45 12. จดั เก็บไว้ใช้งานข้ันตอนการสแกน QR Code 13. ขน้ั ตอนการสแกน QR Code
4614. ใชแ้ อพพลเิ คชัน่ ...สแกนผ่านกลอ้ ง- QR Code ที่สร้างและเกบ็ ไว้...อาจนาไปใสใ่ น Ms Words หรอื โปรแกรมอนื่ ๆ และนามาสแกนด้วยสมารท์ โฟนท่ีมีกลอ้ งถา่ ยภาพ- สแกนผา่ นแอพพลเิ คชน่ั Line/QR Scanner @ Qenerator หรอื แอพพลเิ คชน่ั อน่ื ๆ ทีส่ ามารถอ่าน QR Code ได้ 15. เลอื ก QR Code ที่ตอ้ งการสแกน 16. สแกนจากกล้อง... เลอื กสแกน
4717. เปิดแอพพลเิ คช่ันแล้วใชก้ ลอ้ งสอ่ งท่ี ภาพ QR Code18. แอพพลิเคชั่น... ลิงกไ์ ปยงั URL
4819. สแกนจากภาพในเครื่อง.. เลอื กที.่ ..อา่ นรหสั QR 20. เลอื กแกลเลอร่ี
49 21. เลอื กภาพ QR Code ทีต่ อ้ งการ22. เลอื ก...เคร่ืองหมายถกู ... ด้านบน
50 23. กดเลอื ก Url24. แอพพลิเคช่ันจะลงิ ก์ QR Code ไปยงั Url ท่ีเผยแพร่ YouTube
51 25. เลอื กลงิ กจ์ ากภาพ...ดรู ายละเอียด1. แตะรปู ภาพ เลอื กดรู ายละเอยี ดลงิ ก์ แบบไม่ตอ้ งสแกนเลอื กจากภาพ ขอ้ ความเบอรโ์ ทรโทรออกได้ โดยสมาร์ทโฟนต้องมแี อพพลิเคชั่น QR Scanner @ Generator26. กดเลอื ก...เปดิ URL/ ขอ้ ความ/เบอรโ์ ทรศพั ท์
5227. แอพพลเิ คชั่นจะลงิ ก์ QR Code ไปยงั Url ทเ่ี ผยแพร่ YouTube ขอ้ ดีของ QR Scanner @ Generatorเมื่อสร้าง QR Code แลว้ ...สามารถลงิ ก์แบบ...สแกน...หรอื ...ไมต่ อ้ งสแกน...กไ็ ด้ 1. เป็น Website/YouTube…ลงิ กไ์ ด้ 2. เป็น ข้อความ...อา่ นขอ้ ความ...ได้ 3. เป็น เบอรโ์ ทร...โทรออก...ได้ ...โดย สมารท์ โฟน ตน้ ทางและปลายทาง...ตอ้ งมแี อพพลเิ คช่ัน QR Scanner @ Generator
53 QR Code คอื อะไร QR Code คอื บารโ์ คด (Barcode) 2 มิติ ซ่ึงสามารถถอดรหสั ออกมาใหอ้ ยู่ในรูปข้อความ ตัวเลข หรือเป็นสญั ลกั ษณ์ เพอื่ ใชเ้ ป็นทางลัดในการเขา้ ไปหาข้อมูลหรือชม Clip Video ยังเว็บไซต์นั้น ๆ ได้โดยไม่ต้องพิมพ์ข้อความใด ๆ โดยปกตแิ ล้วการนามาใช้นั้นจะใช้สาหรับการเข้าเว็บไซต์ที่มีชื่อยาว ๆ ท่ียากต่อการจดจา โดยเราเพียงมแี อพพลเิ คช่ันทส่ี ามารถอา่ น QR Code ได้ ก็สามารถใช้งานได้ การสรา้ ง QR Code เราสามารถสร้างไดเ้ อง 2 ลักษณะ คอื 1. สรา้ งในเวบ็ ไซตท์ ่ีมีใหบ้ ริการสรา้ ง QR Code 2. สร้างจาก แอพพลิเคชน่ั เช่น QR Code Generator ในสมารท์ โฟน ประโยชน์ของการใช้ QR Code 1. ใชบ้ อกข้อมลู บนนามบัตรที่จะติดต่อกับหน่วยงานหรือบคุ คล เน่ืองจากพ้ืนท่ีของนามบัตรนั้นมีขนาดไม่มากพอที่จะนาเสนอส่ิงต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับบริษัท หรือตัวคุณเองดังนั้น การนา QR Code มาไว้บนนามบัตรจะช่วยทาให้ผู้ที่สนใจต้องการดูข้อมูลเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ได้ โดยจะมขี อ้ มูลแสดงไว้ 2. link ไปยัง Youtube ทตี่ อ้ งการนาเสนอ Clip Video หรือเวบ็ ไซต์ที่ต้องการนาเสนอ QR Code ใช้สาหรับ link ไปยังเว็บไซต์ที่เรากาหนด หรือ Clip Video ที่อยู่ใน Youtube ซึ่งสามารถทาได้ไม่ยากแต่ต้องทดสอบก่อนท่ีจะนาไปใช้งานจริง เพราะบ่อยคร้ังท่ีเราสแกนไปแล้ว link ที่ได้จาก QR Codeกลับไม่มีข้อมูลที่จะดึงดูดความสนใจ ดังนั้น ควรสร้าง QR Code ท่ี link ไปยังหน้าท่ีต้องการแนะนา หรือเป็นโปรโมช่ันพิเศษจริง ๆ เพอื่ สร้างความประทับใจใหก้ ับผใู้ ช้บริการ 3. ใช้ บนั ทึกเบอร์โทรศัพท์ QR Code สามารถใช้แทนข้อความหรอื ตวั เลขได้ ดงั นั้นแล้ว เราสามารถใช้ QR Code โดยการแปลงเบอร์โทรศัพทใ์ ห้เป็น QR Code ได้ 4. ใช้ QR Code ในการนาเสนอส่วนลดตา่ ง ๆ ลูกค้าย่อมจะชอบส่วนลดหรือสิทธิพิเศษที่จะได้รับจากการใช้บริการ ดังน้ัน สามารถดึงความสามารถด้วยการใช้ QR Code เปน็ ส่ือกลางในการนาเสนอสว่ นลดในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ 5. ท่ตี ิดตง้ั QR Code QR Code ใชไ้ ด้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย เราก็ตอ้ งกาหนดกล่มุ เป้าหมายที่จะมาใชบ้ รกิ าร ดงั น้ันควรคานงึ ว่า ควรตดิ ตั้ง QR Code ไว้สถานที่ไหน กลุ่มเป้าหมายถึงจะใชง้ านได้สะดวก
54 6. ขนาดและความสะดวกต่อการใชง้ าน QR Code ท่ีติดตั้งแฝงอยู่บนผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ บางครั้งจะถูกออกแบบไว้มีขนาดเล็ก และติดตั้งอยู่ท้ายประโยคน้ัน ๆ จะไม่สามารถนามาใช้งานได้จริง เน่ืองจากเกิดข้อจากัดของการใช้งาน เช่น QR Code ที่มีขนาดเล็ก กลอ้ งบนสมาร์ทโฟนที่มีความสามารถต่า ไม่สามารถสแกน QR Code ได้ เพราะฉะน้ันการนา QR Codeมาใช้งานควรวาง QR Code ขนาดท่ีใหญ่พอจะสแกนได้ การแปลงคลปิ วิดีโอ บน Youtube ใหเ้ ปน็ QR Code 1. ดาวน์โหลดโปรแกรม สาหรับ แปลง Video ให้เป็น QR Code เช่น โปรแกรม Alternate QR CodeGenerator (ดาวน์โหลดฟรี) ขน้ั ตอนการทามีดงั น้ี (ใช้เคร่ืองคอมพวิ เตอร)์ 1. เปดิ โปรแกรม Alternate QR Code Generator 2. เปิด ไฟล์ Video ท่ีเราได้ใส่ไวใ้ น Youtube คอมพิวเตอรจ์ ะแสดงผล Video
553. ให้ทาการ Coppy URL ของ Video จาก Youtube4. นา URL ของ Video จาก YouTube มาวางในโปรแกรมสรา้ ง QR Codeตัวอยา่ ง https://www.youtube.com/watch?v=2d6LtQRduHo ใสใ่ นดา้ นบนของโปรแกรม
565. คลิ๊กปมุ่ Generate ด้านล่างโปรแกรม 6. รูปใน QR Code เดิม จะเปลี่ยนไปเปน็ แบบใหม่ทันที 7. เม่อื ได้ QR Code แล้ว ใหท้ าการทดลอง ใช้แอพพลิเคชั่น ช่อื QR Code Reader (ทไี่ ด้ทาการตดิ ตั้งไวใ้ นสมาร์ทโฟน) หรอื แอพพลิเคชนั่ อืน่ ๆ กไ็ ด้ทส่ี ามารถอ่านแอพพลิเคชั่นน้ัน ๆ ได้ วิธีการใช้แอพพลิเคช่ัน อ่าน QR Code 1. เปิดแอพพลเิ คชน่ั QR Code Reader หรือ Line 2. ใชก้ ลอ้ งจากสมาร์ทโฟน ส่องไปท่ี QR Code (ขน้ั ตอนนสี้ มาร์ทโฟน ตอ้ งเปิดใช้ Internet ดว้ ย) 3. เม่อื สมาร์ทโฟนสแกน QR Code แลว้ จะลง้ิ ก์ไปทแ่ี อพพลเิ คชน่ั Youtube
57 เมอ่ื Youtube ได้รบั การลิงก์ ถา้ QR Code ถูกต้องสมบูรณ์ Youtube ก็จะแสดงผลเป็น Clip Video ได้สมารท์ โฟนแสดงหน้าต่างใหเ้ ลือกวา่ จะแสดงผลในอะไร เช่น Youtube Google เป็นต้น จบกระบวนการสร้างQR Code พร้อมใช้งาน การ Save File QR Code เก็บไวเ้ พ่ือใชง้ าน 1. กลับไปที่ หน้าต่าง โปรแกรม Alternate QR Code Generator ท่มี รี ูป QR Code ให้ทาการSave File ตามขั้นตอนดังนี้ 2. คลิ๊กขวา ที่ รูปภาพ QR Code เลือก Save to File 3. เลอื กโฟลเดอร์ทจี่ ะเก็บขอ้ มลู (สร้างโฟลเดอร์ไวก้ ่อน) 4. ตง้ั ชอื่ แลว้ เลอื กนามสกลุ เช่น JPEG (อาจเปน็ รหสั ......เรื่อง.......ที่มา............) 5. คลิ๊ก Save 6. จะไดร้ ปู ภาพ QR Code ของเรือ่ งนนั้ ๆ นาไปบรรจุไว้ในหนังสือเรียน ในเน้ือหาท่ีต้องการนาเสนอเป็น Clip Video ตวั อยา่ ง QR Code ของรักเดียว [Official Lyrics Video] - พงษ์สทิ ธิ์ คาภรี ์ ตวั อย่าง QR Code ของ http://www.pattanadownload.com/ ตวั อย่าง QR Code เบอร์โทรศัพท์
58 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 4เร่ือง การเทยี บโอนผลการเรยี น ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จานวน 3 ช่วั โมงวตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมอธิบายหลักการการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมฝึกปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551เน้อื หา 1. หลักการการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. การฝึกปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551ขนั้ ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้ 1. วทิ ยากรทักทายผเู้ ขา้ รบั การอบรม และแลกเปลย่ี นประสบการณเ์ กยี่ วกับการเทียบโอนผลการเรียนและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พร้อมชมคลิปวิดีโอเร่ือง หลักการและแนวทางส่งเสริมการเทียบโอนผลการเรียน 2. วิทยากรบรรยายเก่ียวกับหลักการการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551โดยนาเสนอ ในรูปแบบ PowerPoint เรื่อง การเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามใบความรู้สาหรับวิทยากร เร่ือง หลักการการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 3. ให้ผู้เข้ารับการอบรมชมคลิปวิดีโอเรื่อง การเทียบโอนความรู้ผู้เรียนออกกลางคัน และคลิปวิดีโอการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากการประกอบอาชีพ หลังจากนั้นให้ผู้เข้ารับการอบรมแลกเปลี่ยนสง่ิ ที่ไดเ้ รียนร้รู ว่ มกนั 4. ให้ผู้เข้ารับการอบรมฝึกปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามใบกิจกรรมเรื่อง การฝึกปฏิบัติการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตร
59การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยแบ่งผู้เข้ารับการอบรม ออกเป็น 6 กลุ่มหลังจากน้ัน ให้แตล่ ะกลุม่ ส่งผูแ้ ทนออกมานาเสนอต่อกลมุ่ ใหญ่ โดยใหน้ าเสนอ กลุ่มละ 10 นาที 5. ผู้เข้ารบั การอบรมและวิทยากรสรุปสงิ่ ท่เี รยี นรู้รว่ มกันการวัดและประเมนิ ผล 1. สังเกตพฤติกรรมจากความสนใจ ความตั้งใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เข้ารับการอบรมการซักถาม และร่วมอภิปราย เพ่อื ทาความเข้าใจในประเดน็ ทเ่ี ป็นขอ้ สงสัย 2. การทดสอบ 3. ชิน้ งาน/ผลงานสือ่ การเรียนรู้ 1. คลิปวิดีโอ เร่อื ง หลกั การและแนวทางการส่งเสรมิ การเทียบโอนผลการเรียน 2. PowerPoint เร่ือง แนวทางการดาเนินงานการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 3. PowerPoint เรื่อง แนวทางการเทียบโอนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช) เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 4. ใบความรูเ้ รอ่ื งการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 5. คลิปวิดีโอการเทียบโอนความรู้ผู้เรียนออกกลางคัน และคลิปวิดีโอการเทียบโอนความรู้และประสบการณจ์ ากการประกอบอาชีพ 6. ใบงานที่ 1 ฝึกปฏบิ ัตกิ ารเทยี บโอนผลการเรียน เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 7. ใบงานที่ 2 ฝึกปฏิบัติการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
60 การเทียบโอนผลการเรยี นและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551ความเป็นมา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (ฉบับท่ี 3)พ.ศ. 2553 กาหนดรูปแบบการศึกษาไว้สามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ประชาชนสามารถเลือกศึกษาจากรูปแบบใดก็ได้ และนาผลการเรียนมาเทียบโอนระหว่างกันได้เป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรา 14 ข้อ (4) ได้บัญญัติเก่ียวกับการเทียบโอนไว้ว่า ให้สานักงาน กศน. มีอานาจหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการ เทียบโอนผลการเรียนการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ และการเทียบระดับการศึกษา ดังน้ัน การเทียบโอนจึงเป็นภารกิจท่ีสาคัญที่สานักงาน กศน. จะต้องผลกั ดนั ให้สถานศกึ ษาดาเนนิ การอยา่ งกวา้ งขวางและทั่วถงึ ในปีงบประมาณ 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรใหม่ มีช่ือว่า “หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551” ซ่ึงกาหนดหลักการไว้ชัดเจนว่าจะส่งเสริมให้มีการเทียบโอนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือส่งเสริมให้ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนา และเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ การเทยี บโอนจงึ เป็นเครอื่ งมอื ในการเชอ่ื มโยงผลการเรียนรู้ทีห่ นว่ ยงานต่าง ๆ ร่วมจดั การศกึ ษา และเชอ่ื มโยงผลการเรียนรู้จากวิธกี ารเรยี นท่หี ลากหลาย ทงั้ จากการศึกษาหลกั สูตรต่าง ๆ ท้งั ในและตา่ งประเทศ จากการประกอบอาชีพและจากประสบการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นกลไกสาคัญในการส่งเสริมให้บุคคลมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เม่ือบุคคลตระหนักและรับรู้ว่าสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือเคยเรียนรู้มานั้นสามารถนามาเพิ่มคุณค่าโดยการเทียบโอน นับเป็นผลพลอยได้จากการเรียนรู้นอกเหนือจากการนาส่ิงที่ได้เรียนรู้น้ันไปแก้ไขปัญหาในการดารงชีวิตประจาวัน และการประกอบอาชีพยงั สามารถนามายกระดับคณุ วฒุ ิทางการศกึ ษาได้อีกทางหนงึ่ ด้วยการเทยี บโอนมี 2 รปู แบบ คือ1. การเทียบโอนผลการเรียน2. การเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์สามารถเทียบโอนทุกวิธีได้ทั้งรายวิชาบังคับและรายวิชาเลือก เม่ือรวมกันแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 75 ของโครงสรา้ งหลักสูตรแต่ละระดับ ดังนี้- ประถมศึกษา เทยี บโอนได้ไมเ่ กิน 36 หน่วยกติ จากโครงสร้าง 48 หน่วยกติ- มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เทยี บโอนได้ไมเ่ กิน 42 หนว่ ยกิต จากโครงสรา้ ง 56 หนว่ ยกติ- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เทยี บโอนได้ไมเ่ กนิ 57 หนว่ ยกติ จากโครงสร้าง 76 หน่วยกติ
61 1. การเทียบโอนผลการเรียน 1.1 การเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรต่าง ๆ ที่จัดเป็นระดับเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปิดโอกาสให้กับผู้ที่เคยเรียนหลักสูตรการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่าจากการศึกษารูปแบบในระบบและนอกระบบท่ีไมจ่ บการศกึ ษา หรือออกกลางคัน สามารถนาผลการเรียนท่ีเคยเรียนมาแสดง เพื่อขอเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยไมจ่ ากดั อายผุ ลการเรียนหลักเกณฑ์การเทยี บโอนการพิจารณาเทียบโอนใหพ้ จิ ารณา - ระดบั ทขี่ อเทยี บโอนตอ้ งเป็นระดบั เดยี วกนั - จานวนหนว่ ยกิตท่นี ามาเทียบโอนตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ จานวนหน่วยกติ รบั เทยี บโอน - รายวิชา/หมวดวชิ า ท่ีขอเทยี บตอ้ งสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ทรี่ บั เทยี บโอน ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60การให้คา่ ระดับผลการเรียนจากการเทียบโอน - จานวนหน่วยกิตของรายวิชาท่ีขอเทียบโอนเท่ากับจานวนหน่วยวิชาท่ีรับเทียบให้นาผลการเรียนในรายวิชาน้ันมาเปน็ ผลการเรยี นทเี่ ทียบได้ - ค่าระดับผลการเรียนในหลักสูตรเดิมมากกว่า 1 รายวิชา มาเทียบได้ 1 รายวิชา ให้นาผลการเรียนท่ขี อเทียบมาหาค่าเฉลย่ี - ค่าระดับผลการเรียนในหลักสูตรเดิมมากกว่า 1 รายวิชา มาเทียบได้มากกว่า 1 รายวิชา ให้นาผลการเรียนทข่ี อเทยี บมาหาค่าเฉลย่ี และนามาเปน็ คา่ เฉลยี่ ของผลการเรียนในทกุ รายวชิ าท่ีเทียบโอนได้ ยกเว้นจากหลักสูตรตา่ งประเทศใหผ้ ลการเรียนเปน็ “ผา่ น” 1.2 การเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาต่อเนื่อง เป็นการนาผลการเรียนจากการศึกษาท่ีเป็นหลกั สูตรเฉพาะหรือการอบรมตา่ ง ๆการพิจารณาเทียบโอนใหพ้ ิจารณา - หลกั สูตรต่อเนือ่ งจัดโดยองคก์ รของรัฐหรือองค์กรท่ีไดร้ บั การยอมรบั - รายวิชา/หมวดวิชา ท่ีขอเทียบตอ้ งสอดคล้องกับสาระการเรยี นรูท้ ร่ี บั เทียบโอน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 - นับจานวนชวั่ โมง โดยคานวณ 40 ชัว่ โมง คดิ เป็น 1 หน่วยกติการให้ค่าระดบั ผลการเรยี นจากการเทยี บโอน ใหผ้ ลการเทียบโอนเป็น “ผ่าน”
62 2. การเทยี บโอนความร้แู ละประสบการณ์ การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ หมายถึง การวัด การตรวจสอบ การประเมินผลการเรียนรู้ ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการเรียนรู้ตามอัธยาศัย การทางาน และการประกอบอาชีพ หรือกรณีท่ีเคยผ่านการเรียนจากการศึกษาในระบบ นอกระบบ หลักสูตรต่อเน่ืองแต่ไม่สามารถนาเอกสารผลการเรียนมาแสดงเพื่อเทียบโอนผลการเรียน หรือมีแต่เอกสารน้ันไม่ได้รับการรับรอง โดยมีขั้นตอนการประเมิน ดงั น้ี 2.1 ประเมินเบื้องต้น สถานศึกษาพิจารณาความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน โดยการสัมภาษณ์หรือ พิจารณาหลักฐาน ระยะเวลาประกอบอาชีพ ความชานาญ บัตรพนักงาน หนังสือรับรองการประกอบอาชีพ โล่รางวัล ผลงาน หนังสือเชิญเป็นวิทยากร เพ่ือให้แน่ใจว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ สมควรเข้ารับการประเมนิ โดยเครอื่ งมอื ตอ่ ไป 2.2 การประเมินความรู้และประสบการณ์ สถานศึกษาต้องกาหนดกรอบการประเมิน สร้างเคร่ืองมือและ แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดาเนินการประเมิน ซึ่งควรประกอบด้วย ผู้เช่ียวชาญด้านเน้ือหา ผู้เช่ียวชาญดา้ นการวัดและประเมนิ ผลการใหค้ า่ ระดบั ผลการเรยี นจากการเทียบโอน ใหผ้ ลการเทียบโอนเชน่ เดียวกับการตดั สนิ ผลการเรยี นรายวิชาการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์กลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ เป็นการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีสานักงาน กศน. ร่วมกับหน่วยงานหรือภาคีเครือข่ายเพ่ือส่งเสริมให้พนักงาน สมาชิกองค์กร หรือ ผู้ท่ีประกอบอาชีพนั้น นาประสบการณ์มาประเมินความรู้และประสบการณ์ เพ่ือการเทยี บโอนสาหรบั กลุม่ เป้าหมายเฉพาะ ซ่ึงมีสมาชิกในองค์กรจานวนมาก เพ่ืออานวยความสะดวกให้กับผู้เรียนและสถานศึกษา และให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ พิจารณาจากหลักฐานการเป็นสมาชิก หรือการประกอบอาชีพและให้ค่าระดับผลการเรียนจากการเทียบโอน เป็น “ผ่าน” การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เฉพาะท่ีสานักงาน กศน. ได้จดั ทาขนึ้ 1. สมาชกิ สหกรณเ์ ครดิตยเู นยี่ น/สมาชกิ กลมุ่ เครดิตยเู นยี่ น 2. ผนู้ าสหกรณ์ภาคเกษตรและสมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตร 3. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 4. ผนู้ าศาสนาอสิ ลาม ผูส้ อนอิสลามศึกษา และนักศึกษาอิสลามศกึ ษา 5. ผ้นู าทอ้ งที่ 6. ทหารกองประจาการ ทหารประจาการ และอาสาสมัครทหารพราน
63 7. หมอนวดแผนโบราณ 8. พนักงานรักษาความปลอดภยั แนวทางการเทียบโอนกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) เขา้ สู่ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต(กพช.) กาหนดให้ผ้เู รยี นตอ้ งทากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิต เปน็ เง่อื นไขการจบหลกั สูตร โดยเนน้ ให้ผู้เรียนนาขอ้ มลู ความรู้ และประสบการณ์มาฝึกทักษะการคิด การวางแผนปฏิบัติการ ที่จะส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพ่ือให้ดารงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข จานวนไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมงและไม่อนุญาตให้มีการเทยี บโอน ทงั้ นี้ ต้ังแต่ปีการศึกษา 2560 สานักงาน กศน. ได้ประกาศแนวทางการเทียบโอนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรม หรือประสบการณ์ท่ีผู้เรียนได้ดาเนินการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมที่สอดคล้องกับหลักการของกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) และเกิดข้ึนก่อนการขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษามาเทยี บโอนได้ไมเ่ กนิ 150 ชวั่ โมง จากจานวน 200 ช่วั โมงลักษณะของกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ แบง่ เป็น 2 ประเภทประเภทที่ 1 กิจกรรมท่มี ุง่ เนน้ การพัฒนาตนเองและครอบครวั ใหเ้ ป็นพลเมอื งทด่ี ขี องชาติ รูปแบบที่ 1 การเขา้ รับอบรมหลกั สูตรต่าง ๆ รูปแบบที่ 2 การศกึ ษาดงู านกบั หน่วยงานต่าง ๆ รูปแบบที่ 3 กจิ กรรมทส่ี ร้างช่ือเสยี งให้กับชุมชน/ประเทศชาตหิ รอื ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี รูปแบบท่ี 4 กิจกรรม/โครงการที่กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือศาลเยาวชน และครอบครัวกลางจัดในกระบวนการยตุ ธิ รรมประเภทที่ 2 การเทียบโอนกิจกรรมที่มงุ่ เนน้ การพัฒนาชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ลกั ษณะที่ 1 กิจกรรมอาสาสมคั ร ลกั ษณะที่ 2 กิจกรรมท่ีได้รับการแต่งต้ังเป็นกรรมการที่บ่งบอกถึงการใช้ความรู้ความสามารถในชมรมสมาคม มูลนธิ ิ ชุมชน สังคม และหนว่ ยงานต่าง ๆ ลกั ษณะที่ 3 กิจกรรมเพ่อื สาธารณกุศล/สาธารณประโยชน์ ลกั ษณะที่ 4 กิจกรรมการใหค้ วามรู้ การสร้างองค์ความร้ใู ห้กบั ชมุ ชน สงั คม แหลง่ เรยี นรู้ ตัวอย่างกิจกรรมท่ีสามารถนามาเทียบโอนเป็นกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช .) ได้ เช่นลูกเสือชาวบ้าน อาสาสมัครป้องกันหมู่บ้าน อาสากาชาด อาสาสมัครดูแลสัตว์เร่ร่อน อาสาสมัครดูแลช้างจิตอาสาดูแลผู้ติดยาเสพติด อาสาสมัครโรงทาน/โรงครัว สาธารณกุศล อาสาสมัครสตรี และเยาวชนอาสาสมัครกรรมการวฒั นธรรมชมุ ชน อาสาสมคั ร กศน. เพ่ือประชาชน ฯลฯ
64 ใบงานท่ี 1 ให้ผู้เข้ารับการอบรมศึกษา วิเคราะห์ พิจารณาระเบียนแสดงผลการเรียนจากหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน เข้าสู่ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551พรอ้ มทง้ั นารายวชิ า จานวนหนว่ ยกติ คา่ ระดบั ผลการเรียน ทสี่ ามารถเทยี บได้มาบันทึกในแบบฟอร์มที่แนบมา.
65
66
67
68ตารางวเิ คราะห์เทียบโอนผลการเรียนรายวชิ าท่นี ามาเทียบโอน รายวิชาทีร่ ับเทยี บโอน1. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน....... วิชาบงั คบั2. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน....... 1. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน.......3. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น....... 2. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น.......4. รายวชิ า .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... วิชาเลือก5. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... 1. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น....... 2. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น.......1. รายวชิ า .............................. จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรยี น....... วิชาบังคบั2. รายวชิ า .............................. จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรยี น....... 1. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน.......3. รายวชิ า .............................. จานวนหนว่ ยกิต............ ผลการเรยี น....... 2. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรียน.......4. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... วชิ าเลือก5. รายวชิ า .............................. จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรยี น....... 1. รายวิชา .................... จานวนหนว่ ยกิต............ ผลการเรียน....... 2. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรียน.......1. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... วิชาบังคับ2. รายวิชา .............................. จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรียน....... 1. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น.......3. รายวชิ า .............................. จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรยี น....... 2. รายวชิ า .................... จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรยี น.......4. รายวชิ า .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น....... วิชาเลอื ก5. รายวิชา .............................. จานวนหนว่ ยกิต............ ผลการเรยี น....... 1. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... 2. รายวิชา .................... จานวนหนว่ ยกิต............ ผลการเรียน.......1. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรียน....... วชิ าบงั คับ2. รายวชิ า .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น....... 1. รายวชิ า .................... จานวนหนว่ ยกติ ............ ผลการเรยี น.......3. รายวิชา .............................. จานวนหนว่ ยกิต............ ผลการเรียน....... 2. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น.......4. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... วชิ าเลอื ก5. รายวชิ า .............................. จานวนหนว่ ยกิต............ ผลการเรยี น....... 1. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรียน....... 2. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน.......1. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรียน....... วชิ าบังคบั2. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... 1. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น.......3. รายวชิ า .............................. จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... 2. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรยี น.......4. รายวิชา .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน....... วชิ าเลือก5. รายวชิ า .............................. จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน....... 1. รายวชิ า .................... จานวนหน่วยกติ ............ ผลการเรยี น....... 2. รายวิชา .................... จานวนหน่วยกิต............ ผลการเรียน....... รวม....................หน่วยกิต รวม....................หน่วยกิต
69 แบบสรปุ ผลการเทียบโอนผลการเรียนสถานศกึ ษา……………………………………………………………………………………………………………………………………….ช่อื -สกุลนกั ศกึ ษา ………………………………………………… รหสั ประจาตัวนกั ศึกษา...............................................ระดับ…………………………….................................................................................................................................ที่ จากหลักสตู ร.......................................................... เข้าส่หู ลักสตู รการศึกษานอกระบบ ............................................................................... ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระรายวชิ า/หมวดวชิ า จานวน ผลการ รายวิชา จานวน ผลการ หน่วยกติ เรียน หนว่ ยกติ เรยี น รวม
70 ใบงานที่ 2จากการชมคลิปวิดีโอ จงเขียนวิเคราะห์ผู้เรยี นตามประเด็นต่อไปน้ี1. ความรู้และประสบการณ์ของผ้เู รียน1.1 ระยะเวลา .............. ปี1.2 ประเภทความรแู้ ละประสบการณ์........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ...................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................................................................... ..............................................2. สาระการเรียนรแู้ ละรายวชิ าตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551ทีส่ ามารถนามาขอเทยี บโอนได้ท่ี สาระรายวชิ า/หมวดวิชา รายวิชาบังคับ จานวน รายวิชาเลอื ก จานวน หน่วยกติ หน่วยกิตรวม
713. จงวิเคราะหก์ รอบการประเมินความรู้ และประสบการณ์ทไ่ี ดจ้ ากตารางที่ 2 กรอบการประเมินความรู้และประสบการณ์ รายวิชา...........................ตัวชีว้ ัด เน้อื หา น้าหนัก เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารให้คะแนน1................................. ................................... ......... ................................... ...................................................................... ................................... ................................... ...................................................................... ................................... ................................... ...................................2................................. ................................... ......... ................................... ...................................................................... ................................... ................................... ...................................................................... ................................... ................................... ...................................3................................ ................................... ......... ................................... ..................................................................... ................................... ................................... ..................................................................... ................................... ................................... ...................................4................................ ................................... ......... ................................... ..................................................................... ................................... ................................... ..................................................................... ................................... ................................... ...................................5................................ ................................... ......... ................................... ..................................................................... ................................... ................................... ..................................................................... ................................... ................................... ...................................6............................... ................................... ......... ................................... .................................................................... ................................... ................................... .................................................................... ................................... ................................... ...................................
72 แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 5เรอื่ ง การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 13 ชั่วโมงวัตถุประสงค์ 1. อธบิ ายการเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ 2. แลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ 3. เหน็ ความสาคญั ของการเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้เน้อื หา 1. การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ 2. การฝกึ ปฏิบตั ิการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั ตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. วทิ ยากรทกั ทายผู้เขา้ รบั การอบรม และชวนคิดชวนคยุ ให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรม ตระหนักถึงความสาคัญของการเรียนรู้ เร่ือง การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยสนทนาเก่ียวกับประสบการณ์ในการจัดกระบวนการเรยี นรขู้ องครู หลงั จากนัน้ ให้ผเู้ ข้ารับการอบรม ตอบคาถามในประเด็น “ทา่ นทราบหรอื ไมว่ ่า ทาไมเราต้องเขียนแผนการจดั การเรียนรู้” “ท่านทราบหรือไม่ว่า ทาไมเราต้องเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมีการบูรณาการให้สอดคล้องกบั วิถีชวี ติ ของผ้เู รียนหรือชมุ ชน” โดยให้ผู้เขา้ รับการอบรมตอบคาถามเป็นรายบุคคล และให้กลุ่มแสดงความคิดเห็นร่วมกัน หลังจากน้ันวิทยากร และผู้เข้ารับการอบรม สรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้เก่ียวกับการเขียนแผน การจัดการเรียนรู้ของผูเ้ ข้ารับการอบรมร่วมกนั 2. วิทยากรอธิบายเช่ือมโยงไปถึง เร่ือง ของการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซึ่งเปน็ วตั ถุประสงคข์ องการเรียนร้ใู นคร้ังน้ี 3. วทิ ยากรสรปุ ความรูท้ ่ไี ดร้ บั จากประเด็นคาถามในข้อ 1 โดยเชื่อมโยงเข้ากับเนื้อหาการจัดการเรียนรู้วิทยากรบรรยาย เร่ือง การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ตามใบความรู้สาหรับวิทยากร เร่ือง การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 4. วิทยากรบรรยาย เร่ือง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา พค 31001เรื่อง เลขยกกาลัง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมเห็นถึงรูปแบบในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 5. วิทยากรและผ้เู ข้ารบั การอบรมสรุปสง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรรู้ ว่ มกัน
73 6. แบ่งผู้เข้ารับการอบรมออกเป็น 6 กลุ่ม ให้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เวลา 20 นาทีและให้แต่ละกลุ่มนาเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มดังกล่าว หลังจากน้ันให้ผู้รับการอบรมและวิทยากรให้ข้อคิดเหน็ ในการปรับแผนการจัดการเรยี นรู้ 7. ให้แต่ละกลุ่มสาธิตการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อที่ 6 หลังจากน้ันให้แตล่ ะกลมุ่ และวทิ ยากรดาเนินการวพิ ากษ์การสาธติ การจดั การเรียนร้ดู ังกล่าว 8. ผเู้ ข้ารบั การอบรมและวทิ ยากรสรปุ สงิ่ ท่ไี ด้เรียนรู้รว่ มกันสื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 1. PowerPoint ประกอบการบรรยาย เรือ่ ง การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ 2. ใบความร้สู าหรับวิทยากร เร่ือง การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรู้การวดั และประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม ได้แก่ ความตั้งใจ ความสนใจ การมีส่วนร่วมในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการกล่มุ 2. ผลงาน ไดแ้ ก่ แผนการจัดการเรยี นรู้ และการสาธิตการจดั กระบวนการเรียนรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาคณ เรอ่ื ง เลขย ระดับมัธยมศึกษท่ี เรื่อง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา การจัดกระบ1 เลขยก ผเู้ รียนบอก 1. ความหมายของ ขนั้ ตอนท่ี 1 การกาหนดสภาพ กาลงั ความหมายและ เลขยกกาลงั เรยี นรู้ (O : Orientation ) หาผลลพั ธท์ เ่ี กดิ 2. สมบัตขิ องเลขยก 1. ครูทักทายผู้เรียน และส จากการบวก กาลงั ชีวิตประจาวัน พร้อมชี้แจ การลบ การคูณ 3. การเขียนเลขยก การเรียนรู้ท่ีคาดหวังให้ผู้เร การหารจานวน กาลงั ให้อยู่ในรปู ต้องเรียนเร่ืองอะไรและมีจ จรงิ ทอ่ี ยู่ในรูปเลข อย่างง่ายและเลข คาดหวังอย่างไร ยกกาลงั ที่มีเลขชี้ ยกกาลังท่ีมเี ลขชี้ 2. ครูสร้างบรรยากาศภายใ กาลงั เป็นจานวน กาลังเป็นจานวน “เลขยกกาลัง” ให้ผู้เรียน ตรรกยะ ตรรกยะ ท่ฟี ังพร้อมจดบนั ทึกลงในส 3. ครอู ธิบายและยกตัวอย่าง ผลลัพธ์ ท่ีเกิดจากการบวก อยใู่ นรูปเลขยกกาลัง ทม่ี เี ล
ณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า พค31001 74ยกกาลังษาตอนปลาย เวลา 20 นาที การวัดและประเมินผลบวนการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบย่อย ETV. 2. การบันทกึ การเรียนรู้พ ปัญหา ความต้องการ ในการ 1. เพลง เลขยกกาลงั 3. แบบสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ 2. หนงั สอื เรียนสาระ 4. การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลีย่ นเรียนรู้สอบถามเก่ียวกับค่าใช้จ่ายใน ความรูพ้ น้ื ฐาน ของผเู้ รียน ได้แก่ ความตั้งใจ ความสนใจจงจุดประสงค์การเรียนรู้และผล รายวชิ าคณติ ศาสตร์ การแสดงความคิดเห็นรียนทราบ เพื่อให้ผู้เรียน ได้รู้ว่า รหัสวิชา พค31001จุดประสงค์และผลการเรียนรู้ที่ ระดับ มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ของในห้องเรียนโดยการ เปิดเพลง สานกั งาน กศน.นฟัง และจับใจความจากเนื้อเพลง หน้า 21 – 23มดุ บันทกึ การเรยี นรู้ 3. สอ่ื รายการโทรทัศน์เก่ียวกับ ความหมายและการหา ETV. ตอนท่ี 3 เรอื่ งก ลบ คูณ และหาร จานวนจริงที่ เลขยกกาลงัลขชกี้ าลังเป็นจานวนตรรกยะ
ท่ี เรื่อง ตวั ช้วี ดั เน้อื หา การจดั กระบ ขั้นตอนท่ี 2 การแสวงหาข้อม New ways of learning) 1. ครูเข้าสู่กระบวนการสอ ตอนท่ี 3 เรื่อง เลขยกกาลัง ผู้เรียนจดบันทึกเน้ือหากา เรียนรู้ และครูมีการสังเกต การรับชมและจดบันทึกพ และในขณะรับชมครูช้ีแจง การรับชมสื่อ ETV (โดยงด ไม่ควรพดู แทรกแสดงความ 2. ครูมอบให้นักศึกษาทาแบ จานวน 5 ขอ้ 3. ครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกันเฉลยแ จานวน 5 ข้อ ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและนา (I : Implementation) 1. ครูให้ผู้เรียนตอบคาถามในป เรื่อง เลขยกกาลัง ไปประ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ได้อ ผเู้ รยี นบนั ทกึ ลงในสมดุ จดบนั
บวนการเรยี นรู้ ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 75 การวดั และประเมนิ ผลมูลและการจัดการเรียนรู้ (N : นโดยให้ผู้เรียนรับชมสื่อ ETVง และระหว่างการรับชมรายการารเรียนรู้ลงในสมุดจดบันทึกการตพฤติกรรมของผู้เรียนระหว่างพฤติกรรมผู้เรียนในขณะรับชมงรายละเอียด ข้อตกลง ระหว่างดการใช้เสียง การพูดคุย และครูมเห็น ในขณะรับชม)บบฝึกหัด เกี่ยวกับเลขยกกาลังแบบฝึกหัด เกี่ยวกับเลขยกกาลังาไปประยุกต์ประเด็น “ท่านจะนาสิ่งท่ีได้เรียนรู้ะยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันของอย่างไร” พร้อมยกตัวอย่าง โดยให้นทกึ ของผูเ้ รยี น
ท่ี เรื่อง ตวั ช้วี ดั เน้อื หา การจดั กระบ 2. ครูขออาสาสมัครผู้เรียน จานว ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชีวติ ประจ 3. ครูและผูเ้ รยี นร่วมกันสรปุ ส ข้นั ตอนท่ี 4 ขนั้ ประเมนิ ผล (E 1. ครูให้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบ 2. ครูและผู้เรียนร่วมกันเ เลขยกกาลัง 3. ครูและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปส 4. ครมู อบหมายให้ผเู้ รยี นไปศ รูปกรณฑ์ หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ รหัสวิชา พค31 ของสานกั งาน กศน. หนา้
บวนการเรียนรู้ ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 76 การวดั และประเมินผลวน 2 คน ออกมาอธิบายเลขยกกาลังจาวนั ของตนเองส่งิ ทีไ่ ดเ้ รยี นรู้E : Evaluation)บยอ่ ย เรื่อง เลขยกกาลังเฉลยแบบทดสอบย่อย เร่ืองสิง่ ท่ไี ดเ้ รยี นร้รู ่วมกันศึกษาค้นคว้า เรื่อง จานวนจริงในนสาระความรู้พ้ืนฐาน รายวิชา1001 ระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย 25
77 ใบความร้สู าหรบั วทิ ยากร เรือ่ ง การเขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ทาไมตอ้ งเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ? แผนการจัดการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือสาคัญสาหรับผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้สอนจะต้องมีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือไปสู่เป้าหมายการจัดการศึกษาของหลักสูตรที่กาหนดไว้ผู้สอนจะต้องหากลยุทธ์ และวิธีการในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ครบถ้วนตามองค์ประกอบสาคัญว่าจัดทาแผนอยา่ งไร เพือ่ ใคร มีเทคนิค และวธิ ีการอย่างไร ผลทไี่ ด้รบั จะเป็นอย่างไร ดังนนั้ แผนการจัดการเรียนรู้จึงเปรียบเสมอื นเปา้ หมายความสาเรจ็ ที่ผู้สอนคาดหวัง ตามความหมายท่ีมีผ้กู ล่าวไว้ ดังนี้ เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล (2545, หน้า 409) กล่าวว่า แผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) เป็นวัสดุหลกั สตู รทีค่ วรพฒั นามาจากหน่วยการเรียนรู้ (UNIT PLAN) ทก่ี าหนดไว้ เพ่ือให้การจัดการสอนบรรลุเป้าประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้จะแสดงการจัดการเรียนรู้ตามบทเรียน (lesson)และประสบการณ์การเรียนรู้เป็นรายวัน หรือรายสัปดาห์ ดังน้ัน แผนการจัดการเรียนรู้ จึงเป็นเครื่องมือ หรือแนวทางในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ ห้แก่ผู้เรยี นตามกาหนดไวใ้ นสาระการเรียนรู้ของแตล่ ะกลุ่ม กรมวิชาการ (2545, อ้างอิงใน https://sites.google.com) ให้ความหมายของแผนการจัดการเรียนรู้ว่า คือผลของการเตรียมการวางแผนการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ โดยนาสาระการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิชา และกระบวนการเรียนรู้ เขียนเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ใหเ้ ป็นไปตามศกั ยภาพของผูเ้ รยี น แผนการจัดการเรียนรู้ หรือแผนการเรียนรู้เป็นคาใหม่ท่ีนามาใช้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 เหตุท่ีใช้คา “แผนการจัดการเรียนรู้” แทนคา “แผนการสอน” เพราะต้องการให้ผู้สอนมุ่งจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการจัดการศึกษาทบ่ี ่งไวใ้ นมาตรา 22 แหง่ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2544 ที่กล่าวไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด” (อาภรณ์ใจเทยี่ ง, 2546, หนา้ 213) แผนการจัดการเรียนรู้ คือ แผนการเตรียมการสอนหรือกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าอยา่ งเป็นระบบ และจดั ทาไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร โดยมีการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ มากาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน เพือ่ ให้ผเู้ รยี นบรรลุจดุ ม่งุ หมายทีก่ าหนดไว้ (สุวทิ ย์ มลู คา, 2549, หน้า 58) แผนการสอนเป็นแผนที่กาหนดข้ันตอนการสอนท่ีครูมุ่งหวังจะให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหา และประสบการณ์หน่วยใดหน่วยหนึ่งตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (อ้างถึงชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2532, หนา้ 187)
78 สรปุ แผนการจัดการเรยี นรู้ คือการวางแผนจัดกิจกรรมเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ โดยนาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ คาอธิบายรายวิช ารายละเอียดคาอธิบายรายวชิ า และกระบวนการเรยี นรู้ เขยี นเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสตู ร และศกั ยภาพของผู้เรยี นความสาคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้เปรียบเสมือนเข็มทิศที่นาทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยมีความสาคัญพอสรปุ ได้ คือ 1. เป็นเครือ่ งมอื ประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้สามารถบรรลจุ ุดประสงค์การเรียนรทู้ ี่กาหนด 2. เป็นเครื่องมือสาหรับผู้ปฏิบัติการสอนแทนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามสาระท่ีกาหนดได้อย่างเหมาะสม 3. เป็นเคร่ืองมือวัดประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือทราบความเหมาะสมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ตล่ ะเน้อื หา และเป็นขอ้ มลู พ้ืนฐานในการพฒั นากจิ กรรมให้มีประสิทธิภาพยิง่ 4. ช่วยให้ผู้สอนมีโอกาสศึกษาค้นคว้า และเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆเพอ่ื ประกอบการเขียนแผนการเรยี นรู้ท่เี หมาะสมกับเน้อื หา และศกั ยภาพผเู้ รยี น 5. ช่วยใหผ้ สู้ อนสามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบ ตามขั้นตอนท่กี าหนด 6. ชว่ ยใหผ้ ้สู อนไดท้ บทวนประสบการณก์ ารจดั กิจกรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง 7. เปน็ หลักฐานทางวิชาการในดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ข้ันตอนการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ผู้สอนสามารถออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ได้ท้ังแบบบูรณาการโดยจัดทาหน่วยการเรียนรู้ซึ่งได้จากการร่วมกันระหว่างครู นักศึกษา ชุมชน ในการวิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการของชุมชน เช่ือมโยงกับสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร แต่ละรายวิชา บูรณาการเป็นหน่วยการเรียนรู้ เพอ่ื จัดการเรียนรู้ใหต้ อบโจทย์ตามจดุ หมายของหลักสูตร และสภาพปัญหาความต้องการของชุมชนและการออกแบบแผนการจดั การเรียนรแู้ บบรายวิชา โดยมีขัน้ ตอนดงั น้ี 1. วิเคราะห์หลักสูตร ประกอบด้วยหลักการ จุดหมาย โครงสร้าง สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง เวลาเรียน แนวทางการดาเนินการจัดการเรียนรู้ที่สนองจุดประสงค์การเรียนรู้และจดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้คาอธิบายรายวิชา ซ่ึงจะระบุ ตัวช้ีวัด และเนื้อหาที่ต้องให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามลาดับข้ันตอน เพื่อประโยชน์ในการกาหนดหน่วยการเรียนรู้ และรายละเอียดของแตล่ ะหัวขอ้ ของแผนการจดั เรยี นรู้
79 2. ศึกษาความสอดคล้องสัมพันธ์กันแต่ละองค์ประกอบของหลักสูตร โดยวิเคราะห์จุดประสงค์รายวิชาและมาตรฐานรายวิชา เพื่อนามาเขียนเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยให้ครอบคลุมพฤติกรรมท้ังด้านความรู้ทกั ษะ/กระบวนการ เจตคติ และคา่ นยิ ม 3. ศึกษาคาอธิบายรายวิชา ซ่ึงมีรายละเอียดเก่ียวกับ ช่ือรายวิชา จานวนหน่วยกิต ระดับชั้นมาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั กรอบสาระการเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลส่วนรายละเอียดคาอธิบายรายวิชา มีรายละเอียดเก่ียวกับ ชื่อรายวิชา จานวนหน่วยกิต ระดับชั้น มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ และในส่วนของตารางที่เสนอ หัวเร่ือง ตัวชี้วัด เน้ือหา และจานวนช่ัวโมงในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4. การวิเคราะห์ความยากง่ายของเนื้อหาร่วมกับผู้เรียน โดยแบ่งกลุ่มเน้ือหาสาระแต่ละรายวิชาเป็น3 กลุ่ม ให้สอดคล้องกับผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น รวมท้ังวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ประกอบด้วย เน้ือหาที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจัดเป็นเน้ือหาง่าย เนื้อหาท่ีครูสามารถจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์ หรือผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังจัดเป็นเน้ือหาท่ียากระดับปานกลางและเน้ือหาท่ีต้องใหผ้ ูท้ ่มี ีความสามารถเฉพาะเรื่องน้นั สอนจดั เปน็ เนื้อหายาก 5. กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามข้ันตอนที่กาหนดในคาอธิบายรายวิชา และรายละเอียดคาอธิบายรายวิชา ที่เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ โดยเนื้อหาง่าย จัดทาแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นแผนการเรียนรู้รายบุคคลของผู้เรียน พร้อมกาหนดข้อตกลงการเรียนรู้ หรือสัญญาการเรียน ส่วนเน้ือหาที่ยากจัดทาเป็นแผนสาหรับการสอนเสริม โดยนาเน้ือหาท่ียากปานกลางมากาหนดเป็นปฏิทินการจัดการเรียนรู้รายภาค18 - 20 สปั ดาห์ และจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้รายสัปดาห์ 6. กาหนดเวลาจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกบั ขอบข่ายเน้ือหาสาระแตล่ ะรายวิชา 7. ประมวลรายละเอียดจากการวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ความสอดคล้ององค์ประกอบของหลักสูตร ศึกษาคาอธิบายรายวิชา รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ความยาก – ง่ายของเนื้อหาสาระการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ และปฏิทินการเรียนรู้รายภาค มาจัดทาเอกสารท่ีใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ หรือท่ีเรียกว่าแผนการจดั การเรยี นรู้ 8. วเิ คราะห์กระบวนการประเมินผล โดยเลือกใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ 9. วิเคราะห์แหล่งการเรียนรู้ โดยคัดเลือกสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ ทั้งในและนอกห้องเรียนให้เหมาะสมสอดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นรู้องคป์ ระกอบสาคัญของแผนการจัดการเรยี นรู้ 1. สาระสาคญั ใหร้ วู้ า่ สอนอะไร หนว่ ยเรียนรู้อะไร หัวเรอื่ งอะไร 2. จุดประสงค์การเรียนรู้สอนเพื่ออะไรโดยจุดประสงค์การเรียนรู้จะเขียนเน้นความสามารถของผู้เรียน 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความรู้หรือพุทธิพิสัย ด้านทักษะหรือทักษะพิสัย และด้านเจตคติ
80หรือจิตพิสัย ในส่วนของรูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้ กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในส่วนขององค์ประกอบนี้ จะนาผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และตัวช้ีวัดอยู่ในองค์ประกอบน้ี 3. สาระการเรยี นรสู้ ะทอ้ นดา้ นโครงสร้างเน้ือหา สาระการเรยี นรู้ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ และกระบวนการเรียนรู้ทส่ี ่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี น คิดเป็น เชน่ ONIE Model 5. สอ่ื /อุปกรณ/์ แหล่งการเรยี นรู้ ดว้ ยการใชส้ อ่ื และอปุ กรณก์ ารจัดการเรียนรอู้ ะไรบ้าง 6. การวัดและประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อทราบผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบความสาเร็จหรือไม่ 7. ความคิดเห็นของผู้บริหาร เมื่อจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เสร็จแล้ว ครูควรเสนอแผนให้ผู้บริหารพิจารณาเพ่อื ใหข้ อ้ แนะนา ข้อเสนอแนะ ก่อนการนาแผนไปใช้ 8. การบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ เมื่อครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้เสร็จแล้วต้องบันทึกผลการจดั การเรยี นรูท้ ุกครั้ง ในประเดน็ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้มีจุดอ่อน จุดแข็ง ในเร่ืองใดผลทเี่ กิดกบั ผเู้ รียนเป็นไปตามจุดประสงค์ หรอื ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังหรือ ตัวช้ีวัด หรือไม่ มีปัญหาอุปสรรคเร่ืองใดและผูเ้ รยี นที่ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ ครูมกี ระบวนการในการแก้ปัญหาอย่างไร ซ่ึงการบนั ทกึ ผล หลังการจดั การเรียนรู้นี้จะเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งท่ีครูสามารถใช้วางแผน เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ด้วย การวิจัยในช้ันเรียน ต่อไป แผนการจัดการเรยี นรูท้ ดี่ ี ลักษณะของแผนการจดั การเรียนรู้ที่ดี ควรมีดังน้ี 1. มีความละเอียดชัดเจน มีหัวข้อ และส่วนประกอบต่าง ๆ ครอบคลุมตามศาสตร์ของการสอนโดยสามารถตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1.1 สอนอะไร (หนว่ ย หวั เร่ือง ความคิดรวบยอด หรอื สาระสาคัญ) 1.2 เพ่ือจุดประสงค์อะไร (จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ซ่งึ ควรเขียนเป็นจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม) 1.3 ด้วยสาระอะไร (เนื้อหา/โครงร่างเน้ือหา) 1.4 ใช้วิธกี ารใด (กิจกรรมการเรยี นรู้ซ่ึงใชก้ จิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ) 1.5 ใชเ้ ครื่องมืออะไร (วสั ดุอปุ กรณ์ สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้) 1.6 ทราบไดอ้ ย่างไรว่าประสบความสาเร็จ (การวดั ผล และประเมนิ ผล) 2. แผนการจดั การเรียนรู้สามารถนาไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง
81 3. สว่ นประกอบต่าง ๆ ของแผนการจัดการเรยี นรมู้ คี วามสอดคล้องสัมพนั ธ์เชอื่ มโยงสมั พันธ์กัน เชน่ 3.1 จุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมสาระ/เนื้อหา และเป็นจุดท่ีพัฒนาผู้เรียนในด้านความรู้ทกั ษะ กระบวนการ และเจตคติ 3.2 กิจกรรมการเรยี นรู้ ควรสอดคล้องกับจุดประสงค์และเนอ้ื หา/สาระ 3.3 วัสดอุ ปุ กรณ์ ส่ือ และแหล่งการเรียนรู้ ควรสอดคลอ้ งสัมพันธ์กบั กิจกรรมการเรียนรู้ 3.4 การวดั ผลและประเมนิ ผล ควรสอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
82ใบความรสู้ าหรับวทิ ยากร เร่ือง รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ กศน. (ONIE MODEL) รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ข้ันตอนท่ี 1 การกาหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้จากสภาพ ปัญหา หรือความต้องการของผู้เรียน และชุมชน สังคม โดยให้เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ถึงวัตถุประสงค์ และเกิดแรงจงู ใจในการเรยี นรู้ 1. ครูและผู้เรียนร่วมกันกาหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ ซ่ึงอาจจะได้มาจากสถานการณ์ในขณะนั้น หรือเรื่องที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง หรือเป็นประเด็นที่กาลังขัดแย้ง และกาลังอยู่ในความสนใจของชุมชน สังคม ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้นที่คิดจะหาทางออกของปัญหาหรอื ความต้องการทีร่ ะบนุ ั้น ๆ 2. ทาความเข้าใจกับสภาพ ปัญหา ความต้องการในส่ิงท่ี ต้องการเรียนรู้ โดยดึงความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้เรียนที่มีอยู่เกี่ยวกับเร่ืองที่จะเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออก โดยเน้นการมีสว่ นร่วม มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ สะท้อนความคดิ และอภปิ ราย โดยให้เช่ือมโยงความรู้เดิมกับความรใู้ หม่ 3. วางแผนการเรียนรู้ของบุคคล/กลุ่มที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและสังคม มีการกาหนดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ีผ่ เู้ รียนสามารถเห็นแนวทางในการค้นพบความรู้หรอื แสวงหาคาตอบได้ดว้ ยตนเอง
83ข้ันตอนที่ 2 การแสวงหาขอ้ มลู และจัดการเรยี นรู้ เปน็ การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้ โดยศกึ ษา คน้ คว้า หาความรู้ และรวบรวมขอ้ มูล มีการระดมความคิดเหน็ วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มูล และสรุปเป็นความรู้ 1. ผเู้ รียนแสวงหาความรู้ตามแผนการเรยี นรู้ทกี่ าหนดไว้ โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์กระบวนการกลุม่ ศกึ ษาจากผูร้ /ู้ ภมู ปิ ญั ญา และวธิ อี ืน่ ๆ ท่เี หมาะสม 2. ครูและผู้เรยี นร่วมกนั แลกเปล่ียนเรียนรู้ และสรุปความรู้เบ้ืองต้น โดยครูมีหน้าที่ในการอานวยความสะดวก เช่น ใช้คาถามปลายเปิดในการชวนคิด ชวนคุย กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดด้วยกระบวนการระดมสมอง มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกัน สะท้อนความคิดและอภิปราย ซึ่งจะได้ความรู้ใหม่ ๆเพือ่ ใช้ปฏิบัติ และนาไปประยกุ ต์ใช้ 3. ผู้เรียนนาความรู้ท่ีได้ไปตรวจสอบความถูกต้อง เพ่ือประเมินความเป็นไปได้ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่นการทดลอง การทดสอบ การตรวจสอบกับผู้รู้ขัน้ ตอนท่ี 3 การปฏบิ ตั ิและนาไปประยกุ ต์ใช้ เป็นการนาความรู้ท่ีได้ไปปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ต่าง ๆ ทาให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรทู้ ี่มีความหมายกับวถิ ชี ีวิต และ เหมาะสมกับวฒั นธรรม และสงั คม 1. ผู้เรียนนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนรู้ไปปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิต โดยการแสดงบทบาทสมมติ สถานการณ์จาลอง แสดงละคร แต่งเพลง สังเกตปรากฏการณ์ หรือเหตกุ ารณ์ แลว้ มกี ารจดบันทึกผลการนาไปใช้ 2. ปฏบิ ตั ิการแก้ไขข้อบกพร่อง สรุป จดั ทารายงาน และรวบรวมไว้ในแฟม้ สะสมงานขั้นตอนที่ 4 การประเมนิ ผล เป็นการประเมิน ทบทวน แก้ไขข้อบกพร่อง ผลจากการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิตและสงั คม แล้วสรุปเป็นความรู้ใหม่ พร้อมกบั เผยแพร่ผลงาน 1. ครูและผูเ้ รยี นนาแฟม้ สะสมงาน และผลทไี่ ดจ้ ากการปฏบิ ตั มิ าสรุปเปน็ องคค์ วามรู้ ใชเ้ ป็นสารสนเทศเพ่ือนาเสนอต่อสาธารณชน โดยประเมินคุณภาพการเรียนรู้ ได้แก่ ประเมินผลการเรียนรู้ กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน แหล่งเรียนรู้ และสารสนเทศท่นี ามาใช้ 2. ครแู ละผู้เรียนร่วมกันสรา้ งเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพการเรยี นรู้ 3. ครู ผเู้ รียน และผ้เู ก่ียวข้องร่วมกันประเมิน พัฒนาการเรียนรใู้ หเ้ ปน็ ไปตามคุณภาพการเรียนรู้
84 แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกล่มุกลุ่ม ..................................................................................................................................................คาชแ้ี จง : ใหว้ ทิ ยากรทาเครอื่ งหมาย ในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเปน็ จริง พฤติกรรมทสี่ ังเกต คะแนน 3211. มสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น2. มคี วามกระตอื รือรน้ ในการทางาน3. รบั ผดิ ชอบในงานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย4. มีขั้นตอนในการทางานอย่างเปน็ ระบบ5. ใช้เวลาในการทางานอย่างเหมาะสมรวมเกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมท่ีทาเปน็ ประจา ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทีท่ าเป็นบางครง้ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทที่ านอ้ ยคร้งั ให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน 13 - 15 ระดับคุณภาพ ดี ช่วงคะแนน 8 - 12 ระดับคุณภาพ ปานกลาง ชว่ งคะแนน 5 - 7 ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ
85สมาชกิ ในกลุ่ม 31. 32. 1. 33. 2. 34. 3. 35. 4. 36. 5. 37. 6. 38. 7. 39. 8. 40. 9. 41. 10. 42. 11. 43. 12. 44. 13. 45. 14. 46. 15. 47. 16. 48. 17. 49. 18. 50. 19. 51. 20. 52. 21. 53. 22. 54. 23. 55. 24. 56. 25. 57. 26. 58. 27. 59. 28. 60. 29. 30.
86 บรรณานุกรมกรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรยี นสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรยี นรู้.สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสนิ ค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).วัฒนาพร ระงบั ทุกข.์ (2542). แผนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง (พมิ พค์ รงั้ ที่ 2) กรงุ เทพฯ: ม.ป.ท.เอกรินทร์ สมี่ หาศาล. (2545). กระบวนการจดั ทาหลกั สตู รสถานศกึ ษา แนวคดิ ส่ปู ฏิบัติ. กรงุ เทพฯ: บ๊คุ อยท.์เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล และคณะ. (2551). เร่ืองน่าร้สู ่กู ารใช้หลกั สูตรแกนกลางฯ 51.กรุงเทพ: โรงพิมพ์อักษรเจริญทศั น์.อาภรณ์ ใจเท่ยี ง. (2546). หลกั การสอน. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์.สุวทิ ย์ มูลคา. (2549). กลยุทธ์การสอนคิดสงั เคราะห.์ กรงุ เทพ: ภาพพมิ พ์.วิมลรัตน์ สุนทรโรจน.์ (2544). เอกสารประกอบการสอนวิชา การพัฒนาการเรยี นการสอน. มหาสารคาม: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน์. (2549). เอกสารประกอบการสอนนวัตกรรมเพื่อการเรยี นรู้. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, ภาควชิ าหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร.์ที่มา : http://www.ninetechno.com/a/other-article/580-google-drive.htmlทม่ี า : https://www.beartai.com/beartai-tips/95496ที่มา : http://www.pattanadownload.com/
87
88
89
90
91
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151