโครงการหนึ่ง เป็นการประเมินหรือคาดคะเนผลได๎ กํอนตกลงใจให๎ดาเนินงานนั่นเอง โดยหลักการกว๎างๆ การประเมินในข้ันนี้จะเน๎นการพิจารณาใน 3 เร่ือง ใหญํๆ คือ ก. ความเหมาะสมของโครงการ ข. ผลตอบแทนจากการดาเนินโครงการ ค. ผลอ่ืนทีค่ าดวาํ จะเกิดตามมาจากการดาเนนิ โครงการน้นั ๆ โดยสรุปอาจกลําวได๎วํา การประเมินกํอนการตกลงใจให๎มีการดาเนินงานโครงการใดโครงการหนึ่ง โดยเฉพาะ มักจะประกอบด๎วยเรื่องสาคัญๆ ที่อยํางน๎อยจะต๎องช้ีให๎เห็นถึงคุณคําและความเหมาะสมของ โครงการ ความสอดคล๎องกับนโยบายและปัญหา ช้ใี หเ๎ ห็นถงึ คณุ คําและผลตอบแทนจากการดาเนินโครงการที่ ก๎าวไปอีกข้นั หน่ึงก็จะพจิ ารณาถึงผลอ่นื ๆ ท่อี าจเกดิ ขนึ้ จากการดาเนินโครงการ จะเห็นได๎วําข๎อมูลสารสนเทศ เหลําน้ี เมื่อใช๎ประกอบกันจะชํวยให๎มีการตัดสินใจเลือกโครงการได๎ดียิ่งข้ึน และท้ังเพื่อประโยชน์ในการ วางแผนและการดาเนนิ การน้นั โดยตรง 2) การประเมินขณะดาเนนิ งานตามโครงการ (On-going Evaluation) การประเมินในสํวนน้ี โดยหลกั สวํ นสาคญั จะเปน็ เร่อื งการตดิ ตามการปฏิบัติงานเพื่อดูวํากระบวนการ ดาเนินงานเป็นไปตามแผนท่ีวางไว๎หรือไมํ เป็นการติดตามตรวจสอบและควบคุมการดาเนินงานโครงการ เพ่ือให๎ได๎มีการดาเนินงานตามแผนอยํางมีประสิทธิภาพ หรือเพ่ือหาทางแก๎ไข ปรับปรุง ให๎การดาเนินงานท่ี ผดิ พลาดบกพรํองใหไ๎ ด๎รับการแก๎ไขทันทํวงที และชํวยในการดาเนินการตามแผนมีประสิทธิภาพสูงยิ่งข้ึนเป็น การหาทางปรับปรุงแก๎ไขขณะดาเนินงาน (Mid course Correction) น่ันเองการประเมินขณะดาเนิน โครงการนี้ นอกจากเพื่อค๎นหาหนทางในการแก๎ไขปรับปรุงให๎การดาเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน โดย พิจารณาจากปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนขณะดาเนินงานแล๎วผลของการประเมินยังอาจใช๎เป็นข๎อมูล ปูอนกลับ (Feedback Information) เพ่ือประโยชน์ในการทบทวน (Review) เพื่อกาหนดแผนและการ ปฏิบัติเสียใหมํภายใต๎สภาวะแวดล๎อมที่เปลี่ยนแปลงให๎เหมาะสมยิ่งข้ึนการ ประเมินในระหวํางการดาเนิน โครงการนี้ ในด๎านการบริหารโครงการถือเป็น Mid – Course Evaluation เป็นสํวนหน่ึงของระบบติดตาม ควบคุมและกากับการปฏิบัติงาน (Monitoring & Control) ซึ่งมักจะมีแผนเฉพาะในการประเมินผลตามจุด ตํางๆ และแผนการประเมินมักจะแปรไปตามลักษณะของแตํละโครงการ การประเมินซึ่งประยุกต์ใช๎ใน ลักษณะน้ีนักวิชาการทางด๎านการประเมินผลมักจะนิยมเรียกวําFormative Evaluation เป็นการประเมิน
๑๐ การดาเนินงานเพื่อสร๎างหรือปรับปรุงแบบแผนการดาเนินงานท่ีดาเนินอยํูให๎ดียิ่งขึ้นเหมาะสมย่ิงขึ้นหรือมี ประสิทธภิ าพสงู ยิง่ ขน้ึ 3) การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ (End – o – project Evaluation) การประเมินในสํวนนี้จะเป็นการประยุกต์ใช๎หลักการประเมินเพื่อตรวจสอบดูวําการดาเนินงานตาม โครงการหรือแผนงาน ซ่ึงได๎มีการตัดสินใจอนุมัติให๎จัดทาและได๎มีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนแล๎วน้ันวํา บรรลุจุดมํุงหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการอยํางมีประสิทธิภาพหรือไมํเพียงใด ในแวดวงวิชาการ ประเมินผลมักจะนิยมเรียกวํา Summative Evaluation เป็นการประเมินสรุปผลรวมจากการดาเนินงาน ทงั้ หมดของโครงการวาํ ไดผ๎ ลหรอื ไมํอยํางไร เปน็ สวํ นสาคญั หลักและวิธีการสาคัญในการประเมินสํวนนี้ สํวนใหญํแล๎วในข้ันพื้นฐานมักจะนาเอาจุดมํุงหมายและ วัตถุประสงค์ของโครงการมาเป็นจุดต้ัง เป็นหลักพื้นฐานสาหรับพิจารณาเปรียบเทียบผลสาเร็จในการ ดาเนินงานตามโครงการน้ันวําที่ปฏิบัติได๎จริงๆ สอดคล๎องกับท่ีต้ังไว๎หรือกาหนดไว๎แตํต๎นหรือไมํ เหมือนกัน หรือแตกตํางกนั อยํางไร เป็นการวัดผลการทางานจริงๆ เปรียบเทียบกับผลที่คาดหวังไว๎ ซึ่งได๎กาหนดไว๎ต้ังแตํ ตอนทมี่ ีการอนุมัติใหจ๎ ัดทาโครงการนั้นๆ ขน้ึ สรปุ ได๎วาํ โดยหลักการทั่วไปทางด๎านการบรหิ ารโครงการนั้น การประเมนิ ผลภายหลังจากการดาเนิน โครงการเสร็จส้ินแล๎ว หลักสาคัญจะเป็นการประเมินเพื่อสรุปรวมวําผลการปฏิบัติตามโครงการนั้นเป็น อยาํ งไร ทาไมจึงเป็นเชํนน้ัน สํวนวิธีดาเนินการประเมินอาจกระทาทันทีเมื่อโครงการเสร็จส้ิน หรืออาจจะจัด กระทาในระบบติดตามผล (Follow – up Studies) เพอื่ ดูวาํ เมอ่ื ดาเนินการโครงการเสร็จสิ้นแล๎วผลผลิตของ โครงการเป็นไปตามวัตถุประสงคท์ ่กี าหนดไวห๎ รือไมกํ ็ได๎ หรือจะเป็นการประเมินท้ังสองสํวนควบคํูกันไป ทั้งน้ี แล๎วแตํการออกแบบการประเมินสาหรับโครงการน้ันๆผลท่ีเป็นผลพลอยได๎ท่ีสาคัญควบคูํกับรายงานการ ประเมินผลสาเร็จของโครงการทุกคร้ัง คือ การประมวลปัญหาและอุปสรรคตลอดจนบทเรียนท่ีได๎จากการ ดาเนินโครงการน้ัน และข๎อเสนอแนะในการแก๎ไขปรับปรุงสาหรับการบริหารรายละเอียดดังกลําว ในสํวนนี้ นิยมจดั ทาเพิม่ เติมข้ึนในรายงานการประเมินก็เพื่อใช๎เป็นข๎อมูลประกอบการพิจารณา หรือเพ่ือเป็นประโยชน์ ในการดาเนินโครงการในลกั ษณะเดียวกัน หรอื ดาเนนิ โครงการในลกั ษณะที่ใกลเ๎ คยี งกนั ในโอกาสตํอไป 4) การประเมินผลกระทบ (Impact Studies) แตํการประเมินผลกระทบในสํวนน้ี จะเป็นสํวนที่มีสภาพคล๎ายๆ กับการประเมินผลรวมหรือ Summative Evaluation คือ มักจะมีการประเมินหรือเปน็ การศึกษาวิเคราะห์กันตํอเมื่อการดาเนินโครงการ น้ันๆ เสร็จเรียบร๎อยไประยะหน่ึงแล๎ว สาเร็จไปถึงระยะที่คาดวําจากการดาเนินโครงการน้ันนอกจากได๎ ผลสาเร็จตามจุดมํุงหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการโดยตัวของมันเองแล๎ว การดาเนินโครงการหรือ ผลสาเร็จตามโครงการน้ันอาจกํอให๎เกิดผลพิเศษอ่ืนใดตามมา เป็นการค๎นหาดูวําการดาเนินงานและ ความสาเร็จของโครงการนั้นมีผลกระทบตํอสิ่งอื่นๆ (Impact) อยํางไรบ๎าง กํอให๎เกิดผลพลอยได๎หรือพลอย เสีย หรือกํอให๎เกิดการเปลี่ยนแปลงในแนวทางใหมํๆ วิธีการปฏิบัติหรือวิถีชีวิตใหมํๆ ตลอดจนเกิดการ เปล่ียนแปลงในสภาพแวดล๎อมทางสังคมและสภาวะแวดล๎อมทางธรรมชาติอยํางใดหรือไมํ เป็นต๎นการศึกษา ผลเชงิ กระทบนีก้ า ลังจะมีบทบาทมากยิ่งขึ้นในอนาคต ในด๎านการบริหารโครงการการศึกษาผลท่ีเกิดตามมา จากการทาโครงการจึงมักจะเรียกชื่อวํา Impact Studies หรือ Impact Analysisส่ิงที่ไมํควรละเลยในการ ประเมินหรือในการวางแผนการประเมินแตํละครั้งคือการกาหนดความเหมาะสมและผลตอบแทนจากการ ลงทนุ ในการดาเนนิ งานการประเมนิ หรือต๎องมีการคานึงถึงเรอ่ื งการส้ินเปลอื งคําใช๎จํายในการประเมิน หรือใน แผนงานการประเมินในสํวนตํางๆ ในกรณีตํางๆ เพราะจุดสาคัญที่ต๎องการจากการประเมินคือ ข๎อมูลและ
๑๑ สารสนเทศท่มี ีประโยชนต์ อํ การตดั สินใจ ตํอการวางแผนและการบริหารโครงการ น่ันก็คือ การประเมินความ เหมาะสมของโครงการในลกั ษณะ Pre-evaluation โครงการประเมนิ ของตนเองกํอนนน่ั เองด๎วยเสมอ 2.6 รูปแบบของการประเมินโครงการ (สิน พันธุ์พินิจ, 2547 : 312-317 และ เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี , 2546 : 56-62 ) รูปแบบของการประเมินหรือตัวแบบของประเมิน (Model of program evaluation) มีหลายรูปแบบ เชํน การประเมินโดยยึดวัตถุประสงค์ (goal-oriented evaluation) การประเมินโดยยึดการตัดสินใจ (dicision- oriented evaluation) และการประเมินโดยไมํยึดวัตถุประสงค์ (goal-free evaluation) (Lynn and Fitz- Gibbon , 1978 : 7) นอกจากน้ียังมีตัวแบบของเบนเนตต์ (Bennett’s model) ซ่ึงเป็นการประเมินเชิง ประจักษ์ (Mashall ,1990 : 36) ตัวแบบยึดวัตถุประสงค์ของไทเลอร์(Tyler’s goal-based model) ที่สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) และเพื่อนของเขาพัฒนาขึ้น ซ่ึงรูปแบบของการประเมินหรือตัวแบบของการ ประเมินนน้ั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะของการใชใ๎ นการประเมินที่ที่แตกตํางกันและล๎วนมีจุดเดํนจุดด๎อยและข๎อคิด ในการนาไปใช๎ไมํเหมือนกัน ดังน้ันการประเมินโครงการหนึ่งๆ จึงไมํควรยึดติดรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงเพียง อยํางเดียว แตตํ ๎องพจิ ารณาถงึ สภาพแวดล๎อมและวัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการรวมท้ังองค์ประกอบ อื่นๆ ที่เอ้ือตํอการใช๎รูปแบบนั้นๆ และประโยชน์ที่จะได๎รับจากการใช๎รูปแบบน้ันๆ เป็นสาคัญควบคํูกันด๎วย ดังน้ันตัวแบบท่ีผู๎ประเมินสนใจที่จะนามาใช๎ในการประเมินโครงการประเมินเทียบระ ดับการศึกษาในระดับ สูงสุดของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครั้งท่ี ๑ ประจาปี ๒๕๕๗ ประเมินภาคประสบการณ์ (รอบที่ ๒ )และนามา สรุปผลการดาเนินงานโครงการ คอื ตวั แบบซิปป์ (CIPP Model) โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ ในปี ค.ศ. 1971 สตัฟเฟิลบีมและคณะได๎เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเลํมชื่อ “Education Evaluation and Decision Making” หนังสือเลํมน้ีได๎เป็นท่ียอมรับกันอยํางกว๎างขวางในวง การศึกษาของไทย เพราะได๎ให๎แนวคิดและวิธีการทางการวัดและประเมินผลการศึกษาไว๎อยํางนําสนใจและ ทันสมัยด๎วย นอกจากน้ัน สตัฟเฟิลบีมก็ได๎เขียนหนังสือเกี่ยวกับการประเมินและรูปแบบของการประเมินอีก หลายเลมํ อยํางตอํ เนอื่ ง จึงกลําวไดว๎ าํ ทํานผน๎ู ไ้ี ด๎วาํ มบี ทบาทสาคัญในการพัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ ยอมรับกันท่ัวไปในปัจจุบันโดยสตัฟเฟิลบีมและคณะ ได๎แบํงการประเมินออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. การประเมนิ บริบทหรอื สภาวะแวดลอ๎ ม (Context Evaluation: C) 2. การประเมินตัวปูอนเขา๎ (Input Evaluation: I) 3. การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation: P) 4. การประเมินผลผลิตที่เกดิ ขน้ึ (Product Evaluation: P) โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ตารางท่ี 1 แสดงวิธกี าร เทคนคิ และประโยชนท์ ่ใี ชใ๎ นการประเมนิ แบบซิป (CIPP) ประเภทการประเมินและวัตถปุ ระสงค์ วิธีการประเมิน วิธีการประเมิน 1. การประเมินบรบิ ทหรอื สภาวะ อธบิ ายบริบทตาํ งๆ โดย ใช๎ประกอบการตดั สินใจในการ แวดลอ๎ ม (Context Evaluation: C) เปรียบเทยี บ ปจั จัยปอู นกับ วางแผน การเลือกโครงการ ประเมินสภาพแวดล๎อม ความต๎องการ ปัญหาและ ผลลัพธท์ ่ีคาดหวังและเกดิ ขึน้ ก า ร ก า ห น ด เ ปู า ห ม า ย โอกาสตลอดจนทรัพยากรท่ีจะเอื้ออานวยและสามารถ จรงิ สิง่ ท่ีเกิดข้ึนกบั ความเป็นไป วัตถปุ ระสงค์ นาไปใช๎ได๎เพ่ือนิยามเชิงปฏิบัติการของบริบท จาแนก ได๎ของความสามารถของระบบ และการกาหนดวตั ถปุ ระสงคใ์ ห๎ และประเมินความต๎องการ โอกาส วิเคราะห์ปัญหาแล๎ว แลว๎ วเิ คราะหส์ าเหตขุ องความ ส อ ด ค ล๎ อ ง กั บ ปั ญ ห า เ ม่ื อ นาสารสนเทศมาใช๎ในการตัดสินใจวางแผน และกาหนด บกพรํองระหวาํ งความเปน็ จริง ตอ๎ งการเปลี่ยนแปลงวางแผน วัตถุประสงค์ให๎สอดคล๎องกับผลลัพธ์สุดท๎ายของ กบั ความคาดหวงั โครงการ
๑๒ 2. การประเมนิ ตัวปูอนเขา๎ (Input Evaluation : I) อธิบายและวเิ คราะหต์ วั แปร เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ ประเมินความสามารถของระบบยุทธวิธีและ ด๎านมนุษย์ ทรพั ยากร วสั ดุ กาหนดโครงสร๎าง การ วิธกี ารนายุทธวธิ ขี องปัจจยั ปูอนตลอดจนปัญหาและ อปุ กรณ์ แนวทางการใชย๎ ทุ ธวธิ ี ดาเนินงานการเลือกแหลํง อปุ สรรค การขจดั อปุ สรรคของทรพั ยากรหรอื ปจั จัยปอู น และการดา เนนิ งาน เพอื่ ให๎ สนับสนุนทรัพยากรยุทธวิธี วิธี เพื่อจาแนกและประเมินความสามารถของระบบ ปัจจัย สอดคล๎องกบั ส่งิ ท่จี ะเกิดขึ้นจรงิ ดาเนินงาน และกาหนด ปูอนยทุ ธวธิ ี และการนายุทธวิธไี ปปฏบิ ตั ิ ในด๎านเศรษฐกจิ และความ โครงสรา๎ งการเปลี่ยนแปลงและ เปน็ ไปไดใ๎ นทางปฏบิ ตั ิ แผนการดาเนินงาน 3. การประเมนิ กระบวนการ(Process Evaluation : P) กากบั ดูแลศกั ยภาพของการขจดั เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ ประเมินการดา เนินการหรือการวัดระหวํางการ อุปสรรค และสิง่ ที่ไมสํ ามารถ นาโครงการไปปฏิบัติ การหา สงํ เสรมิ หรอื การนาโครงการไปปฏิบัติเพ่ือจา แนกปัจจัย คาดคะเน โดยใช๎สารสนเทศ จุดเดํน จุดด๎อย การปรับปรุง ตํางๆ ในกระบวนการหาข๎อบกพรํองกระบวนการนา เฉพาะเร่อื งประกอบการ ยุ ท ธ วิ ธี แ ล ะ ก ร บ ว น ก า ร โครงการไปปฏิบัติแล๎วนา สารสนเทศมาพิจารณา ตดั สนิ ใจ และอธบิ าย ด า เ นิ น ง า น เ พ่ื อ ค ว บ คุ ม ก า ร ประกอบกํอนการตัดสินใจดาเนินโครงการ และคงไว๎ซึ่ง กระบวนการของโครงการท่ี ดาเนินงานให๎มปี ระสทิ ธิภาพ กิจกรรมและวิธกี ารของโครงการ ดาเนินได๎จริง 4. การประเมินผลผลิตทีเ่ กดิ ขน้ึ (Product Evaluation : P) การกาหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เป็นประโยชน์การทบทวนการ การประเมินผลผลิต การเรียนร๎ูการเปลี่ยนแปลง และเกณฑ์การวดั ใหส๎ อดคลอ๎ ง ตดั สนิ ใจวาํ จะดา เนนิ โครงการ ทักษะ ทัศนคติหรือผลกระทบของโครงการเพ่ือ กับวัตถุประสงคข์ องโครงการ ตอํ ไป ยตุ ิ ขยาย หรอื ปรับปรงุ เปรียบเทียบวําผลผลิตจากโครงการสัมพันธ์กับ มาตรฐานการแปลความของ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง กิ จ ก ร ร ม ใ ห๎ วตั ถุประสงค์บริบทและกระบวนการระหวํางดาเนินการ ผลลัพธส์ ุดท๎ายในเร่อื งบรบิ ท สอดคล๎องกบั กระบวนการอยาํ ง และหลังเสร็จสนิ้ ปัจจัยปอู น และสารสนเทศของ ชัดเจน โครงการ กระบวนการ การจดั ประเภทของการประเมินดังกลําว แสดงถงึ การประเมนิ ที่พยายามใหค๎ รอบคลมุ กระบวนการ ทางานในทุกๆ ข้ันตอน ตามแนวคิดที่ร๎ูจักกันดีในนามวํา “CIPP” สิ่งท่ีควบคํูกับการประเมินทั้ง 4 ประเภท ขา๎ งตน๎ ได๎แกํ การตดั สนิ ใจเพ่ือดาเนนิ การใดๆ ซงึ่ สามารถจะแบงํ ออกไดอ๎ ีก 4 ประเภทเชนํ กนั คอื 1) การตดั สนิ ใจเพือ่ การวางแผน เป็นการตัดสินใจที่อาศัยการประเมินสภาวะแวดล๎อม มีบทบาทสาคัญคือ การกาหนด วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการให๎สอดคลอ๎ งกับแผนในการดาเนนิ งาน 2) การตดั สินใจเพ่อื กาหนดโครงสร๎างของโครงการ เปน็ การตัดสนิ ใจทอี่ าศัยการประเมินตัวปูอน มีบทบาทสาคัญคือ การกาหนดโครงสร๎างของ แผนงานและขัน้ ตอนการทางานตาํ งๆ ของโครงการ 3) การตดั สินใจเพ่อื นาโครงการไปปฏิบัติ เป็นการตัดสินใจที่อาศัยการประเมินกระบวนการ มีบทบาทสาคัญ คือ ควบคุมการทางาน ให๎เป็นไปตามแผนทีก่ าหนด และเพอ่ื ปรบั ปรุงแก๎ไขแนวทางการทางานให๎ไดผ๎ ลดที ี่สดุ 4) การตัดสนิ ใจเพอ่ื การทบทวนโครงการ เป็นการตัดสินใจที่อาศัยผลจากการประเมินท่ีเกิดข้ึน มีบทบาทหลักคือ การตัดสินใจ เกย่ี วกบั การยุติ ล๎มเลกิ หรอื ขยายโครงการในชํวงเวลาตํอไปแนวคิดและเปาู หมายของการประเมิน ดังรูปแบบ ความสัมพนั ธต์ อํ ไปนี้
๑๓ ประเภทการประเมิน ประเภทการตดั สนิ ใจ การประเมินสภาวะแวดล้อม การตัดสินใจเพอื่ การวางแผน (Context Evaluation) (Planning Decisions) การประเมินปจั จยั เบ้อื งต๎น/ตัวปอู น การตัดสินใจเพ่ือกาหนดโครงสร๎าง (Input Evaluation) (Planning Decisions) การประเมนิ กระบวนการ การตดั สินใจเพื่อนาโครงการไปปฏิบัติ (Process Evaluation) (Implementing Decisions) การประเมินผลผลิต การตดั สนิ ใจเพ่ือทบทวนโครงการ (Product Evaluation) (Recycling Decisions) กลาํ วโดยสรปุ แลว๎ การประเมินผลตามตวั แบบซปิ จะเนน๎ 3 จดุ คือ 1. การประเมนิ ผลเป็นกจิ กกรมทีต่ ํอเน่อื งและเป็นกระบวนการเชงิ ระบบ 2. ประกอบด๎วยข้ันตอนการกาหนดคาถามและคาตอบท่ีต๎องการอยํางเฉพาะเจาะจงการรวบรวม ขอ๎ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ๎ งและเผยแพรํสารสนเทศแกํผ๎ูทาหน๎าท่ีตดั สนิ ใจวางแผนและพฒั นาโครงการ 3. การประเมนิ ผลสนบั สนุนกระบวนการตดั สินใจทัง้ ในลักษณะเป็นทางเลือกและการตัดสินใจตามที่ กาหนดไว๎ การประเมินผลตามตวั แปลซปิ เอือ้ ประโยชน์ในการตัดสินใจ 4 ดา๎ น คือ 1. การตัดสินใจในการวางแผนอนั เกยี่ วข๎องกับการเลอื กเปูาหมายและวตั ถุประสงค์ 2. การตัดสินใจกาหนดโครงสร๎างโครงการในการเลือกยุทธวิธีการดาเนินงานให๎เปูาหมายและ วัตถุประสงค์ประสบผลสาเรจ็ ตามท่ีได๎ตดั สินใจวางแผนไว๎ 3. การตัดสินใจฝนการปฏิบัติงานซ่ึงสามารถนาวิธีการหรือมรรค (Mean) ในการทางาน การ ปรบั ปรุงการดาเนนิ โครงการ วิธกี ารและยทุ ธวิธี 4. การทบทวนตดั สินใจวําควรจะดาเนนิ การตํอ เปลี่ยนแปลงหรือยตุ ิโครงการ 3. แนวคดิ เก่ียวกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยํูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับ ตั้งแตํระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให๎ดาเนินไป
๑๔ ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก๎ ๎าวทนั ตํอโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต๎องมีระบบภูมิค๎ุมกันในตัวท่ีดีพอสมควร ตํอการ กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต๎องอาศัยความรอบรู๎ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยํางยง่ิ ในการนาวชิ าการตาํ งๆ มาใช๎ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และ ขณะเดียวกัน จะต๎องเสริมสร๎างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ๎าหน๎าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธรุ กจิ ในทุกระดับ ให๎มีสานึกในคณุ ธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให๎มีความรอบร๎ูท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด๎วย ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให๎สมดุลและพร๎อมตํอการรองรับการ เปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็วและกว๎างขวาง ทั้งด๎านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล๎อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได๎ เปน็ อยํางดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคณุ สมบัติ ดังน้ี ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ่ีไมํน๎อยเกนิ ไปและไมํมากเกินไป โดยไมเํ บยี ดเบียนตนเองและ ผอู๎ ่นื เชนํ การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยํูในระดบั พอประมาณ ๒. ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ระดับความพอเพยี งน้นั จะต๎องเป็นไปอยาํ งมีเหตผุ ล โดย พจิ ารณาจากเหตุปจั จัยท่เี ก่ียวขอ๎ ง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทีค่ าดวาํ จะเกิดข้นึ จากการกระทาน้ันๆ อยําง รอบคอบ ๓. ภมู คิ ม๎ุ กนั หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ๎ ร๎อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด๎านตาํ งๆ ท่จี ะเกิดข้นึ โดย คานึงถึงความเป็นไปได๎ของสถานการณ์ตํางๆ ท่ีคาดวาํ จะเกิดขน้ึ ในอนาคต โดยมี เง่ือนไข ของการตัดสินใจและดาเนนิ กจิ กรรมตํางๆ ให๎อยํูในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. เงอ่ื นไขความรู๎ ประกอบด๎วย ความรอบร๎ูเกยี่ วกับวชิ าการตาํ งๆ ทเี่ ก่ยี วข๎องรอบดา๎ น ความรอบคอบท่จี ะ นาความร๎เู หลํานั้นมาพจิ ารณาให๎เชื่อมโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิ ๒. เงอื่ นไขคุณธรรม ท่ีจะต๎องเสริมสร๎าง ประกอบดว๎ ย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และ มคี วามอดทน มีความเพยี ร ใช๎สตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ แนวทางการทาการเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพียงเนน๎ หาขา๎ วหาปลากํอนหาเงนิ หาทอง คอื ทามาหากินกํอน ทามาคา๎ ขายโดยการสํงเสริม: 1.การทาไรํนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพื่อให๎เกษตรกรพฒั นาตนเองแบบเศรษฐกิจ พอเพียง 2.การปลกู พชื ผกั สวนครัวลดคําใช๎จําย 3.การทาป๋ยุ หมักปุ๋ยคอกและใช๎วัสดุเหลือใช๎เป็นปัจจยั การผลิต(ปุ๋ย)เพ่ือลดคาํ ใชจ๎ ํายและบารงุ ดนิ 4.การเพาะเห็ดฟางจากวสั ดุเหลือใช๎ในไรํนา 5.การปลกู ไมผ๎ ลสวนหลงั บ๎าน และไม๎ใชส๎ อยในครวั เรือน 6.การปลกู พืชสมุนไพร ชํวยสงํ เสรมิ สุขภาพอนามยั 7.การเลยี้ งปลาในรํองสวน ในนาขา๎ วและแหลงํ นา้ เพ่อื เป็นอาหารโปรตีนและรายไดเ๎ สริม
๑๕ 8.การเลี้ยงไกํพื้นเมือง และไกํไขํ ประมาณ 10-15 ตัวตอํ ครวั เรอื นเพอ่ื เปน็ อาหารในครวั เรือน โดย ใช๎เศษอาหาร รา และปลายข๎าวจากผลผลิตการทานา ข๎าวโพดเลีย้ งสตั วจากการปลกู พืชไรํ เปน็ ตน๎ 9.การทากา๏ ซชีวภาพจากมูลสตั ว์ พระราชดารสั โดยย่อเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพยี งในวันฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํูหัว ทรงเข๎าพระราชหฤทัยในความเป็นไปของเมืองไทยและคนไทยอยําง ลกึ ซึง้ และกว๎างไกล ได๎ทรงวางรากฐานในการพฒั นาชนบท และชวํ ยเหลือประชาชนให๎สามารถพ่ึงตนเองได๎ มคี วาม \" พออยํูพอกิน\" และมีความอิสระที่จะอยูํได๎โดยไมํต๎องติดยึดอยํูกับเทคโนโลยีและความเปล่ียนแปลง ของกระแสโลกาภิวัฒน์ ทรงวิเคราะห์วําหากประชาชนพึ่งตนเองได๎แล๎วก็จะมีสํวนชํวยเหลือเสริมสร๎าง ประเทศชาติโดยสํวนรวมได๎ในที่สุด พระราชดารัสที่สะท๎อนถึงพระวิสัยทัศน์ในการสร๎างความเข๎มแข็งใน ตนเองของประชาชนและสามารถทามาหากินให๎พออยูํพอกินได๎ ดงั น้ี \"….ในการสร๎างถนน สร๎างชลประทานให๎ประชาชนใช๎นั้น จะต๎องชํวยประชาชนในทางบุคคลหรือพัฒนาให๎ บุคคลมีความรู๎และอนามัยแข็งแรง ด๎วยการให๎การศึกษาและการรักษาอนามัย เพ่ือให๎ประชาชนในท๎องที่ สามารถทาการเกษตรได๎ และคา๎ ขายได๎…\" ในสภาวการณป์ ัจจบุ นั ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอยํางรุนแรงข้ึนนี้จึงทาให๎เกิดความเข๎าใจได๎ ชดั เจนในแนวพระราชดาริของ \"เศรษฐกิจพอเพียง\" ซึ่งได๎ทรงคิดและตระหนักมาช๎านาน เพราะหากเราไมํ ไปพง่ี พา ยึดติดอยูํกับกระแสจากภายนอกมากเกินไป จนได๎ครอบงาความคิดในลักษณะด้ังเดิมแบบไทยๆไป หมด มีแตํความทะเยอทะยานบนรากฐานท่ีไมํม่ันคงเหมือนลักษณะฟองสบํู วิกฤตเศรษฐกิจเชํนนี้อาจไมํ เกิดขึ้น หรือไมํหนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร๎อนกันถ๎วนทั่วเชํนน้ี ดังน้ัน \"เศรษฐกิจพอเพียง\" จึงได๎สื่อ ความหมาย ความสาคญั ในฐานะเป็นหลักการสงั คมทพี่ งึ ยดึ ถือ ในทางปฏิบัติจุดเร่ิมต๎นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนท๎องถ่ิน เศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ ทั้งหลักการและกระบวนการทางสังคม ตั้งแตํข้ันฟ้ืนฟูและขยายเครือขํายเกษตรกรรม ย่ังยืน เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอยํางพออยูํพอกินขึ้นไปถึงขั้นแปรรูป อุตสาหกรรมครัวเรือน สร๎างอาชีพและทักษะวิชาการที่หลากหลายเกิดตลาดซื้อขาย สะสมทุน ฯลฯ บน พน้ื ฐานเครือขาํ ยเศรษฐกิจชุมชนนี้ เศรษฐกิจของ 3 ชาติ จะพัฒนาขึ้นมาอยํางมั่นคงทั้งในด๎านกาลังทุนและ ตลาดภายในประเทศ รวมท้ังเทคโนโลยีซ่ึงจะคํอยๆ พัฒนาข้ึนมาจากฐานทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยํู ภายในชาติ และท้ังที่จะพงึ คัดสรรเรียนรจ๎ู ากโลกภายนอก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจท่ีพอเพียงกับตัวเอง ทาให๎อยํูได๎ ไมํต๎องเดือดร๎อน มีสิ่งจาเป็นที่ทา ได๎โดยตัวเองไมํต๎องแขํงขันกับใคร และมีเหลือเพ่ือชํวยเหลือผู๎ท่ีไมํมี อันนาไปสูํการแลกเปล่ียนในชุมชน และ ขยายไปจนสามารถท่ีจะเป็นสินค๎าสํงออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดท่ีเริ่มจากตนเองและ ความรวํ มมอื วิธกี ารเชํนน้จี ะดงึ ศักยภาพของ ประชากรออกมาสร๎างความเข๎มแข็งของครอบครัว ซ่ึงมีความผ๎ู พนั กับ “จติ วิญญาณ” คือ “คุณคาํ ” มากกวํา “มลู คาํ ” ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลาดับความสาคัญของ “คุณคํา” มากกวํา “มูลคํา” มูลคํานั้นขาด จิตวิญญาณ เพราะเป็นเศรษฐกิจภาคการเงิน ท่ีเน๎นท่ีจะตอบสนองตํอความต๎องการท่ีไมํจากัดซึ่งไร๎ขอบเขต ถ๎าไมํสามารถควบคมุ ไดก๎ ารใชท๎ รัพยากรอยํางทาลายล๎างจะรวดเรว็ ข้ึนและปัญหาจะตามมา เป็นการบริโภคท่ี
๑๖ กํอให๎เกิดความทุกข์หรือพาไปหาความทุกข์ และจะไมํมีโอกาสบรรลุวัตถุประสงค์ในการบริโภค ท่ีจะกํอให๎ ความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผู๎บริโภคต๎องใช๎หลักขาดทุนคือกาไร (Our loss is our gain) อยํางนีจ้ ะควบคมุ ความตอ๎ งการที่ไมจํ ากดั ได๎ และสามารถจะลดความต๎องการลงมาได๎ กํอให๎เกิด ความพอใจและความสขุ เทํากับได๎ตระหนักในเร่อื ง “คุณคํา” จะชํวยลดคําใช๎จํายลงได๎ ไมํต๎องไปหาวิธีทาลาย ทรัพยากรเพื่อให๎เกิดรายได๎มาจัดสรรส่ิงที่เป็น “ความอยากที่ไมํมีที่สิ้นสุด” และขจัดความสาคัญ ของ “เงนิ ” ในรปู รายไดท๎ เี่ ปน็ ตัวกาหนดการบริโภคลงได๎ระดับหนง่ึ แล๎วยังเป็นตัวแปรที่ไปลดภาระของกลไก ของตลาดและการพ่ึงพิงกลไกของตลาด ซ่ึงบุคคลโดยทั่วไปไมํสามารถจะควบคุมได๎ รวมทั้งได๎มีสํวนในการ ปูองกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration Effects) จะไมํทาให๎เกิดการสูญเสีย จะทาให๎ไมํเกิดการ บรโิ ภคเกนิ (Over Consumption) ซ่ึงกอํ ใหเ๎ กิดสภาพเศรษฐกิจดี สงั คมไมํมีปัญหา การพฒั นายง่ั ยนื การบรโิ ภคที่ฉลาดดังกลําวจะชํวยปูองกันการขาดแคลน แม๎จะไมํร่ารวยรวดเร็ว แตํในยามปกติก็จะ ทาให๎ร่ารวยมากข้ึน ในยามทุกข์ภัยก็ไมํขาดแคลน และสามารถจะฟ้ืนตัวได๎เร็วกวํา โดยไมํต๎องหวังความ ชํวยเหลือจากผ๎ูอื่นมากเกินไป เพราะฉะนั้นความพอมีพอกินจะสามารถอ๎ุมชูตัวได๎ ทาให๎เกิดความเข๎มแข็ง และความพอเพียงน้ันไมํได๎หมายความวํา ทุกครอบครัวต๎องผลิตอาหารของตัวเอง จะต๎องทอผ๎าใสํเอง แตํมี การแลกเปลี่ยนกนั ไดร๎ ะหวํางหมบูํ ๎าน เมอื ง และแมก๎ ระทง่ั ระหวาํ งประเทศ ที่สาคญั คอื การบริโภคน้ันจะทาให๎ เกิดความรู๎ท่ีจะอยูํรํวมกับระบบ รักธรรมชาติ ครอบครัวอบอุํน ชุมชนเข๎มแข็ง เพราะไมํต๎องทิ้งถ่ินไปหางาน ทา เพื่อหารายไดม๎ าเพือ่ การบรโิ ภคทไ่ี มํเพียงพอ ประเทศไทยอุดมไปด๎วยทรัพยากรและยังมีพอสาหรับประชาชนไทยถ๎ามีการจัดสรรที่ดี โดยยึด \" คุณคาํ \" มากกวํา \" มลู คํา \" ยดึ ความสมั พันธ์ของ “บคุ คล” กับ “ระบบ” และปรับความต๎องการท่ีไมํจากัดลง มาให๎ได๎ตามหลักขาดทุนเพื่อกาไร และอาศัยความรํวมมือเพ่ือให๎เกิดครอบครัวที่เข๎มแข็งอันเป็นรากฐานท่ี สาคญั ของระบบสังคม การผลิตจะเสียคําใช๎จํายลดลงถ๎ารู๎จักนาเอาสิ่งท่ีมีอยํูในขบวนการธรรมชาติมาปรุงแตํง ตามแนว พระราชดาริในเร่ืองตําง ๆ ที่กลําวมาแล๎วซึ่งสรุปเป็นคาพูดท่ีเหมาะสมตามที่ ฯพณฯ พลเอกเปรม ตินณสูลา นนท์ ทวี่ ํา “…ทรงปลูกแผํนดนิ ปลกู ความสุข ปลดความทกุ ขข์ องราษฎร” ในการผลิตน้ันจะต๎องทาด๎วยความ รอบคอบไมํเหน็ แกํได๎ จะต๎องคดิ ถงึ ปจั จยั ทีม่ ีและประโยชน์ของผู๎เกี่ยวข๎อง มิฉะน้ันจะเกิดปัญหาอยํางเชํนบาง คนมีโอกาสทาโครงการแตํไมํไดค๎ านึงวําปจั จยั ตาํ ง ๆ ไมคํ รบ ปัจจัยหนึง่ คือขนาดของโรงงาน หรือเครื่องจักรที่ สามารถท่ีจะปฏิบัติได๎ แตํข๎อสาคัญท่ีสุด คือวัตถุดิบ ถ๎าไมํสามารถที่จะให๎คําตอบแทนวัตถุดิบแกํเกษตรกรท่ี เหมาะสม เกษตรกรก็จะไมํผลิต ยิ่งถ๎าใช๎วัตถุดิบสาหรับใช๎ในโรงงาน้ัน เป็นวั ตถุดิบท่ีจะต๎องนามาจาก ระยะไกล หรือนาเข๎าก็จะยิ่งยาก เพราะวําวัตถุดิบท่ีนาเข๎านั้นราคาย่ิงแพง บางปีวัตถุดิบมีบริบูรณ์ ราคา อาจจะต่าลงมา แตํเวลาจะขายส่ิงของที่ผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจึงทาให๎ราคาตก หรือกรณีใช๎เทคโนโลยีทางการเกษตร เกษตรกรรู๎ดีวําเทคโนโลยีทาให๎ต๎นทุนเพ่ิมขึ้น และผลผลิตที่เพ่ิมนั้นจะ ล๎นตลาด ขายได๎ในราคาที่ลดลง ทาใหข๎ าดทนุ ต๎องเปน็ หนส้ี นิ การผลิตตามทฤษฎใี หมส่ ามารถเปน็ ต้นแบบการคดิ ในการผลิตทีด่ ีได้ ดงั น้ี 1. การผลิตนน้ั มํงุ ใชเ๎ ป็นอาหารประจาวันของครอบครัว เพ่ือให๎มีพอเพียงในการบริโภคตลอดปี เพื่อ ใช๎เปน็ อาหารประจาวันและเพอ่ื จาหนาํ ย
๑๗ 2. การผลติ ตอ๎ งอาศัยปจั จยั ในการผลิต ซ่ึงจะต๎องเตรยี มใหพ๎ ร๎อม เชนํ การเกษตรต๎องมีน้า การจัดให๎ มีและดแู หลงํ นา้ จะกํอใหเ๎ กิดประโยชน์ท้ังการผลิต และประโยชนใ์ ช๎สอยอ่ืน ๆ 3. ปัจจัยประกอบอ่ืน ๆ ท่ีจะอานวยให๎การผลิตดาเนินไปด๎วยดี และเกิดประโยชน์เชื่อมโยง (Linkage) ที่จะไปเสริมให๎เกิดความยั่งยืนในการผลิต จะต๎องรํวมมือกันทุกฝุายทั้ง เกษตรกร ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชือ่ มโยงเศรษฐกิจพอเพยี งเข๎ากบั เศรษฐกจิ การค๎า และใหด๎ าเนนิ กิจการควบคํไู ปดว๎ ยกนั ได๎ การผลิตจะต๎องตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหวําง “บุคคล” กับ “ระบบ” การผลิตนั้นต๎องยึดมั่นในเร่ือง ของ “คณุ คาํ ” ให๎มากกวาํ “มูลคาํ ” ดังพระราชดารัส ซ่งึ ได๎นาเสนอมากอํ นหน๎านี้ที่วาํ “…บารมนี ้นั คอื ทาความดี เปรียบเทยี บกบั ธนาคาร …ถ๎าเราสะสมเงนิ ให๎มากเราก็สามารถที่จะใช๎ดอกเบ้ีย ใช๎ เงินทเ่ี ป็นดอกเบยี้ โดยไมแํ ตะต๎องทุนแตํถ๎าเราใชม๎ ากเกดิ ไป หรอื เราไมรํ ะวัง เรากิน เข๎าไปในทุน ทุนมันก็ น๎อยลง ๆ จนหมด …ไปเบิกเกินบัญชีเขาก็ต๎องเอาเร่ือง ฟูองเราให๎ล๎มละลาย เราอยําไปเบิกเกินบารมีท่ี บ๎านเมือง ทีป่ ระเทศไดส๎ รา๎ งสมเอาไวต๎ ้งั แตบํ รรพบุรุษของเราใหเ๎ กนิ ไป เราต๎องทาบ๎าง หรือเพ่ิมพูนให๎ประเทศ ของเราปกติมอี นาคตทมี่ ัน่ คง บรรพบรุ ุษของเราแตโํ บราณกาล ได๎สร๎างบ๎านเมืองมาจนถงึ เราแล๎ว ในสมัยน้ีท่ี เรากาลงั เสียขวญั กลวั จะไดไ๎ มตํ ๎องกลวั ถ๎าเราไมํรักษาไว๎…” การจัดสรรทรัพยากรมาใช๎เพื่อการผลิตที่คานึงถึง “คุณคํา” มากกวํา “มูลคํา” จะกํอให๎เกิด ความสัมพันธ์ระหวําง “บุคคล” กับ “ระบบ” เป็นไปอยํางยั่งยืน ไมํทาลายทั้งทุนสังคมและทุนเศรษฐกิจ นอกจากนี้จะต๎องไมํติดตารา สร๎างความรู๎ รัก สามัคคี และความรํวมมือรํวมแรงใจ มองกาลไกลและมี ระบบสนบั สนุนที่เปน็ ไปได๎ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวทรงปลูกฝังแนวพระราชดาริให๎ประชาชนยอมรับไปปฏิบัติอยําง ตํอเนื่อง โดยให๎วงจรการพัฒนาดาเนินไปตามครรลองธรรมชาติ กลําวคือ ทรงสร๎างความตระหนักแกํ ประชาชนให๎รับร๎ู (Awareness) ในทุกคราเม่ือ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเย่ียมประชาชนในทุกภูมิภาคตําง ๆ จะทรงมพี ระราชปฏิสันถารให๎ประชาชนได๎รับทราบถึงสิ่งที่ควรรู๎ เชํน การปลูกหญ๎าแฝกจะชํวยปูองกันดิน พังทลาย และใช๎ปุ๋ยธรรมชาติจะชํวยประหยัดและบารุงดิน การแก๎ไขดินเปร้ียวในภาคใต๎สามารถกระทาได๎ การ ตัดไม๎ทาลายปุาจะทาให๎ฝนแล๎ง เป็นต๎น ตัวอยํางพระราชดารัสท่ีเก่ียวกับการสร๎างความตระหนักให๎แกํ ประชาชน ได๎แกํ “….ประเทศไทยน้เี ป็นทท่ี เี่ หมาะมากในการตง้ั ถิ่นฐาน แตํวําตอ๎ งรกั ษาไว๎ ไมํทาให๎ประเทศไทยเป็นสวนเป็นนา กลายเป็นทะเลทราย ก็ปูองกัน ทาได๎….” ทรงสร๎างความสนใจแกํประชาชน (Interest) หลายทํานคงได๎ยิน หรือรับฟัง โครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวที่มีนามเรียกขานแปลกหู ชวนฉงน นําสนใจติดตามอยูํเสมอ เชํน โครงการแก๎มลิง โครงการแกล๎งดิน โครงการเส๎นทางเกลือ โครงการ น้าดีไลํน้าเสีย หรือโครงการน้าสามรส ฯลฯ เหลําน้ี เป็นต๎น ล๎วนเชิญชวนให๎ ติดตามอยํางใกล๎ชิด แตํ พระองค์ก็จะมีพระราชาธิบายแตํละโครงการอยํางละเอียด เป็นที่เข๎าใจงํายรวดเร็วแกํประชาชนท้ังประเทศ ในประการตํอมา ทรงให๎เวลาในการประเมินคําหรือประเมินผล (Evaluate) ด๎วยการศึกษาหาข๎อมูลตําง ๆ วาํ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริของพระองค์น้ันเป็นอยํางไร สามารถนาไปปฏิบัติได๎ในสํวนของตนเอง หรอื ไมํ ซง่ึ ยังคงยึดแนวทางที่ใหป๎ ระชาชนเลือกการพัฒนาด๎วยตนเอง ทวี่ าํ
๑๘ “….ขอให๎ถือวําการงานที่จะทาน้ันต๎องการเวลา เป็นงานที่มีผู๎ดาเนินมากํอนแล๎ว ทํานเป็นผ๎ูที่จะเข๎าไปเสริม กาลงั จงึ ตอ๎ งมคี วามอดทนทจี่ ะเขา๎ ไปรํวมมือกับผู๎อ่ืน ต๎องปรองดองกับเขาให๎ได๎ แม๎เห็นวํามีจุดหนึ่งจุดใดต๎อง แก๎ไขปรับปรงุ กต็ อ๎ งคํอยพยายามแก๎ไขไปตามท่ีถูกที่ควร….” ในข้ันทดลอง (Trial) เพ่ือทดสอบวํางานในพระราชดาริที่ทรงแนะนานั้นจะได๎ผลหรือไมํซึ่งในบาง กรณีหากมีการทดลองไมํแนํชัดก็ทรงมักจะมิให๎เผยแพรํแกํประชาชน หากมีผลการทดลองจนแนํพระราช หฤทยั แล๎วจึงจะออกไปสํูสาธารณชนได๎ เชํน ทดลองปลูกหญ๎าแฝกเพ่ืออนุรักษ์ดินและน้านั้น ได๎มีการค๎นคว๎า หาความเหมาะสมและความเปน็ ไปไดจ๎ นท่ัวทงั้ ประเทศวาํ ดีย่งิ จงึ นาออกเผยแพรแํ กปํ ระชาชน เปน็ ต๎น ขั้นยอมรับ (Adoption) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารินั้น เมื่อผํานกระบวนการมาหลายขั้นตอน บํม เพาะ และมีการทดลองมาเป็นเวลานาน ตลอดจนทรงให๎ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และสถานทอี่ ่ืน ๆ เป็นแหลงํ สาธิตที่ประชาชนสามารถเข๎าไปศึกษาดูได๎ถึงตวั อยาํ งแหงํ ความสาเรจ็ ดังนั้น แนว พระราชดารขิ องพระองคจ์ งึ เป็นสิง่ ที่ราษฎรสามารถพิสูจน์ได๎วําจะได๎รับผลดีตํอชีวิต และความเป็นอยํูของตน ได๎อยํางไร แนวพระราชดาริทั้งหลายดังกลําวข๎างต๎นน้ี แสดงถึงพระวิริยะอุตสาหะที่พระบาทสมเด็จพระ เจ๎าอยูํหัวทรงทํุมเทพระสติปัญญา ตรากตราพระวรกาย เพื่อค๎นคว๎าหาแนวทางการพัฒนาให๎พสกนิกร ท้ังหลายได๎มีความรํมเย็นเปน็ สขุ สถาพรยง่ั ยืนนาน นบั เปน็ พระมหากรุณาธิคุณอันใหญํหลวงที่ได๎พระราชทาน แกํปวงไทยตลอดเวลามากกวํา 50 ปี จึงกลําวได๎วําพระราชกรณียกิจของพระองค์นั้นสมควรอยํงย่ิงท่ีทวย ราษฎรจกั ได๎เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท ตามที่ทรงแนะนา ส่ังสอน อบรมและวางแนวทางไว๎เพื่อให๎เกิด การอยูํดีมีสุขโดยถ๎วนเชํนกัน โดยการพัฒนาประเทศจาเป็นต๎องทาตามลาดับขึ้นตอนต๎องสร๎างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช๎ ของประชาชนสํวนใหญํเป็นเบื้องต๎นกํอน โดยใช๎วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แตํ ถกู ต๎องตาหลกั วชิ าการ เพ่อื ได๎พื้นฐานทม่ี ่ันคงพร๎อมพอสมควรและปฏิบัติได๎แล๎ว จึงคํอยสร๎างคํอยเสริม ความ เจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้ึนที่สูงข้ึนไปตามลาดับ จะกํอให๎เกิดความยั่งยืนและจะนาไปสูํความเข๎มแข็ง ของครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม สุดทา๎ ยเศรษฐกิจดี สงั คมไมมํ ปี ญั หา การพัฒนายง่ั ยืน ประการทีส่ าคญั ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. พอมีพอกิน ปลูกพชื สวนครวั ไว๎กินเองบ๎าง ปลูกไม๎ผลไวห๎ ลังบ๎าน 2-3 ตน๎ พอท่จี ะมไี ว๎กินเองใน ครัวเรอื น เหลอื จงึ ขายไป 2. พออยํูพอใช๎ ทาให๎บา๎ นนาํ อยูํ ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหมน็ ใชแ๎ ตขํ องท่ีเปน็ ธรรมชาติ (ใช๎ จุลินทรยี ์ผสมน้าถพู นื้ บ๎าน จะสะอาดกวาํ ใชน๎ า้ ยาเคม)ี รายจํายลดลง สุขภาพจะดีขน้ึ (ประหยัดคํา รักษาพยาบาล) 3. พออกพอใจ เราต๎องรจ๎ู ักพอ รจู๎ กั ประมาณตน ไมํใครํอยากใครํมเี ชํนผอู๎ นื่ เพราะเราจะหลงตดิ กบั วตั ถุ ปญั ญาจะไมํเกิด \" การจะเป็นเสือนนั้ มันไมํสาคัญ สาคัญอยูํท่ีเราพออยูํพอกนิ และมีเศรษฐกจิ การเปน็ อยแํู บบพอมพี อกนิ แบบ พอมพี อกนิ หมายความวาํ อุ๎มชูตัวเองได๎ ให๎มพี อเพียงกับตัวเอง \" \"เศรษฐกจิ พอเพียง\" จะสาเรจ็ ได๎ดว๎ ย \"ความพอดขี องตน\" แหลงํ อา๎ งองิ : https://www.nhtech.ac.th/Sufficient/
๑๙ บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว ดาเนินการจัดโครงการปลูกพืช ผสมผสานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มวี ิธกี ารดาเนินงาน ดงั น้ี ประชากรกลุ่มตัวอย่างทีใ่ ชใ้ นการศึกษา ประชากร คือ ประชาชนทั่วไปตาบลปุาไรํ ที่เข๎ารํวมโครงการ : โครงการปลูกพืชผสมผสาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จานวนกลํมุ เปูาหมาย 19 คน กลุ่มตัวอย่าง ประชาชนท่ัวไปท่ีเข๎ารํวมโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยการสํุมตวั อยํางจากกตารางแคซ่ี & มอรแ์ กรน จานวน 19 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษา เคร่ืองมือที่ใช๎ในการเก็บรวบรวมข๎อมูลโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ แบบสอบถามทใี่ ชใ๎ นการประเมนิ ผลโครงการประกอบดว๎ ยเนื้อหาดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ๎ มลู ทั่วไป ตอนท่ี 2 ระดบั ความพึงพอใจที่มตี ํอการเข๎ารวํ มโครงการฯ ลกั ษณะคาถามแบบ ประมาณคํา ให๎คะแนน 5 ระดบั คือ 5 , 4, 3, 2 และ 1 ตามลาดบั และนามาคดิ เป็นรอ๎ ยละ ตอนที่ 3 ข๎อเสนอแนะอื่นๆ เปน็ คาถามปลายเปดิ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. การเก็บรวบรวมข๎อมูลในการประเมินโครงการฯ จากการตอบแบบสอบถาม ความคิดเหน็ ของจากผเู๎ ขา๎ รํวมโครงการ 2. การจดั ทาขอ๎ มลู นาแบบสอบถามที่ไดร๎ ับคืน มาตรวจสอบความถูกตอ๎ ง สมบรู ณ์และกาหนดคะแนนตามน้าหนัก แตํละข๎อ เพ่ือนาไปวิเคราะห์โดยวิธีการทางสถิตินาผลการคานวณ มาวิเคราะห์ข๎อมูลตามวัตถุประสงค์ของการประเมินการแปลความหมายของคะแนนของแบบสอบถามความ คิดเห็น ผ๎ูประเมินกาหนดเกณฑ์โดยอาศัยคําเฉล่ีย (Mean) ของคะแนนเป็นตัวชี้วัด นามาแปลความหมาย เทยี บกบั เกณฑ์ ดังนี้ คะแนนเฉล่ีย แปลความหมาย 4.51 – 5.00 ระดบั ความคิดเหน็ อยํูในระดับมากทสี่ ุด 3.51 – 4.50 ระดบั ความคิดเหน็ อยํูในระดับมาก 2.51 – 3.50 ระดบั ความคิดเห็นอยูํในระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 ระดับความคิดเห็นอยูํในระดับนอ๎ ย 1.00 – 1.50 ระดบั ความคดิ เหน็ อยํูในระดับน๎อยทสี่ ดุ
๒๐ สถิติท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบบประเมินผลตอนที่ ๑ การแจกแจงความถ่แี ละคําร๎อยละ แบบประเมินผลตอนท่ี ๒ คําเฉลี่ยและคาํ สวํ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน แบบประเมนิ ผลตอนที่ ๓ เปน็ คาถามปลายเปิด นาข๎อเสนอแนะทีม่ คี วามเรยี งคลา๎ ยกันมาสรปุ ตามลาดบั ความถี่ นาขอ๎ มูลทไี่ ดจ๎ ากการวเิ คราะหส์ รปุ เพอื่ วิเคราะห์ จดุ เดํน จดุ ด๎อยและนาข๎อมูลที่ไดไ๎ ปใช๎เพอ่ื การ ปรับปรุงการจดั กิจกรรมในคร้ังตอํ ไป สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู - ความถี่ - คําร๎อยละ - คําเฉลยี่ - คาํ สํวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
๒๑ บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว ดาเนินการจัดโครงการปลูกพืช ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีผลการดาเนินงานดังนี้ ในการวิเคราะห์ข๎อมูลเพ่ือตอบ วัตถุประสงค์ของการประเมินตามที่กาหนดไว๎ ผ๎ูประเมินใช๎วิธีการทางสถิติ ประกอบด๎วย คําร๎อยละ (Percentage) 1. การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู โดยผู๎ประเมินได๎เสนอผลการวิเคราะห์ข๎อมูลเป็นรายด๎านตามโมเดลการประเมิน ซ่ึงใช๎รูปแบบสอบถาม ดังตอํ ไปน้ี ๑.๑ แบบประเมิน ๔ ตอน ๕ ตัวเลือก คือ -ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา๎ นเนื้อหา -ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจด๎านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม -ตอนที่ ๓ ความพึงพอใจตํอวิทยากร -ตอนที่ ๔ ความพงึ พอใจด๎านการอานวยความสะดวก เกณฑก์ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการประเมิน มากทส่ี ุด คะแนน ๕ มาก คะแนน ๔ ปานกลาง คะแนน ๓ น้อย คะแนน ๒ น้อยท่ีสุด คะแนน ๑ คา่ เฉลี่ยในการวิเคราะหข์ อ้ มูล ๔.5๑ - ๕.๐๐ คอื คะแนนท่ีไดร๎ ับร๎ู ระดบั ความคิดเห็น อยูใํ นระดับ มากท่ีสุด ๓.5๑ - ๔.5๐ คือคะแนนท่ีไดร๎ ับร๎ู ระดับความคิดเหน็ อยใูํ นระดับ มาก ๒.5๑ - ๓.5๐ คอื คะแนนท่ีได๎รบั รู๎ ระดับความคดิ เห็น อยํใู นระดบั ปานกลาง ๑.5๑ - ๒.5๐ คือคะแนนทไ่ี ด๎รับรู๎ ระดับความคดิ เห็น อยํูในระดบั นอ๎ ย ๑.๐๐ - ๑.5๐ คอื คะแนนท่ีไดร๎ ับรู๎ ระดับความคดิ เหน็ อยใํู นระดบั นอ๎ ยทสี่ ุด
๒๒ 2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู สรุปผลการดาเนินงานโครงการโดยการเก็บข๎อมูลจากาผู๎เข๎ารํวมโครงการโดยใช๎แบบสอบถามความ พึงพอใจที่มตี ํอโครงการ โดยสอบถามจากกลุํมตัวอยําง จานวน 19 คน ดงั นี้ ๒.๑ ข้อมูลพ้นื ฐานของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม เปอร์เซน็ ต์ ตารางที่ ๑ แสดงจานวนร้อยละแยกตามเพศ 42.10 79.90 เพศ จานวน 100.00 ชาย 8 หญงิ 11 รวม 19 จากตารางท่ี ๑ พบวา่ ผ๎เู ข๎ารํวมกจิ กรรมเป็นเพศชาย จานวน 8 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 42.10 ผ๎ูเข๎ารํวมโครงการฯเปน็ เพศ หญงิ จานวน 11 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 79.90 ตารางท่ี ๒ แสดงจานวนร้อยละระดับการศกึ ษา รายการ ระดบั การศึกษา ป.๔ ประถมศึกษา ม.๓ ม.๖ ป.ตรี 3 1 จานวน ( คน ) 8 - 7 15.79 5.27 เปอร์เซน็ ต์ 42.10 - 36.84 จากตารางท่ี ๒ พบวา่ ผู๎เขา๎ รํวมกจิ กรรมระดับการศึกษามากที่สุดคือระดับ ป.4 จานวน 8 คน คิด เป็นร๎อยละ 42.10 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น จานวน 7 คนคิดเป็นร๎อยละ 36.84 และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.79 ระดับปริญญาตรี จานวน ๑ คน คิด เปน็ รอ๎ ยละ 5.27 ตามลาดับ ตารางท่ี ๓ แสดงจานวนรอ้ ยละแยกตามอายุ รายการ ช่วงอายุ( ปี ) ตา่ กว่า ๑๕ ปี ๑๕–๓๙ ๔๐- ๕๙ ๖๐ ปขี น้ึ ไป 5 จานวน ( คน ) - 59 26.32 เปอรเ์ ซ็นต์ - 26.32 47.36 จากตารางท่ี ๓ พบวา่ ผูเ๎ ขา๎ รํวมกจิ กรรมมชี ํวงอายุมากที่สุด อยใูํ นชํวงอายุ 40 – ๕9 ปี จานวน 9 คน คิดเป็นร๎อยละ 47.36 รองลงมาชํวงอายุ อายุ ๖๐ ปีข้ึนไป จานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.32 และ 15 – 39 ปี จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 26.32 ตามลาดับ
๒๓ ๒. ขอ้ มูลระดับความพงึ พอใจท่ีมีต่อการเขา้ ร่วมโครงการปลกู พืชผสมผสานตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงดังนี้ ตารางที่ ๔ แสดงร้อยละความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา ดงั น้ี ท่ี รายการ ระดับความพงึ พอใจ N คา่ ร้อยละ S.D เกณฑก์ าร ด้านเนื้อหา ๕ ๔๓๒๑ เฉลี่ย ประเมิน 1. เนื้อหาตรงตามความ 19 0 0 0 0 19 5.00 100 0.69 มากทส่ี ดุ ตอ๎ งการ 4 15 0 0 0 19 4.21 84.21 0.80 มาก 13 6 0 0 0 19 4.68 93.68 0.83 มากที่สดุ 2. เนือ้ หาเพยี งพอตํอความ ต๎องการ 3. เน้อื หาปจั จุบันทนั สมยั เนือ้ หามปี ระโยชนต์ ํอการ 4. นาไปใชใ๎ นการพฒั นา 11 8 0 0 0 19 4.58 91.58 0.85 มากท่ีสุด คุณภาพชวี ติ รวม 47 29 0 0 0 76 4.62 92.37 0.60 มากท่ีสดุ จากตาราง ท่ี ๔ แสดงวาผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด๎านเน้ือหา หลังการดาเนินโครงการโดยรวม อยูในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.62 คํารอ๎ ยละ ๙2.37 และผลการประเมนิ อยูในระดบั ทีใ่ กลเคียงกนั มีคา S.D. เทากับ 0.60
๒๔ ตารางที่ ๕ แสดงรอ้ ยละความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม ดังนี้ ท่ี รายการ ระดับความพึงพอใจ N ค่า รอ้ ยละ S.D เกณฑก์ าร ๕ ๔ ๓๒๑ เฉลยี่ ประเมนิ ดา้ นกระบวนการจัดการอบรม ๑. การเตรียมความพรอ๎ ม 18 1 0 0 0 19 4.95 98.95 0.72 มากที่สดุ กํอนอบรม ๒. การออกแบบกิจกรรม 5 14 0 0 0 19 4.26 85.26 0.82 มาก เหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ๓. การจัดกจิ กรรมเหมาะสม 11 8 0 0 0 19 4.58 91.58 0.85 มากทส่ี ุด กบั เวลา ๔. การจดั กจิ กรรมเหมาะสม 12 7 0 0 0 19 4.63 92.63 0.84 มากทีส่ ุด กบั กลุํมเปาู หมาย ๕. วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผล 10 9 00 0 19 4.53 90.53 0.85 มากที่สุด เหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ รวม 56 39 0 0 0 95 4.59 91.79 0.58 มากทสี่ ุด จากตาราง ที่ ๕ แสดงวาผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ด๎านการจัดกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มาก ที่สุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.5๙ คําร๎อยละ ๙1.79 และผลการประเมินอยูในระดับท่ีใกลเคียงกันมีคา S.D. เทากับ 0.58 ตารางท่ี ๖ แสดงร้อยละความพึงพอใจด้านวิทยากร ดงั นี้ ท่ี รายการ ระดับความพึงพอใจ N ค่า รอ้ ยละ S.D เกณฑ์การ ๕ ๔๓๒ ๑ เฉล่ยี ประเมนิ ด้านวิทยากร ๑ วทิ ยากรมคี วามรู๎ ความสามารถในเร่ืองที่ 17 2 000 19 4.89 97.89 0.75 มากที่สดุ ถํายทอด ๒ วทิ ยากรมีเทคนคิ การ 10 9 00 0 19 4.53 90.53 0.85 มากท่สี ดุ ถํายทอดใช๎สื่อเหมาะสม ๓ วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม๎ ี 9 10 0 0 0 19 4.47 89.47 0.85 มาก สํวนรวํ มและซกั ถาม รวม 36 21 0 0 0 57 4.63 92.63 0.62 มากทสี่ ุด
๒๕ จากตาราง ท่ี ๖ แสดงวาผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านวิทยากร หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด คาเฉล่ีย เทํากับ 4.๖3 คําร๎อยละ ๙2.63 และผลการประเมินอยูในระดบั ที่ใกลเคียงกันมีคา S.D. เทากับ 0.62 ตารางที่ ๗ แสดงร้อยละความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก ดังนี้ ท่ี รายการ ระดบั ความพึงพอใจ N คา่ ร้อยละ S.D เกณฑก์ าร ๕ ๔ ๓๒ ๑ เฉลย่ี ประเมิน ดา้ นการนาความรู้ไปใช้ สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์ 0 0 0 0 19 5.00 100 0.69 มากทส่ี ดุ ๑. และสิ่งอานวยความ 19 สะดวก การส่ือสาร การสร๎าง ๒. บรรยากาศเพือ่ ให๎เกดิ 4 15 0 0 0 19 4.21 84.21 0.80 มาก การเรยี นร๎ู การบรกิ าร การ 13 6 0 0 0 19 4.68 93.68 0.83 มากท่สี ดุ ๓. ชํวยเหลือและการ แก๎ปญั หา รวม 36 21 0 0 0 57 4.63 92.63 0.74 มากที่สดุ รวมทั้งสนิ้ 175 110 0 0 0 285 4.62 92.36 0.63 มากท่ีสุด จากตาราง ท่ี ๗ แสดงวาผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ด๎านการอานวยความสะดวก หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด คาเฉล่ีย เทาํ กับ 4.63 คาํ ร๎อยละ ๙2.63 และผลการประเมนิ อยูในระดบั ท่ใี กลเคยี งกนั มีคา S.D. เทากบั 0.74 สรุปผลการประเมินโโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ๎ูเข๎ารํวม โครงการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู ในระดับ มากท่ีสุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.62 คําร๎อยละ ๙2.36 และผล การ ประเมินอยูในระดับท่ีใกลเคียงกนั มีคา S.D. เทากับ 0.63
๒๖ บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ การประเมนิ การดาเนินงานสรปุ ผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการประเมินเพอ่ื ใหไดมาซงึ่ ขอมูลและสารสนเทศทม่ี ีคุณภาพ สามารถนาไปใช เพ่ือ การตดั สนิ ใจขยายการดาเนนิ งานโครงการในครัง้ ตอํ ไป ดังน้ี ๕.๑ วัตถปุ ระสงคก์ ารศึกษา 5.1.1 เพ่ือให๎ประชาชนท่ีเข๎ารับการอบรมมีความรู๎ความเข๎าใจน๎อมนา “หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง” 5.1.๒ เพอื่ ให๎ประชาชนท่เี ข๎ารับการอบรมสามารถนาความร๎ูที่ได๎รับไปปรับใช๎ในชีวิตประจาวัน ได๎ ๕.๒. สรปุ ผลการศกึ ษา ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว ได๎ดาเนินการจัด สรุปผลการ ประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุํมตัวอยําง จานวน 19 คน ดังนี้ ตอนที่ ๑ ข้อมลู ท่ัวไป ผู๎เข๎ารํวมกิจกรรมเป็นเพศชาย จานวน 8 คน คิดเป็นร๎อยละ 42.10 ผู๎เข๎ารํวมโครงการฯเป็น เพศ หญงิ จานวน 11 คน คิดเป็นร๎อยละ 57.90 ผู๎เข๎ารํวมกิจกรรมระดับการศึกษามากที่สุดคือระดับ ป.4 จานวน 8 คน คิดเป็นร๎อยละ 42.10 รองลงมา คอื ระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น จานวน 7 คนคิดเป็นร๎อยละ 36.84 และระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย จานวน 3 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.79 ระดับปริญญาตรี จานวน 1 คน คิดเป็นร๎อยละ 5.27 ตามลาดบั ผู๎เข๎ารํวมกิจกรรมมีชํวงอายุมากที่สุด อยูํในชํวงอายุ 40 – ๕9 ปี จานวน 9 คน คิดเป็นร๎อยละ ๔ 7.36 รองลงมาชํวงอายุ อายุ ๖๐ ปีข้ึนไป จานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.32และ 15 – 39 ปี จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 26.32 ตามลาดับ ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจ ด้านเนื้อหา ผลการประเมินโครงการการจัดกระบวนการเรยี นร๎ูโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ดา๎ นเนื้อหา ดา๎ นเนื้อหา หลังการดาเนินโครงการโดยรวม อยูในระดับ มากที่สุด คาเฉล่ีย เทาํ กับ 4.62 คําร๎อยละ ๙2.37 และผลการประเมินอยูในระดบั ท่ใี กลเคยี งกันมีคา S.D. เทากบั 0.60
๒๗ ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ผลการประเมินโครงการการจัดกระบวนการเรียนร๎ูโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการจัดกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ใน ระดบั มากทสี่ ดุ คาเฉลยี่ เทาํ กบั 4.5๙ คํารอ๎ ยละ ๙1.79 และผลการประเมินอยูในระดับท่ีใกลเคียงกันมีคา S.D. เทากับ 0.58 ด้านวิทยากร ผลการประเมินโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู๎โครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ด๎านวิทยากร หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากท่ีสุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.๖3 คํารอ๎ ยละ ๙2.63 และผลการประเมนิ อยูในระดับทใ่ี กลเคียงกนั มคี า S.D. เทากับ 0.62 ด้านการอานวยความสะดวก ผลการประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการอานวย ความสะดวก หลังการดาเนินโครงการโดยรวมอยู ในระดับ มากท่ีสุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.63 คําร๎อยละ ๙2.63 และผลการประเมินอยูในระดับท่ใี กลเคียงกันมคี า S.D. เทากบั 0.74 สรุปผลการประเมินโโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผ๎ูเข๎ารํวม โครงการมีความพึงพอใจโดยรวมอยู ในระดับ มากท่ีสุด คาเฉลี่ย เทํากับ 4.62 คําร๎อยละ ๙2.36 และผล การประเมินอยูในระดับทีใ่ กลเคียงกันมีคา S.D. เทากับ 0.63 ๕.๓. อภิปรายผลการศึกษา การประเมินโครงการปลูกพืชผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินตามรูปแบบ การประเมินทุกขั้นตอนอยํางเป็นระบบ ผลการประเมินเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนด คือ การดาเนิน โครงการ มกี ารวเิ คราะห์สภาพปัญหาการดาเนนิ โครงการ การศกึ ษาความตอ๎ งการของผู๎ท่ีรํวมดาเนินโครงการ วางแผนและจัดทาให๎ตรงตามสภาพท่ีแท๎จริงมากท่ีสุด ทาให๎การดาเนินโครงการเป็นไปตามข้ันตอนที่กาหนด อยํางมปี ระสิทธภิ าพ สอดคลอ๎ งกับแนวคิดในการวางแผนของ อทุ ัย บุญประเสริฐ (2532 : 23) ที่กลําววําถ๎า หนํวยงานใดมีการวางแผน โดยวางแผนเป็นไปด๎วยดี มีประสิทธิภาพ มีแผนงานท่ีดีต้ังแตํต๎น การปฏิบัติงาน ตามแผนยํอมมีประสิทธิภาพสูง นอกจากน้ันการจัดทาปฏิทินปฏิบัติงานตามขั้นตอนโดยละเอียดการ ดาเนินงานตามปฏิทินปฏิบัติงานที่กาหนดทุกข้ันตอน และทุกกิจกรรม ทาให๎ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพ โดยเฉพาะการนเิ ทศติดตามกากับ และให๎ขวญั กาลังใจแกํผป๎ู ฏิบัติงานอยาํ งสมา่ เสมอ เปน็ สวํ นสาคัญอยาํ งย่ิง ซ่ึงผลที่ได๎สามาถนาไปใช๎ในการปรับปรุงโครงการในปีตํอๆ ไป เพ่ือจะได๎ทราบวําการดาเนินงานทุก ข้ันตอน ได๎ตรงตามเปูาหมายท่ีกาหนดหรือไมํ และจะต๎องนาผลการประเมินมาปรับปรุง แก๎ไข และ พัฒนาการดาเนนิ งานให๎มปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงสดุ ของหนวํ ยงาน โดยจะเห็นได๎จากผลการประเมิน โครงการที่บํงชี้วํากระบวนการเรียนรู๎ที่หลากหลายมีคะแนนการประเมินท่ีมีคําเฉลี่ยต่าท่ีสุด ซึ่งทาให๎เห็น แนวทางในการพัฒนารูปแบบการดาเนนิ การตอํ ไป
๒๘ 3.ข้อเสนอแนะ 3.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชงิ ปฏบิ ตั ิ 3.1.1 ควรให๎กลุํมบุคคลทุกฝุายท่ีเกี่ยวข๎อง เข๎ามามีสํวนรํวมในการคิดวิเคราะห์ ตลอดจน รวํ มกันวางแผนโครงการ ดาเนนิ งานไปตามโครงการ และติดตามประเมนิ ผลการจดั ทาโครงการตาํ งๆ รวํ มกนั 3.1.2 ควรมกี ารช้ีแจงรายละเอยี ดโครงการให๎แกํผ๎ูเกี่ยวข๎องทุกระดับได๎รับทราบและเข๎าใจ ตงั้ แตเํ ริ่มดาเนนิ การ และมีการสรุปรายงานผลใหท๎ ราบเป็นระยะ 3.1.3 สํงเสริมและพฒั นาเสรมิ สร๎างทักษะการเรยี นรู๎สาหรบั ผเ๎ู ขา๎ รวํ มโครงการ 3.2 ข้อเสนอแนะเพ่อื การดาเนินงานต่อไป ควรมีการศึกษาผลลัพธ์ (Outcome) หรือผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่มีตํอผ๎ูรํวม โครงการในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพ่ือดูผลสรุปรวมและประโยชน์ที่ ได๎รับจากโครงการท่ีแท๎จริง และจัดให๎มีกิจกรรมโครงการน้ีในทุกปีงบประมาณ เพื่อสํงเสริมให๎ผู๎เข๎ารํวม โครงการมีความร๎ู ความเข๎าใจ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และสามารถนาความรู๎ที่ได๎รับไปปรับ ใช๎ในชีวติ ประจาวันใหก๎ ับตนเองและครอบครวั ได๎ ลงช่อื .......................................................ผู๎รายงาน (นายประสทิ ธิ์ ฝาคา) ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น ลงช่ือ...........................................................ผูร๎ ับรอง (นายพิสิทธิ์ คุม๎ สุวรรณ) รองผูอ๎ านวยการศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแก๎ว รกั ษาการในตาแหนงํ ผอู๎ านวยการศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก๎ว
๒๙ ภาคผนวก
๓๐ โครงการปลูกพชื ผสมผสานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วนั ท่ี ๑๗ เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ นป่าไร่ ตาบลป่าไร่ อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
๓๑
๓๒
๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐
๔๑
๔๒
๔๓ คณะผู้จดั ทา ทปี่ รึกษา ผอู้ านวยการศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแก้ว รองผอู้ านวยการศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว้ ผู้สนับสนุนขอ้ มูล ข้าราชการ ครูอาสาสมัครฯและบุคลากรทกุ ท่าน ผ้เู รยี บเรยี งข้อมูล จัดทาตน้ ฉบับ และรูปเล่ม นายประสทิ ธิ์ ฝาคา ผอู้ อกแบบปก นายประสทิ ธิ์ ฝาคา
Search