40 เซรามิกสแบงออกไดเปน 2 กลมุ ใหญ ๆ คือ 1. เซรามิกสแบบด้ังเดิม (Traditional ceramics) ไดแก ถวย จานชามสุขภัณฑ ลกู ถว ยไฟฟา กระเบอื้ งปูพื้นและบุผนงั กระเบือ้ งหลังคา วัสดุทนไฟ แผนรองเผาในเตาอิฐกอสราง กระถางตน ไม โอง กระจกและแกว ปนู ซีเมนต ยิปซัม่ ปูนปลาสเตอร เปน ตนซง่ึ ทาํมาจากวสั ดุหลกั คอื ดินดํา ดนิ ขาว ดนิ แดง หนิ ฟน มา ทราย หินปนู หนิ ผุ ควอตซ และแรอ น่ื ๆการแบงชนดิ ของเนือ้ ดินสําหรบั เซรามกิ สแ บบดงั้ เดิม 1.1 เซรามิกสแบบพอรซเลน (Porcelain) เปนผลิตภัณฑที่ตองเผาท่ีอุณหภูมิสูงมากกวา 1250 °c มีความแข็งแรงสูงมาก มีการดูดซึมนํ้าตํ่ามาก ยกตัวอยางเชน ลูกถวยไฟฟา,กระเบื้องแกรนติ , ผลิตภณั ฑบ นโตะอาหาร, สุขภัณฑ 1.2 เซรามิกสแบบสโตนแวร (Stone ware) เปนผลิตภัณฑท่ีใชอุณหภูมิเผาปานกลางประมาณ 1150 - 1200 °c มีความแข็งแรงตํ่ากวาพวก porcelain มีการดูดซึมนํ้าอยูในชว ง 3 - 5 % ตวั อยางเชน กระเบ้ืองปูพื้น, ผลติ ภัณฑบ นโตะอาหาร 1.3 เซรามิกสแบบโบนไชนา (Bone china) เปนผลิตภัณฑที่มีสวนผสมของเถากระดกู ทําใหผ ลติ ภณั ฑมีความโปรง แสง ความแข็งแรงปานกลาง การดูดซมึ นํ้าต่าํ 1.4 เซรามิกสแบบเอิรทเทนแวร (Earthen ware) เปนผลิตภัณฑท่ีใชอุณหภูมิในการเผาไมสูงมาก อยูในชวง 900 - 1100 °c มีความแข็งแรงตํ่า การดูดซึมนํ้าสูง 10 - 20%ตัวอยา งเชน กระเบื้องบุผนัง, กระเบื้องหลังคา, ตกุ ตาและของตกแตง กระถางเทอรร าคอตตา 2. เซรามิกสสมัยใหม (Fine ceramics) คือเซรามิกสท่ีตองใชวัตถุดิบที่ผานกระบวนการมาแลว เพ่ือใหมีความบริสุทธิ์สูงไดรับการควบคุมองคประกอบทางเคมีและโครงสรางจุลภาค (microstructure) อยางแมนยํา โดยเซรามิกสสมัยใหมอาจแบงไดเปน 3กลุมใหญ ๆ ไดแ ก เซรามกิ สสําหรบั งานโครงสรา ง, อิเลก็ โทรเซรามกิ ส และเซรามกิ สสําหรับงานทางดา นการแพทย 2.1 เซรามิกสสําหรับงานโครงสราง (Structural ceramics) ซ่ึงเปนกลุมที่ใชในงานท่ีตองการสมบัติทางกลที่ดีที่อุณหภูมิสูง ทนตอการสึกหรอและการกัดกรอนไดดี ทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางฉับพลันไดดี เปนฉนวนความรอน ตัวอยางเซรามิกสสําหรับงานโครงสราง เชน ซิลิคอนคารไบด (silicon carbide, SiC) สําหรับใชทําวัสดุสําหรับตัดแตงหัวพนไฟ (Burner) ชิ้นสว นเครอื่ งยนต เชน ปลอกนาํ วาลว (valve guide) และซลี ที่ทนแรงดนั สงู
41(Mechanical seal) ซลิ คิ อนไนไตรด (silicon nitride, Si3N4) สาํ หรบั ใชท าํ ชิ้นสวนเครื่องยนตกลไก เชน ลูกปน (bearing ball) วาลว (valve) สลักลูกสูบ (piston pin) เบรคสําหรับรถยนตทเ่ี ปน Exotic car และ ใบพัดของเทอรโบชารจเจอร (turbocharger rotor blade) และอะลูมินัมไนไตรด (Aluminum Nitride, AlN) สําหรับใชทําแผนรองวงจรสําหรับอุปกรณอิเล็กทรอนกิ ส เปนตน กรรไกรและมดี เซรามิกสที่ทําดว ยเซอรโ คเนยี (ZrO2) ซึง่ เปน มีดเซรามกิ สท่มี คี วามคมมาก และไมต องลบั เน่อื งจากเซอรโคเนยี มคี วามแข็งสูงและไมสึกกรอนงายจึงไมทําใหม ีดท่ือ เซรามิกสสําหรับงานโครงสรางอีกตัวอยางหน่ึงคือผิวของยานกระสวยอวกาศ(space shuttle) ในตอนที่ยานเขามาจากอวกาศเขาสูบรรยากาศของโลกน้ันจะเกิดการเสียดสีกับบรรยากาศของโลกทําใหมีอุณหภูมิสูงมากซึ่งมากกวา 2000 °c โครงสรางลําตัวของยานภายในนั้นจริงๆ แลวทําจากโลหะผสมซ่ึงทนความรอนไดไมเกิน 800 °c แตผิวของยานน้ันปูดวยแผน กระเบ้อื งเซรามิกสเล็ก ๆ ซึ่งทนความรอ นสูงจํานวนมาก ตวั อยางวัสดุที่ใชทาํ แผนเซรามิกส ดังกลาว เชน เสนใยซิลิกาอะมอรฟสความบริสุทธิ์สูงมาก (very-high-purityamorphous silica fibers) และแผน กระเบือ้ งเลก็ ๆ ทที่ าํ ดว ยเซอรโ คเนีย ทําใหทนอุณหภูมิสูงไดและอีกตวั อยา งหนึ่งที่อยูใกลตัว สาํ หรับผูทใ่ี ชร ถยนต คอื ทที่ อไอเสยี รถยนตจ ะมีเซรามกิ สชนิดหนง่ึ ท่ีเรียกวา แคตาไลตกิ คอนเวอรเ ตอร (Catalytic converter) ชว ยทําหนาท่ีเปล่ียนกาซตาง ๆ ท่ีเกิดจากกระบวนการเผาไหมของเครื่องยนตท่ีเปนพิษตอมนุษยใหเปนสารท่ีไมเปนพิษเชน เปลย่ี นคารบ อนมอนออกไซด (CO) ใหอ ยูในรูปของคารบ อนไดออกไซด (CO2) เปนตน วัสดุที่ใชทําแคตาไลติกคอนเวอรเตอรจะตองมีคุณสมบัติท่ีสามารถทนการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิโดยเฉียบพลันไดเปนอยางดี ซ่ึงหมายถึงจะตองมีคาสัมประสิทธ์ิการขยายตัว เนื่องจากความรอนอยูในเกณฑที่ต่ํามาก ซึ่งวัสดุท่ีนิยมนํามาใชก็คือ คอรเดียไรทนนั่ เอง โดยแคตาไลติกคอนเวอรเตอรน น้ั จะใชค อรเดียไรทมาข้นึ รปู โดยการ Extrude เปนรังผ้ึง(Honey comb) เพ่ือใหม พี ืน้ ทีผ่ ิวในการแลกเปลย่ี นกาซไดดี 2.2 อิเลก็ โทรเซรามกิ ส (Electro ceramics) ซง่ึ เปน กลุมท่ีใชสมบตั ิทางไฟฟาอิเลก็ ทรอนกิ ส แมเ หลก็ แสง เปน หลัก อิเล็กโทรเซรามกิ สน ั้นเปน กลมุ เซรามกิ สท ่มี ีมากมายหลายชนดิ และ ครอบคลุมสมบัติดานตา ง ๆ หลายอยางไดแ ก ไฟฟา แมเ หล็ก แสง และความรอน เปน ตน ตัวอยางเชน ไดอิเลก็ ทริกเซรามกิ ส (dielectric ceramics) เชน แบเรียมไททาเนต(barium titanate, BaTiO3) สําหรบั ใชทาํ ตัวเกบ็ ประจไุ ฟฟา เพียโซอิเลคทริคเซรามิค
42(piezoelectric ceramics) ซึง่ เปน เซรามิกสที่สามารถเปล่ียนรูปพลงั งานกลพลงั งานไฟฟากลับไปมาได (“piezo” มาจากภาษากรีก แปลวา กด (press)) วสั ดนุ ี้เมอ่ื ใหแรงกลเขา ไปจะสามารถเปลี่ยนแรงกลเปน พลังงานไฟฟา ไดหรือในทางกลบั กันสามารถเปลี่ยนพลงั งานไฟฟาใหเ ปน พลงั งานกลได ตัวอยางเชน เลดเซอรโคเนตไททาเนต (lead zirconate titanate,Pb(Zr,Ti)O3) สาํ หรับใชทําทรานดิวเซอร (transducer) ชดุ โหลดเซลสส าํ หรับเครอ่ื งชง่ั ขนาดใหญ ตวั จดุ เตาแกส (gas ignitor) หรือท่ีใกลต ัวเราก็คือการดวันเกดิ ทีเ่ ม่ือเปดแลว มเี สียงเพลงดงั ขึ้นกอ็ าศยั หลกั การของเพียโซอเิ ลคทรคิ นั่นเอง นอกจากนอี้ ิเลก็ โทรเซรามกิ สยงั มเี ซรามกิ สแมเ หล็ก (magnetic ceramics) เชน เฟอรไรต (ferrite, Fe3O4) ซ่ึงใชเปน วสั ดุบันทึกขอ มลูเปน ตน 2.3 เซรามกิ สสําหรับงานทางดา นการแพทย พวกกระดูกเทียม ฟนปลอม ขอตอเทยี ม ตวั อยา งเชน วัสดทุ ี่เรียกวา ไฮดรอกซีอาพาไทต ซ่งึ ทํามาจากกระดกู วัว กระดกู ควายท่ีผา นการเผาแบบ Calcine เพือ่ ไลสารอนิ ทรียภ ายในและนาํ มาขน้ึ รปู เปน ช้นิ กระดกู และนําไปเผาแบบ Sinter อีกครง้ั หน่ึง
43เร่ืองท่ี 2 มลพษิ จากการผลติ และการใชงาน มลพิษจากการผลติ อุตสาหกรรมการผลติ โลหะ พอลิเมอร และเซรามกิ สส จดั เปน อตุ สาหกรรมขั้นพนื้ ฐานของประเทศไทยท่ีมบี ทบาทสําคญั ของประเทศ เนอื่ งจากโลหะ พอลิเมอร และเซรามกิ ส เปนวตั ถดุ ิบพน้ื ฐานสาํ หรบั อตุ สาหกรรม เชน อตุ สาหกรรมกอ สราง อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟา อตุ สาหกรรมการผลติ เครอ่ื งใชใ นครัวเรอื น เปนตน กระบวนการผลติ ของอุตสาหกรรมเปนแหลง กาํ เนิดมลพษิ ทส่ี าํ คัญ ทงั้ มลพษิทางอากาศ กากของเสียและน้ําเสีย ซึ่งสามารถกอใหเกิดผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอมได หากมกี ารจดั การไมเ หมาะสม 2.1 สาเหตุท่ีทําใหเ กิดมลพิษจากการผลติ 1) กระบวนการหลอมและเกิดมลพิษ กระบวนการหลอม เปนการนาํ วตั ถดุ ิบทงั้ ในรปู วัสดุใหมและเศษวสั ดุทีใ่ ชแลว มาใหค วามรอนเพ่อื ใหหลอมละลาย และทาํ การปรับปรุงคุณภาพดวยสารตาง ๆ มลพษิหลกั ท่ีเกิดข้นึ ในกระบวนการหลอม คอื ฝุนควัน ไอโลหะ และกา ซพษิ ตาง ๆ 2) กระบวนการหลอและเกิดมลพิษ กระบวนการหลอ สามารถทําได 2 ลักษณะ คอื การหลอ โดยใชเคร่อื งหลอแบบตอเนอ่ื ง และการหลอในแมแ บบชนดิ ตาง ๆ ในการหลอชิน้ งานในแมแบบ วสั ดุเหลวจะถกู เทใสในแมแ บบ แลว ปลอยใหแขง็ ตวั ระยะหนึง่ จากนน้ั รอ้ื แบบแยกออกเอาชน้ิ งานออกแบบหลอ แลว เอาไปทาํ ความสะอาดตกแตงชนิ้ งานใหไ ดค ุณภาพตามตองการ มลพษิ หลัก ๆ ที่เกิดข้ึนในกระบวนการหลอ ท้งั สองลักษณะจะเกดิ ข้ึนในระหวา งการหลอ แตส ําหรับการหลอ โลหะบางชนิดจะเกิดมลพิษในระหวา งการทําแมแ บบไสแ บบและการนาํ ชนิ้ งานออกจากแบบหลอ ซึ่งควรมกี ารจดั การอยางเหมาะสมเชน เดียวกัน
44 3) กระบวนการหลอ และเกิดมลพษิ การรดี มกั ใชอตุ สาหกรรมโลหะ เปน การนําแทง โลหะผานการรดี ลดขนาดท่ีวางตอกนั หลายชุดจนไดขนาดตามตองการ ซ่งึ การรดี โลหะมที ้ังการรดี รอนและรดี เยน็ ข้นึ อยูกบั ผลิตภณั ฑท ต่ี อ งการ มลพษิ ท่เี กิดข้นึ โดยท่ัวไปในกระบวนการรีดรอนคอื ฝุน ควนั ไอโลหะ กาซพิษ และนาํ้ เสยี 4) กระบวนการสนับสนนุ การผลติ และเกิดมลพิษ ระบบสนับสนนุ การผลติ ทีส่ ําคญั ระบบหน่งึ คือ ระบบหลอเย็น ซ่ึงหากระบบหลอเย็นเกิดขัดของ กระบวนการผลิตบางสวนอาจหยุดการผลิตลง ซึ่งทําใหเกิดความเสียหายกับโรงงานได มลพษิ ทีเ่ กิดข้นึ โดยทวั่ ไปในกระบวนสนับสนุนการผลิตคือมลพิษทางอากาศและนํา้ เสียจากนา้ํ หลอเย็น ซึ่งอาจใชเพียงครง้ั เดียวแลว ระบายทง้ิ 2.2 สาเหตุทท่ี ําใหเ กิดมลพษิ จากการใชง าน 1) จาํ นวนประชากรท่เี พ่ิมมากขึน้ เมื่อมีประชากรเพิม่ มากขึน้ ความตองการดา นตาง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ งกบั วถิ ีการดาํ เนนิ ชีวติ ประจําวัน ก็มากขนึ้ ไมวา จะอยใู นรูปของสินคาเครื่องใชไฟฟา เครือ่ งใชใ นครวั เรือน ดงั นนั้ จาํ นวนวัสดทุ ีใ่ ชแลวจึงเพมิ่ ทวีคณู มากขนึ้ เรอื่ ย ๆ 2) คนทั่วไปไมม ีความรู ความเขาใจ ในการจัดการกบั เศษวสั ดุทีใ่ ชแ ลวสวนใหญมกั จดั การกบั เศษวสั ดุดว ยวธิ ีการเผาซึ่งเปน สาเหตใุ หเกิดมลพิษทางอากาศ 3) ความมกั งายและขาดจิตสาํ นึก ไมคาํ นงึ ถงึ ผลเสียทีจ่ ะเกดิ ข้นึ เชน การทงิ้เศษวสั ดใุ ชแ ลวลงแมน ้าํ ลาํ คลอง เปน สาเหตใุ หเกิดนํ้าเสีย 4) การผลติ หรือใชส ่งิ ของมากเกนิ ความจําเปน เชน การผลิตสินคาท่มี กี ระดาษหรือพลาสติกหุมหลายชน้ั การซ้อื สินคาโดยหอแยกและใสถงุ พลาสติกหลายถุง ทําใหเศษวัสดใุ ชแลวมีปริมาณมากข้นึ
45เรอ่ื งที่ 3 ผลกระทบจากการใชวสั ดุตอ สิ่งมีชวี ิตและสงิ่ แวดลอ ม ในปจจุบันเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทและ ความจําเปนตอการดํารงชีวิตของมนุษยเ ปนอยางมาก ทง้ั ภายในบาน และภายนอกบา น เพื่ออํานวยความสะดวกสบายในชวี ิตประจาํ วนั เชน การทํางานบา น การคมนาคม การสื่อสาร การแพทย การเกษตร และการอตุ สาหกรรม เปนตน ซ่ึงความเจริญกาวหนาอยางตอเนื่องของเทคโนโลยีชวยพัฒนาใหเกิดประโยชนสูงสดุ แกมนษุ ย อยา งไรก็ตาม แมเทคโนโลยจี ะเขา มามบี ทบาทตอ มนุษย แตหลายครั้งเทคโนโลยเี หลานั้นกส็ ง ผลกระทบตอชีวิตและสิ่งแวดลอ มในดานตาง ๆ ไดแก 3.1 ดา นสุขภาพ มลพิษในอากาศ (air pollution) หมายถึง ภาวะของอากาศท่ีมีสารมลพิษเจือปนอยใู นปริมาณ และเปน ระยะเวลา ทีจ่ ะทาํ ใหเ กดิ ผลเสยี ตอสขุ ภาพอนามัยของมนษุ ยสารมลพษิ ดงั กลาว อาจเกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ หรอื เกิดจากการกระทําของมนุษย อาจอยูในรูปของกาซ หยดของเหลว หรืออนุภาคของแข็งก็ได สารมลพิษในอากาศท่ีสําคัญ และมีผลกระทบตอสุขภาพอนามัย ไดแก ฝุนละออง สารตะกั่ว กาซคารบอนมอนอกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซออกไซดของไนโตรเจน กาซโอโซน และสารอินทรียร ะเหยงาย เปนตน มลพิษในอากาศทีม่ ีผลกระทบตอ สุขภาพ 1. ฝุนละออง เปนมลพษิ ในอากาศทเี่ ปนปญ หาหลักในกรงุ เทพมหานคร และชุมชนขนาดใหญ จากการ วิจัยพบวาฝุนละอองท่ีกอใหเกิดปญหาตอสุขภาพ เปนฝุนละอองขนาดเล็ก ที่มีขนาดไมเกิน 10 ไมครอน โดยฝุนละอองขนาดเล็กนี้ สามารถเขาไปในระบบทางเดินหายใจผานโพรงจมูกเขาไปถึงถุงลมในปอด ทําใหเกิดการอักเสบ และการระคายเคืองเรื้อรัง และฝุนละอองจะมีพิษมากขึ้น หากฝุนละอองน้ันเกิดจากการรวมตัวของกาซบางชนิดเชน ซัลเฟอรไดออกไซด ออกไซดของไนโตรเจนเขาไปในอนุภาคของฝุน โดยกอใหเกิดการแพและระคายเคืองผิวหนัง ทางเดินหายใจ และดวงตาได 2. สารตะกั่ว มฤี ทธิ์ทําลายระบบประสาท และมผี ลตอกระบวนการรบั รูและการพัฒนาสตปิ ญญาของมนษุ ย
46 3. กาซคารบอนมอนอกไซด มีความสามารถในการละลายในเลือดไดดีกวาออกซิเจนถงึ 200 - 250 เทา เม่อื หายใจเอากาซชนดิ น้ีเขาไป จะไปแยง จับกับฮโี มโกลบนิในเลือด เกดิ เปน คารบอกซฮี โี มโกลบนิ ทําใหค วามสามารถของเลอื ดในการเปนตัวนําออกซเิ จนจากปอดไปยังเนือ้ เยอ่ื ตาง ๆ ลดลง ทําใหเ ลอื ดขาดออกซิเจนไปเลย้ี งเซลลตา ง ๆ ในรา งกายและหวั ใจทํางานหนักขน้ึ หากมนุษย ไดรับกา ซน้ใี นปริมาณมาก จะทําใหรางกายเกิดภาวะขาดออกซิเจน และจะเปนอันตรายถงึ แกช วี ติ ได 4. กาซซัลเฟอรไดออกไซด มีฤทธ์ิกัดกรอน ทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง และเยื่อบุตา ทําใหเกิดการแสบจมูก, หลอดลม, ผิวหนัง และตาเมื่อหายใจเอากาซชนิดนี้เขาไป จะทําใหกาซละลายในของเหลวในระบบทางเดินหายใจ เกิดเปน กรดซัลฟว ริก ซ่งึ จะกัดกรอ นเย่ือบุ และอวัยวะในระบบทางเดินหายใจ หากไดรับเปน เวลานาน ๆ จะทาํ ใหเปนโรคจมกู และหลอดลมอักเสบเร้ือรังได 5. กาซออกไซดของไนโตรเจน เนื่องจากจมูกเปนสวนตนของระบบทางเดินหายใจ เมื่อผูป ว ยโรคจมูกอักเสบภมู ิแพ มีอาการคดั จมกู จะทําใหเ กดิ ปญ หาการอดุ ก้นั ทางเดินหายใจขณะหลับได อาจเปนมากถึงเกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับตามมาได นอกจากนั้นการท่ีลมว่ิงผา นชองจมกู ท่แี คบ อาจทาํ ใหมเี สยี งดังได 6. กาซโอโซน มฤี ทธ์ิกัดกรอน กอใหเกิดการระคายเคืองตา และเย่ือบุระบบทางเดนิ หายใจ เกิดการอักเสบของเน้อื เย่อื จมูก และปอด ทาํ ใหค วามสามารถของปอดในการรับกาซออกซเิ จนลดลง อาจเกดิ โรคหดื โดยเฉพาะในเดก็ และมีอาการเหนือ่ ยงาย และเรว็ในคนชรา และคนที่เปนโรคปอดเรอื้ รัง หรือโรคหืด จะมีอาการมากข้นึ กวา เดมิ 7. สารอนิ ทรียระเหยงาย มผี ลโดยตรงตอ ระบบทางเดนิ หายใจ โดยทําใหเ กิดการอักเสบ และการระคายเคืองเรอ้ื รัง นอกจากนี้สารบางชนดิ เปน สารกอใหเ กิดการกลายพนั ธุและเสีย่ งตอการกอมะเรง็ เชน อะโรเมตกิ ไฮโดรคารบอน (polycyclic aromatic hydrocarbons,PAHs)เบนซีนและไดออกซิน เกดิ จากการเผาไหมท่ไี มสมบูรณ
47 มลพษิ ในอากาศกับโรคภูมแิ พข องระบบทางเดนิ หายใจ โรคภูมิแพ เปนโรคท่ีพบบอย โดยมีอุบัติการณรอยละ 30-40 ท่ัวโลก ซ่ึงมีผูปวยถึง 400 ลา นคนท่เี ปน โรคจมูกอักเสบภูมิแพ หรือโรคแพอากาศ และมีผูปวยถึง 300 ลานคนที่เปนโรคหืด อุบัติการณของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ ในประเทศไทยพบวา มีผูปวยผูใหญถึงรอยละ 20 และมีผูปวยเด็กถึงรอยละ 40 ขณะท่ีอุบัติการณของโรคหืดมีประมาณรอยละ 10ดังนั้นจะมีผูปวย 10 - 15 ลานคนในประเทศไทย ที่ปวยเปนโรคจมูกอักเสบภูมิแพ และจะมีผูปว ย 3 - 5 ลา นคน ทเ่ี ปนโรคหืด อุบัติการณของโรคภูมแิ พทง้ั 2 ชนิดนน้ี ีม้ แี นวโนม สงู ขน้ึ เรือ่ ย ๆ โดยเฉพาะในเมืองใหญ ที่มีมลพิษในอากาศเพิ่มขึ้น เช่ือวาการที่มีปริมาณของมลพิษ และสารระคายเคืองในอากาศมากข้ึน และประชากรสัมผัสกับสารดังกลาวในอากาศมากข้ึน ทําใหพบผูปวยเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากเยอื่ บจุ มกู ของผูป วยโรคจมกู อกั เสบภมู แิ พ และเย่ือบหุ ลอดลมของผูปวยโรคหืดมีความไวตอการกระตุนมากผิดปกติ ทั้งสารกอภูมิแพ และสารที่ไมใชสารกอภูมิแพ มลพิษในอากาศทั้ง 7 ชนิดดังกลาว จึงสามารถกระตุนใหผูปวยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ และโรคหืดมีอาการมากขนึ้ ได 3.2 ผลกระทบตอระบบนิเวศ ขยะเปน สาเหตุสําคญั ทท่ี ําใหเ กิดมลพิษของนา้ํ มลพิษของดิน และมลพษิของอากาศ เนื่องจากขยะสวนท่ีขาดการเก็บรวบรวม หรอื ไมน าํ มากําจัดใหถ กู วิธี ปลอ ยทิง้ คางไวใ นพ้นื ทขี่ องชุมชน เม่ือมีฝนตกลงมาจะไหลชะนาํ ความสกปรก เช้ือโรค สารพิษจากขยะไหลลงสแู หลงนาํ้ ทาํ ใหแ หลงน้ําเกิดเนาเสียได หากสารอันตรายซมึ หรือไหลลงสพู นื้ ดิน หรือแหลงน้าํ จะไปสะสมในหว งโซอาหาร เปนอันตรายตอสตั วนาํ้ และพืชผัก เม่ือเรานาํ ไปบรโิ ภคจะไดรับสารนั้นเขาสูร า งกายเหมือนเรากินยาพิษเขา ไปอยางชา ๆ 3.2.1 มลพิษดานสิง่ แวดลอม ถามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจงทําใหเกิดควันมีสารพิษทําใหคณุ ภาพของอากาศเสีย สวนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น อาจเกิดขึ้นไดท้ังจากมลสารที่มีอยูในขยะและพวกแกสหรือไอระเหย ที่สําคัญก็คือ กลิ่นเหม็นท่ีเกิดจากการเนาเปอย และสลายตวั ของอนิ ทรียส ารเปนสวนใหญ
48 3.2.2 ระบบนิเวศถูกทําลาย มูลฝอยอนั ตรายบางอยา ง เชน ไฟฉายหลอดไฟ ซ่ึงมสี ารโลหะหนกับรรจใุ นผลติ ภัณฑ หากปนเปอ นสูด นิ และน้ํา จะสง ผลเสียตอระบบนิเวศ และหวงโซอ าหารซงึ่ เปนอันตรายตอ มนษุ ยแ ละสง่ิ แวดลอ ม 3.2.3 ปญหาดนิ เสื่อมสภาพ ขยะมูลฝอยและของเสียตาง ๆ ถาเราทิ้งลงในดินขยะสวนใหญจะสลายตัวใหส ารประกอบ อนิ ทรียแ ละอนนิ ทรยี ม ากมายหลายชนิดดว ยกัน แตก ็มีขยะบางชนิดท่ีสลายตัวไดยาก เชน ผาฝาย หนัง พลาสติก โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยูเปนจํานวนมากแลวละลายไปตามน้าํ สะสมอยใู นบริเวณใกลเ คยี ง การท้ิงของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนแหลง ผลติ ของเสียทส่ี ําคัญยง่ิ โดยเฉพาะของเสยี จากโรงงานทมี่ ีโลหะหนกั ปะปนทําใหดินบริเวณนั้นมีโลหะหนักสะสมอยูมาก โลหะหนักท่ีสําคัญ ไดแก ตะกั่ว ปรอท และแคดเมียม ซ่ึงจะมีผลกระทบมากหรือนอยข้ึนอยูกับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถาขยะมีซากถานไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนตมาก ก็จะสงผลตอ ปรมิ าณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะก่ัว ในดินมาก ซ่ึงจะสงผลเสียตอระบบนิเวศนในดิน และสารอินทรียในขยะมูลฝอยเมือ่ มกี ารยอ ยสลาย จะทําใหเกดิ สภาพความเปนกรดในดนิ และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะ ทาํ ใหน ้าํ เสยี จากกองขยะมลู ฝอยไหลปนเปอนดนิ บริเวณรอบ ๆ ทําใหเกิดมลพษิ ของดินได การปนเปอ นของดิน ยังเกิดจากการนํามูลฝอยไปฝงกลบ หรือการยักยอกนําไปทง้ิ ทาํ ใหของเสียอันตรายปนเปอนในดินนอกจากน้ันการเล้ียงสัตวเปนจํานวนมาก ก็สงผลตอ สภาพของดนิ เพราะสิง่ ขับถายของสัตวท ีน่ ํามากองทับถมไว ทําใหเกิดจุลินทรียยอยสลายไดอนมุ ลู ของไนเตรตและอนมุ ูลไนไตรต ถา อนุมูลดังกลาวนี้สะสมอยูจํานวนมากในดิน บริเวณน้ันจะเกิดเปนพิษได ซ่ึงเปนอันตรายตอมนุษยโดยทางออม โดยไดรับเขาไปในรูปของนํ้าดื่มที่มีสารพิษเจือปน โดยการรับประทานอาหาร พืชผักท่ีปลูกในดินท่ีมีสารพิษสะสมอยู และยังสง ผลกระทบตอคุณภาพดนิ 3.2.4 ปญ หามลพษิ ทางนํา้ขยะมลู ฝอยอินทรีย จาํ นวนมากถาถกู ท้งิ ลงสูแมนํา้ ลําคลอง จะถูกจุลินทรียในน้ํายอยสลายโดยใชอ อกซเิ จน ทําใหออกซเิ จนในน้าํ ลดลง และสง ผลใหเกดิ นํา้ เนา เสยี
49 3.3 ผลเสียหายดานเศรษฐกิจและสังคม 3.3.1 เกิดความเสียหายตอทรัพยส นิ สารอันตรายบางชนดิ นอกจากทําใหเกิดโรค ตองเสียคาใชจายในการรักษาพยาบาลแลว อาจทําใหเกิดไฟไหม เกิดการกัดกรอนเสียหายของวัสดุ เกิดความเส่ือมโทรมของสงิ่ แวดลอม ทําใหตองเสยี คา ใชจ า ยในการบํารุงรกั ษาสภาพแวดลอ มและทรพั ยสนิอีกดว ย 3.3.2 เกิดการสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ขยะมลู ฝอยปริมาณมาก ๆ ยอ มตอ งสน้ิ เปลืองงบประมาณในการจดั การเพอ่ื ใหไ ดประสทิ ธภิ าพ นอกจากนีผ้ ลกระทบจากขยะมลู ฝอยไมว าจะเปนนาํ้ เสยี อากาศเสยี ดนิ ปนเปอ นเหลาน้ียอมสง ผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ 3.3.3 ทําใหข าดความสงางาม การเก็บขนและกําจัดที่ดีจะชวยใหชุมชนเกิดความสวยงาม มีความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยอันสอแสดงถึงความเจรญิ และวฒั นธรรมของชมุ ชน ฉะนั้นหากเก็บขนไมดีไมหมด กําจัดไมดี ยอมกอใหเกิดความไมนาดู ขาดความสวยงาม บานเมืองสกปรก และความไมเ ปน ระเบยี บ สงผลกระทบตออุตสาหกรรมการทอ งเท่ียว กิจกรรมทา ยหนวยที่ 2 หลงั จากท่ีผูเรยี นศึกษาเอกสารชดุ การเรียนหนว ยท่ี 2 จบแลว ใหศึกษาคนควาเพม่ิ เตมิ จากแหลง เรียนรตู าง ๆ แลว ทํากจิ กรรมการเรยี นหนว ยที่ 2 ในสมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู แลวจัดสงตามท่ีครผู ูสอนกาํ หนด
50 หนวยท่ี 3 การคดั แยกและการรไี ซเคิลวสั ดุสาระสาํ คญั การคัดแยกวัสดุที่ใชแลวเปนวิธีการลดปริมาณวัสดุที่ใชแลวที่เกิดข้ึนจากตนทางไดแก ครัวเรือน สถานประกอบการตา ง ๆ กอนท้ิง ในการจัดการวัสดุท่ีใชแลว จําเปนตองจัดใหมรี ะบบการคดั แยกวสั ดทุ ใี่ ชแลว ประเภทตา ง ๆ ตามแตลักษณะองคป ระกอบโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเพ่ือนํากลับไปใชประโยชนใหม โดยจัดวางภาชนะใหเหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมวัสดุที่ใชแลวอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับระบบการคัดแยกวัสดุท่ีใชแลวเพอื่ เปนการสะดวกแกผเู กบ็ ขนและสามารถนาํ วัสดุท่ใี ชแ ลว บางชนดิ ไปขายเพื่อเพ่ิมรายไดใหกับตนเองและครอบครวั รวมท้ังงายตอ การนําไปกาํ จดั หลัก 3R เปนหลักการจัดการเศษวัสดุ เพ่ือลดปริมาณเศษวัสดุ ไดแก รีดิวซ (Reduce) คือ การใชนอยหรือลดการใช รียูส (Reuse) คือการใชซาํ้ และ รีไซเคิล (Recycle) คือ การผลิตใชใหม ใชเปนแนวทางปฏิบัติในการลดปริมาณเศษวสั ดุในครัวเรอื น โรงเรยี น และชุมชนตวั ช้ีวดั 1. อธิบายถงึ การคัดแยกวัสดไุ ด 2. นําความรูเรื่องการคดั แยกวัสดไุ ปใชไ ด 3. อธบิ ายหลัก 3R ในการจดั การวัสดุและแนวทางดําเนนิ การที่เหมาะสมได 4. นําความรูเ ร่ืองหลัก 3R ไปใชใ นการจดั การวัสดุได 5. อธบิ ายวธิ ีการรไี ซเคิลวัสดุแตล ะประเภทได 6. นาํ ความรูเรื่องการรไี ซเคลิ วสั ดแุ ตละประเภทไปใชไดขอบขา ยเน้อื หา 1. การคดั แยกวัสดุทใ่ี ชแ ลว 2. การจดั การวสั ดดุ วยการรไี ซเคลิ
51 หนวยท่ี 3 การคดั แยกและการรีไซเคิลเร่ืองที่ 1 การคัดแยกวัสดุท่ีใชแลว ในการจดั การวสั ดุที่ใชแ ลวแบบครบวงจร จาํ เปน ตองจดั ใหมรี ะบบการคัดแยกวสั ดุที่ใชแลวประเภทตาง ๆ ตามแตลักษณะองคประกอบโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนํากลับไปใชประโยชนใหม สามารถดําเนินการไดตั้งแตแหลงกําเนิด โดยจัดวางภาชนะใหเหมาะสมตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมวัสดุท่ีใชแลวอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับระบบการคัดแยกวัสดุท่ีใชแลว พรอมทั้งพิจารณาความจําเปนของสถานีขนถายวัสดุที่ใชแลวและระบบขนสง วัสดทุ ใ่ี ชแ ลว ไปกําจัดตอ ไป กอนที่จะนําเศษวัสดุกลับมาใชประโยชน ตองมีการคัดแยกประเภทวัสดุที่ใชแลวภายในบาน เพื่อเปนการสะดวกแกผูเก็บขนและสามารถนําเศษวัสดุบางชนิดไปขายเพ่ือเพ่ิมรายไดใหก บั ตนเองและครอบครัว รวมทงั้ งา ยตอ การนาํ ไปกาํ จัดอีกดว ย โดยสามารถทาํ ได ดังน้ี วิธีดําเนินการคดั แยก การคดั แยกเศษวสั ดใุ ชแ ลว โดยมแี นวทางปฏบิ ัติดังน้ี คอื 1. ใชส เี ปน ตัวกําหนดการแยกเศษวสั ดุใชแ ลวแตละชนิด 2. มภี าชนะสําหรบั บรรจุขยะแตล ะชนดิ ตามสีท่กี าํ หนด และมีเชือกผูกปากถุงเพอื่ ความสวยงามและเรียบรอย 3. มถี งั รองรบั ถุงใสเปนสีเดียวกนั และแข็งแรงทนทาน ทําความสะอาดงาย 4. ออกแบบถังขยะใหนา ใชเสมือนเปน เฟอรน ิเจอรอยา งหนึ่งภายในบานใหใ ครเห็นก็อยากจะไดเ ปน เจาของถงั ขยะน้ี 5. ใหผ ูรวมคัดแยกขยะไดมีสวนไดรับผลประโยชนจ ากการคัดแยกขยะ 6. จดั หาถงุ และภาชนะรองรบั ใหส มาชิกไดใ ชโ ดยทั่วถึงฟรี โดยการใชเงินกองทนุ หรอื งบประมาณสนับสนุน และจะหักจากการขายวัสดุรีไซเคลิ เชน กระดาษพลาสติก แกว ฯลฯ
52 7. ใหผ รู ว มคัดแยกขยะไดเ ปน ที่ยกยองจากสังคม เชน ปา ยแสดงการเปนสมาชกิ ของการคดั แยกขยะ 8. ใหชุมชน หมบู าน ทใี่ หความรว มมอื อยา งดี ไดร ับการยกยอง และไดร ับการเชิดชูเกียรตจิ ากสงั คม ภาชนะรองรับวสั ดทุ ใ่ี ชแลว เพื่อใหการจัดเกบ็ รวบรวมวสั ดทุ ีใ่ ชแ ลว เปนไปอยา งมีประสิทธิภาพและลดการปนเปอนของวสั ดุทใ่ี ชแ ลวทีม่ ศี ักยภาพในการนํากลับมาใชประโยชนใหม จะตองมีการต้ังจุดรวบรวมวัสดุท่ีใชแลว และใหมีการแบงแยกประเภทของถังรองรับวัสดุที่ใชแลวตามสีตาง ๆโดยมีถุงบรรจุภายในถังเพอ่ื สะดวกและไมตกหลน หรอื แพรก ระจาย ดงั นี้ 1. ถงั ขยะ 1. สีเขียว รองรับผัก ผลไม เศษอาหาร ใบไม ที่เนาเสียและยอยสลายไดสามารถ นาํ มาหมักทาํ ปุยได มสี ญั ลักษณท่ถี งั เปน รปู กางปลาหรือเศษอาหาร 2. สีเหลือง รองรับเศษวัสดุที่สามารถนํามารีไซเคิลหรือขายได เชน แกวกระดาษ พลาสติก โลหะ มสี ัญลกั ษณเปนรูปคนทิง้ กระดาษลงถัง 3. สีแดง หรือสีเทาฝาสีสม รองรับเศษวัสดุที่มีอันตรายตอส่ิงมีชีวิต และส่ิงแวดลอม เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ขวดยา ถานไฟฉาย กระปองสีสเปรย กระปองยาฆาแมลง ภาชนะบรรจสุ ารอันตรายตาง ๆ 4. สีฟาหรือสีนํ้าเงิน รองรับเศษวัสดุทั่วไป คือ วัสดุที่ใชแลวประเภทอ่ืนนอกจากเศษวัสดุยอยสลาย เศษวัสดุรีไซเคิล และเศษวัสดุอันตราย เศษวัสดุท่ัวไปจะมีลักษณะท่ียอยสลายยาก ไมคุมคาสําหรับการนํากลับไปใชประโยชนใหม เชน พลาสติกหอลูกอม ซองบะหมส่ี าํ เร็จรปู ถงุ พลาสตกิ โฟมและฟอลยที่เปอ นอาหาร
53 ภาพที่ 3.1 ภาพถังขยะประเภทตางๆ ที่มา : http://www.promma.ac.th 2. เกณฑมาตรฐานภาชนะรองรับวสั ดุท่ีใชแ ลว 1. ควรมสี ดั สว นของถังวัสดุที่ใชแลว จากพลาสตกิ ทใี่ ชแ ลวไมตา่ํ กวารอ ยละ 50 โดยนํ้าหนกั 2. ไมมีสว นประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจาํ เปนควรใชสารเติมแตง ในปริมาณทีน่ อ ยและไมอยูในเกณฑที่เปนอันตรายตอ ผบู ริโภค 3. มีความทนทาน แขง็ แรงตามมาตรฐานสากล 4. มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอตอปริมาณวัสดุท่ีใชแลว สะดวกตอการถา ยเทวัสดทุ ีใ่ ชแลว และการทาํ ความสะอาด 5. สามารถปองกัน แมลงวัน หนู แมว สุนัข และสัตวอื่น ๆ มิใหสัมผัสหรอื คุยเขย่ี วัสดทุ ใี่ ชแลวได 3. การแปรสภาพวัสดทุ ี่ใชแลว ในการจัดการวัสดุทใี่ ชแ ลว การแปรสภาพวัสดุท่ีใชแลว คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพลักษณะทางกายภาพเพ่ือลดปริมาณเปลี่ยนรูปราง โดยวิธีคัดแยกเอาวัสดุท่ีสามารถหมุนเวียนใชประโยชนไดออกมา วิธีการบดใหมีขนาดเล็กลง และวิธีอัดเปนกอนเพื่อลดปริมาตรของวัสดุที่ใชแลวไดรอยละ 20 - 75 ของปริมาตรเดิม ท้ังน้ีข้ึนอยูกับประสิทธิภาพของเครื่องมือและลักษณะของวัสดทุ ่ีใชแลว ตลอดจนใชวิธีการหอหุมหรอื การผูกรัดกอนวัสดุท่ีใชแลวใหเปนระเบียบมากยิ่งข้ึนผลที่ไดร บั จากการแปรสภาพมลู ฝอยนี้ จะชวยใหการเก็บรวบรวม ขนถาย และขนสงไดสะดวกขึน้ สามารถลดจํานวนเท่ียวของการขนสง ชวยใหไมปลิวหลนจากรถบรรทุกและชวยรีดเอาน้ําออกจากวัสดุที่ใชแลว ทําใหไมมีน้ําชะวัสดุท่ีใชแลวร่ัวไหลในขณะขนสง ตลอดจนเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการกาํ จดั วัสดทุ ่ีใชแลว โดยวธิ ีฝงกลบ โดยสามารถจัดวางซอ นไดอยางเปนระเบียบจงึ ทําใหป ระหยัดเวลา และคาวัสดใุ นการกลบทับ และชวยยืดอายกุ ารใชงานของบอ ฝงกลบ
54 4. หลกั 3R ในการจดั การวัสดุ 3R เปนหลักการของการจัดการเศษวัสดุ เพื่อลดปริมาณเศษวัสดุ ไดแกรีดิวซ (Reduce) คือ การใชนอยหรือลดการใช รียูส (Reuse) คือ การใชซ้ํา และรีไซเคิล(Recycle) คือ การผลิตใชใหม ใชเปนแนวทางปฏิบัติในการลดปริมาณเศษวัสดุในครัวเรือนโรงเรยี น และชุมชน ดังนี้ 1. รีดิวซ (Reduce) การใชนอยหรือลดการใช มวี ธิ ีการปฏิบัตดิ งั นี้ 1) หลีกเลย่ี งการใชอยา งฟมุ เฟอย ลดปริมาณการใชใหอยใู นสัดสว นทพ่ี อเหมาะ ลดปริมาณบรรจุภณั ฑหบี หอท่ีไมจําเปน ลดการขนเศษวัสดเุ ขา บาน ไมวา จะเปนถงุ พลาสติก ถงุ กระดาษ โฟม หรอื หนังสอื พิมพ ฯลฯ 2) เลือกใชสินคาท่ีมอี ายุการใชงานสูง ใชผ ลิตภณั ฑชนดิ เติม เชนนํ้ายาลางจาน นาํ้ ยาปรบั ผานุม ถานชนดิ ชารจ ได สบเู หลว นํ้ายารดี ผา ฯลฯ 3) เลอื กบรรจุภัณฑทสี่ ามารถนาํ กลับมาใชใหมได 4) คิดกอนซื้อสินคา พิจารณาวาสิ่งน้ันมีความจําเปนมากนอยเพียงใดหลีกเลี่ยงการใชสารเคมภี ายในบา น เชน ยากําจัดแมลงหรือน้ํายาทําความสะอาดตาง ๆ ควรจะหนั ไปใชวธิ กี ารทางธรรมชาตจิ ะดีกวา อาทิ ใชเปลือกสมแหง นํามาเผาไลยุง หรือ ใชผลมะกรูดดับกลิ่นภายในหองนา้ํ 5) ลดการใชกลองโฟม หลีกเลี่ยงการใชโฟมและพลาสติกโดยใชถุงผาหรือตะกรา ในการจับจายซ้อื ของใชปน โต ใสอ าหาร 6) ลดการใชถุงพลาสติก ควรใชถงุ ผา หรอื ตะกราแทน
55 ภาพที่ 3.2 การรณรงคลดใชถุงพลาสตกิ ของหนวยงานตา ง ๆ ทม่ี า : http://www.bloggang.com 2. รยี สู (Reuse) คือ การใชซ ํ้าผลิตภณั ฑส ่ิงของตา ง ๆ เชน 1. นําสง่ิ ของท่ใี ชแลวกลบั มาใชใ หม เชน ถงุ พลาสติกท่ไี มเปรอะเปอ นกใ็ หเ กบ็ ไวใชใ สข องอกี ครั้งหนง่ึ หรอื ใชเปนถุงใสเ ศษวัสดุในบา น 2. นําสง่ิ ของมาดัดแปลงใหใ ชป ระโยชนไดอีก เชน การนํายางรถยนตมาทาํ เกาอี้ การนําขวดพลาสตกิ กส็ ามารถนาํ มาดดั แปลงเปนท่ใี สข องแจกัน การนาํ เศษผามาทําเปลนอน เปน ตน 3. ใชก ระดาษทงั้ สองหนาภาพที่ 3.3 การลดปรมิ าณเศษวัสดุดวย Reuse โดยใชแ กวนา้ํ เซรามคิ หรอื แกว ใส แทนแกว พลาสตกิ หรอื แกว กระดาษเคลอื บ
56 4. นําสิ่งของมาดัดแปลงใหใชประโยชนไดอีก เชน การนํายางรถยนตมาทําเกา อี้ การนาํ ขวดพลาสติกก็สามารถนามาดดั แปลงเปน ทใี่ สข อง หรือแจกัน การนําเศษผามาทําเปลนอน เปน ตนภาพที่ 3.4 เกาอี้จากขวดน้าํ ภาพที่ 3.5 พรมเช็ดเทา จากเศษผาท่ีมา : http://www.oknation.net/ ทมี่ า : https://www.l3nr.orgภาพที่ 3.6 กระถางตน ไมจากรองเทา เกา ภาพท่ี 3.7 ตุกตาตกแตงสวนจากยางรถยนตเกาท่มี า : http://www.thaitambon.com/ ทีม่ า : http://www.jeab.com/ 3. รไี ซเคิล (Recycle) การแปรรูปนํากลับมาใชใ หม รีไซเคิล (Recycle) หมายถึง การแปรรูปกลับมาใชใหม เพื่อนําวัสดุท่ียังสามารถนํากลับมาใชใหมหมุนเวียนกลับมาเขาสูกระบวนการผลิตตามกระบวนการของแตละประเภท เพอื่ นาํ กลบั มาใชป ระโยชนใหม ซึง่ นอกจากจะเปน การลดปริมาณเศษวัสดุมูลฝอยแลวยังเปนการลดการใชพ ลังงานและลดมลพิษทีเ่ กิดกบั สิง่ แวดลอม เศษวสั ดุรไี ซเคิลโดยทั่วไปแยกไดเ ปน 4 ประเภท คือ แกว กระดาษ พลาสตกิ โลหะและอโลหะ สว นบรรจุภณั ฑบางประเภทอาจจะใชซ้ําไมได เชน กระปองอะลูมิเนียม หนังสือเกา ขวดพลาสติก ซ่ึงแทนท่ีจะนําไปทิ้ง ก็รวบรวมนํามาขายใหกับรานรับซ้ือของเกา เพ่ือสงไปยังโรงงานแปรรูป เพื่อนําไปผลิตเปนผลติ ภณั ฑต า ง ๆ ดังนี้ 1) นําขวดพลาสติก มาหลอมเปนเม็ดพลาสติก 2) นํากระดาษใชแ ลวแปรรปู เปน เย่ือกระดาษ เพ่ือนําไปเปน สวนผสมในการผลิตเปน กระดาษใหม 3) นาํ เศษแกวเกา มาหลอม เพอ่ื ขน้ึ รปู เปน ขวดแกว ใบใหม 4) นําเศษอลูมิเนียมมาหลอมขึ้นรูปเปนแผน นํามาผลิตเปนผลิตภัณฑอะลมู ิเนียม รวมท้ังกระปองอะลูมเิ นียม
57 ภาพที่ 3.8 การรีไซเคิลหรือการแปรรปู เศษวัสดุนาํ กลบั มาใชใ หม ท่ีมา : https://www.dek-d.comภาพที่ 3.9 ปายประชาสมั พนั ธก ิจกรรม 3R ของกรมควบคุมมลพษิ ทีม่ า : http://www.siamgoodlife.com
58เร่ืองท่ี 2 การจดั การวสั ดดุ ว ยการรีไซเคลิ วัสดุ ทําไมจึงตองใหความสําคัญกับการรีไซเคิล เพราะการรีไซเคิลเปนหัวใจสําคัญของวัฎจักรใหดําเนินตอไป เปนการเปลี่ยนสภาพของวัสดุที่ใชแลวใหมีมูลคา จากส่ิงที่ไมเปนประโยชน แปรเปล่ียนสภาพเปนวัตถุดิบ สิ่งของนํากลับมาใชใหม เปนการประหยัดพลังงานใชท รัพยากรธรรมชาติท่ีมอี ยใู หเกิดประโยชนคุมคาสูงสุด ลดคาใชจายในการกําจัดวัสดุท่ีใชแลวปกปอ งการทําลายผนื ปา ดิน น้ํา ส่ิงแวดลอมตางๆท่ีอยูแวดลอมตัวเรา ซึ่งเปนวิธีการท่ีงายที่สุดท่ีเราจะสามารถทําได ดังน้ัน เรามาทําความรูจ กั กบั การจัดการวัสดุดว ยการรีไซเคิลของวัสดุประเภทตาง ๆวา มวี ธิ กี ารจัดการอยางไรจึงจะมีความปลอดภยั และเกดิ ประโยชนสูงสดุ 1. การจดั การวสั ดุประเภทโลหะ โลหะหลากหลายชนดิ สามารถนาํ มารไี ซเคลิ ไดโ ดยการนาํ มาหลอมและแปรรูปเปนผลติ ภณั ฑอ่นื ๆ สามารถแบงโลหะออกได 3 กลุมใหญ คือ - โลหะประเภทเหลก็ ใชก ันมากทสี่ ดุ ในอตุ สาหกรรมกอสรา งผลิตอุปกรณ ตา งๆ รวมท้งั เครื่องใชในบานอุตสาหกรรมการนําเหลก็ มาใชใหมเพอ่ื ลดตน ทุนในการผลติ มีมานานแลว คาดวาทวั่ โลกมีการนําเศษเหล็กมารีไซเคิลใหมถ ึงรอยละ 50 แมแตใ นรถยนตก ม็ ีเหลก็ รีไซเคลิ ปะปนอยู 1 ใน 4 ของรถแตละคัน เหลก็ สามารถนาํ มารีไซเคลิ ไดท กุ ชนดิ สามารถแบง ไดเ ปน 4 ประเภท คือ 1. เหล็กเหนียว เชน เฟอ งรถ นอ ต ตะปู เศษเหล็กขอ ออย ขาเกา อี้ ลอจักรยาน หัวเกงรถ เหล็กเสนตะแกรง ทอไอเสยี ถงั สี 2. เหลก็ หลอ เชน ปลอกสูบปมนํ้า ขอตอ วาลว เฟอ งขนาดเลก็ 3. เหล็กรูปพรรณ เชน แปป ประปา เพลาทา ยรถเพลาโรงสี แปปกลมดํา เหล็กฉากเหล็กตวั ซี และเพลา เครอื่ งจักรตางๆ 4. เศษเหลก็ อื่น ๆ เชน เหล็กสังกะสี กระปอง ปบเหล็ก กลงึ เหล็กแมงกานสี ซงึ่ ราคาซอ้ื ขายจะตางกนั ตามประเภทของเหล็ก ซ่งึ พอ คารบั ซ้อื ของเกา จะทาํ การตัดเหล็กตามขนาดตา ง ๆ ตามที่ทางโรงงานกําหนดเพือ่ สะดวกในการเขาเตาหลอมและการขนสง
59 ภาพท่ี 3.10 ตวั อยา งโลหะประเภทเหล็กหลอ เหล็กหนา และเหลก็ บาง ท่มี า : http://www.thaiceramicsociety.com - โลหะประเภทอะลูมเิ นยี ม แบงออกไดเ ปน 2 ประเภท คือ (1) อะลูมิเนียมหนา เชน อะไหลเ ครื่องยนต ลกู สูบ อะลมู เิ นยี มอัลลอย ฯลฯ (2) อะลูมิเนียมบาง เชน หมอ กะละมังซักผา ขันนํ้า กระปองเคร่ืองด่ืม ฯลฯราคาซ้ือขายโลหะประเภทอะลูมิเนียมมีราคาตั้งแต 10 บาท ถึง 45 บาท แลวแตประเภทอะลูมิเนยี มหนาจะมีราคาแพงกวาอะลูมิเนียมบาง แตขยะอะลูมิเนียมท่ีพบมากในกองขยะสวนใหญจะเปนพวกกระปองเครื่องด่ืม เชน กระปองน้ําอัดลม กระปองเบียร โดยเฉพาะกระปองน้ําอัดลมจะเปนขยะท่ีมีปริมาตรมาก ดังน้ัน กอนนําไปขายควรจะอัดกระปองใหมีปริมาตรเล็กลงเพ่ือที่จะไดประหยัดพื้นที่ในการขนสง สําหรับการรีไซเคิลกระปองอะลูมิเนียมน้ันพอคารับซือ้ ของเกาจะทาํ การอัดกระปองอะลูมิเนียมใหมีขนาดตามที่ ทางโรงงานกําหนดมา กระปองอะลูมิเนียมสามารถนํากลับมารีไซเคิลไดหลาย ๆ คร้ัง ไมมีการกําจัดจํานวนครั้งของการผลิตเม่ือกระปองอะลูมิเนียมถูกสงเขาโรงงานแลวจะถูกบดเปนชิ้นเล็ก ๆ แลวหลอมใหเปนแทงแข็งจากนน้ั นาํ ไปรดี ใหเปนแผน บางเพือ่ สง ตอ ไปยงั โรงงานผลิตกระปอ งเพ่ือผลติ กระปองใหม วัสดุใชแลวจําพวกกระปองผลิตจากวัสดุตางกัน เชน กระปองอะลูมิเนียมกระปองเหล็กเคลือบดีบุก กระปองที่มีสวนผสมทั้งโลหะและอะลูมิเนียม แตไมวาจะผลิตจากอะไรกส็ ามารถนาํ มารไี ซเคิลได ซ่งึ สามารถสังเกตดตู ะเข็บดานขางกระปอง กระปองอะลูมิเนียมจะไมมีตะเข็บดานขาง เชน กระปองนํ้าอัดลม สวนกระปองเหล็กท่ีเคลือบดีบุกจะมีตะเข็บดานขาง เชน กระปองใสอาหารสําเร็จรูป กระปองกาแฟ ปลากระปอง หากไมแนใจลองใชแมเหล็กมาทดสอบ หากแมเหล็กดูดติด บรรจุภัณฑชนิดนั้น คือ เหล็ก โลหะ หากแมเหล็กดูดไมต ิด บรรจภุ ัณฑน ัน้ อะลมู เิ นียม
60 ภาพท่ี 3.11 ซายอะลมู ิเนียมหนา และขวาอะลมู เิ นยี มบาง ที่มา : http://images.recyclechina.comขอ ปฏิบตั ิในการรวบรวมวัสดุที่ใชแลว ประเภทอะลมู เิ นยี ม 1) แยกประเภทกระปอ งอะลูมิเนียม โลหะ เพราะกระปอ งบางชนิดมสี วนผสมท้ังอะลมู เิ นียมและโลหะ สวนฝาปด สว นใหญเ ปนอะลมู เิ นยี ม ใหดงึ แยกเก็บตางหาก 2) หลังจากที่บริโภคเครือ่ งดืม่ แลว ใหเ ทของเหลวออกใหห มด ลางกระปอ งดว ยนาํ้ เลก็ นอย เพ่ือไมใ หเกิดกลน่ิ เพ่อื ปอ งกันแมลง สัตว มากินอาหารในบรรจภุ ณั ฑ 3) ไมควรทงิ้ เศษวัสดหุ รือกนบุหร่ีลงในขวด และตอ งทาํ ความสะอาดกอนนําขวดไปเกบ็ รวบรวม 4) ควรเหยียบกระปอ งใหแบน เพอื่ ประหยัดพืน้ ที่ในการจัดเก็บ ภาพที่ 3.12 ดึงแยกฝากระปองเคร่ืองดื่มออกแลว ทุบใหแ บน ที่มา : http://nwnt.prd.go.th
61 - โลหะประเภททองเหลือง ทองแดง และ สแตนเลส โลหะประเภทน้ี มีราคาสูงประมาณ 30 - 60 บาท โดยทองเหลืองสามารถนํามากลับมาหลอมใหม โดยนํามาสรางพระระฆัง อปุ กรณส ุขภัณฑต าง ๆ สวนทองแดงก็นาํ กลับมาหลอมทําสายไฟไดใหมภาพท่ี 3.13 ตัวอยา งโลหะประเภททองเหลอื ง ทองแดง และสแตนเลส ทนี่ ํามารไี ซเคิลได ทม่ี า : http://www.in.all.biz สญั ลักษณร ไี ซเคลิ กระปอ งโลหะและอะลมู ิเนียม กระปอ งสวนใหญส ามารถนําไปรีไซเคลิ ได เชน กระปอ งนํ้าอดั ลม กระปองเครอ่ื งดื่ม เพราะเปนโลหะชนดิ หน่งึ แตก ระปองบางชนดิ จะมสี วนผสมของวสั ดทุ ัง้ อะลมู เิ นยี มแตโ ลหะชนดิ อ่ืน ๆ กต็ องดตู ามสญั ลักษณ ดังตอ ไปนี้ เหล็ก อะลมู ิเนียม อะลมู เิ นียม ภาพที่ 3.14 สัญลกั ษณรีไซเคิลกระปองโลหะและอะลูมเิ นียม ท่ีมา : https://img.kapook.com
62 2. การรไี ซเคลิ พอลิเมอร พอลเิ มอรไดก ลายเปนผลติ ภณั ฑส ําคญั อยางหนงึ่ และมีแนวโนมท่ีจะเขามามบี ทบาทในชีวติ ประจาํ วันเพมิ่ มากข้ึนเนื่องจากพอลิเมอรมีราคาถูก นํ้าหนักเบาและมีขอบขายการใชงานไดกวา ง ปจจุบันพอลิเมอรไดกลายเปนผลิตภัณฑสําคัญอยางหนึ่ง และมีแนวโนมท่ีจะเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันเพิ่มมากขึ้น โดยการนํามาใชแทนทรัพยากรธรรมชาติไดหลายอยา ง ไมว าจะเปนไม เหล็ก เน่อื งจากพอลิเมอรมีราคาถูก มีน้ําหนักเบา และมีขอบขายการใชงานไดกวาง เนื่องจากเราสามารถผลิตพอลิเมอรใหมีคุณสมบัติตาง ๆ ตามท่ีตองการไดโดยข้ึนกับการเลือกใชวัตถุดิบปฏิกิริยาเคมี กระบวนการผลิต และกระบวนการข้ึนรูปทรงตาง ๆไดอยางมากมาย และยังสามารถปรงุ แตง คณุ สมบัติไดง าย โดยการเติมสารเติมแตง (additives)เชน สารเสริมสภาพพอลิเมอร (plasticizer) สารปรับปรุงคุณภาพ (modifier) สารเสริม(filler) สารคงสภาพ (stabilizer) สารยับยั้งปฏิกิริยา (inhibitor) สารหลอลื่น (lubricant)และผงสี (pigment) เปน ตน พอลิเมอร หมายถึง วัสดุที่มนุษยสังเคราะหข้ึนจากธาตุพื้นฐาน 2 ชนิด คือคารบอนและโฮโดรเจนซ่ึงเม่ือเติมสารบางอยางลงไปจะทําใหพอลิเมอรมีคุณสมบัติพิเศษ เชนแข็งแกรง ทนความรอน ลื่นและยืดหยุน เราอาจสังเคราะหพอลิเมอรชนิดตาง ๆ ไดมากมายโดยการเติมสารเคมชี นิดตา ง ๆ เขาไปโดยใชส ัดสว นและกรรมวิธีทแ่ี ตกตา งกนั พอลิเมอร ประกอบดวยโมเลกุลขนาดใหญเรียกวา พอลิเมอร (polymer)ซึง่ เกิดจากโมเลกุลขนาดเล็กที่มาตอเขาดวยกันเปนสายยาวเหมือนโซ สายโมเลกุลเหลานี้จะเกี่ยวพันกัน ทําใหพอลิเมอรแข็งแกรง แตกวาจะดึงสายโมเลกุลพอลิเมอรใหแยกจากกันไดตองใชแรงมากพอสมควร กระบวนการที่ทําใหโมเลกุลขนาดเล็กมาตอรวมกันเขาจนมีขนาดใหญข ึน้ นน้ั เรียกวา การเกิดพอลิเมอร (polymerization) ซงึ่ จะแตกตา งกนั ไปตามชนิดของพอลเิ มอร (catalyst) กระตนุ ใหโมเลกลุ ขนาดเล็ก มายึดตอ เขาดว ยกัน พอลิเมอรแ บงออกเปน2 ชนิด คือ เทอรโ มเซตติ้ง (thermosetting) และเทอรโ มพอลเิ มอร (thermoplastic) เทอรโมเซตติ้ง (Thermosetting) พอลิเมอรประเภทนี้จะมีรูปทรงที่ถาวรเมื่อผานกรรมวิธีการผลิตโดยใหความรอ น ความดันหรือตวั เรงปฏิกริ ิยา การข้นึ รูปทําไดยากและไมสามารถนํากลับมาใชใหมได นอกจากนี้ยังมีตนทุนการผลิตสูงรวมทั้งการใชงานคอนขางจํากัด ทําใหในปจจุบันมีใชในอุตสาหกรรมไมก่ีประเภท ไดแก เมลามีน ฟนอลิก ยูเรียฟอรมาลดีไฮด โพลีเอสเตอรท่ีไมอ่ิมตัว เปนตน โดยสวนใหญจะใชผลิตเคร่ืองครัว ช้ินสวนปลัก๊ ไฟ ชนิ้ สวนรถยนต และช้นิ สว นในเคร่อื งบิน เปน ตน
63ภาพท่ี 3.15 ตัวอยางพอลเิ มอรประเภทเทอรโมเซตต้ิง ทม่ี า : https://www.easypacelearning.com เทอรโมพอลิเมอร (Thermoplastic) พอลเิ มอรประเภทน้ีเมอื่ ไดรบั ความรอนหรือความดนั ระหวา งกระบวนการขน้ึ รูป จะเปลี่ยนแปลงสถานะทางกายภาพ กลาวคือเม่ือไดรับความรอนจะออนน่ิมเละเมื่อเย็นลง จะแข็งตัวโดยที่โครงสรางทางเคมีจะไมเปลี่ยนแปลงทําใหพอลิเมอรป ระเภทน้ีมีคุณสมบัติท่ีสามารถนํากลับมา เขาสูกระบวนการผลิตซํ้า ๆ ได นอกจากนี้ยงั สามารถนํามาขึ้นรูปไดงายดวยตนทุนการผลิตท่ีต่ํา และมีหลายชนิดท่ีสามารถนํามาใชงานไดอยางกวางขวาง ปจจุบันมีการนําไปใชในอุตสาหกรรมประเภทของเด็กเลน ดอกไมประดิษฐบรรจภุ ัณฑช น้ิ สวนรถยนต และผลติ ภณั ฑอิเล็กทรอนิกส พอลิเมอรป ระเภทนี้ ไดแ กโพลีเอทิลีน (PE), โพลีโพรพิลีน (PP), โพลิไวนิลคลอไรด (PVC), โพลิสไตรีน (PS), โพลิเอทิลีนเทเรพทาเลต (PET) เปน ตน ภาพท่ี 3.16 ตัวอยา งพอลิเมอรประเภทเทอรโมพอลิเมอร ทมี่ า : https://sites.google.com
64 ในประเทศไทยนิยมใชพอลิเมอรจําพวกเทอรโมพอลิเมอรกันมากท่ีสุดเน่อื งจากสามารถใชงานไดห ลายประเภท โดยเฉพาะดา นบรรจุภณั ฑพ อลิเมอรท่มี ีการผลิตในรูปแบบตาง ๆ กัน เชน โพลิเอทิลีน (PE) ผลิตเปนถุงพอลิเมอรท้ังรอนและเย็น ขวด, ถังและฟลม พอลิเมอรประเภทออนนุม กระสอบพอลิเมอร เปนตน โพลิโพรพิลีน (PP) นิยมผลิตเปนถุงบรรจุอาหาร และเส้ือผาสําเร็จรูป กระสอบพอลิเมอร เปนตน โพลิไวนิลคลอโรด(PVC) และโพลิสไตรนี (PS) นิยมผลิตเปนถัง ถงุ บรรจุผักสด ผลไม และเนือ้ สตั วบางชนิดเปน ตน จากการเพิ่มจาํ นวนบรรจภุ ัณฑพอลิเมอร ปจจุบนั ซง่ึ มแี นวโนมความตองการจะขยายตวั เพม่ิ ข้นึ อยา งรวดเรว็ ในอนาคตนนั้ กอ ใหเกิดปญหาขยะพอลิเมอรที่ใชแลว ตามมาซง่ึ ทําใหเกิดปญหาตอสิง่ แวดลอ ม อกี ทง้ั การกาํ จัดขยะพอลิเมอรในปจจุบันยังมีอุปสรรคอีกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งไมสามารถกําจัดพอลิเมอรบางชนิดได เน่ืองจากยังไมสามารถหลอมเพ่ือนํากลับมาใชใหมไดอีก จึงไดมีนักวิจัยคนควาท่ีจะนําบรรจุภัณฑพอลิเมอรท่ีใชแลวกลับเขาสูกระบวนการผลิตเพื่อนํากลับมาใชใหม หรือท่ีเรียกวา Recycle โดยนําพอลิเมอรที่ใชแลวตามบานเรือนหรือตามกองขยะมาปอนเขาสูโรงงานแปรรูปพอลิเมอร เพ่ือนํากลับมาใชใหมได หรือการทําลายพอลิเมอรในระยะส้ัน ซ่ึงนอกจากเปนการใชทรัพยากรอยางมีประสทิ ธภิ าพแลว ยังชว ยใหเ กิดการขยายตัวของธุรกจิ อยางตอเน่อื งดวย อยางไรก็ตาม การนําพอลิเมอรกลับมาหมุนเวียนใชใหมน้ัน ประเด็นสําคัญอยูที่การแยกประเภทของพอลิเมอรกอนที่จะนําไปรีไซเคิล และการกําจัดสิ่งท่ีไมตองการออกไป โดยปกติแลวพอลิเมอรผสมเกือบทุกประเภทจะมีคุณสมบัติแตกตางกันไป เนื่องจากพอลิเมอรที่แมจะมีโครงสรางทางเคมีที่เหมือนกัน แตไมสามารถเขากันไดเสมอไป(incompatible) ตัวอยางเชน โพลีเอสเตอร ที่ใชทําขวดพอลิเมอร จะเปนโพลีเอสเตอรท่ีมีมวลโมเลกุลสงู กวา เมอื่ เทียบกบั โพลีเอสเตอรที่ใชใ นการผลิตเสน ใย (fiber) นอกจากนี้ ยังมีสารเติมแตงอีกประเภท ไดแก พวกสารเพิ่มความเขากันได(Compatibilizer) ซึ่งมีผลโดยตรงตอการรีไซเคิลของพอลิเมอร สารเติมแตงน้ีจะชวยใหเกิดพนั ธะทางเคมรี ะหวา งพอลิเมอร 2 ประเภทท่เี ขา กันไมไ ด ดังน้ัน Compatibilizer จะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการรีไซเคิล ตัวอยางเชน การใชยางคลอริเนตโพลิเอทิลลีน สําหรับพอลิเมอรผสม PE/PVC
65 การระบรุ หสั สําหรับพอลิเมอร (ID Code) และคณุ สมบัติของขวดพอลิเมอร พอลิเมอร ถูกแบง เปน 7 ประเภท ซ่งึ แตละประเภทจะมีการระบรุ หัสของพอลิเมอร (identification code) ถงึ แมว าพอลเิ มอรห ลายประเภทจะสามารถรีไซเคลิ ไดในปจ จุบันไดนาํ เฉพาะพอลิเมอรท่ีใชในครัวเรอื นมารไี ซเคลิ กนั ดงั นน้ั ขวดพอลเิ มอรแตล ะชนิดจึงมีวิธีการรีไซเคลิ ทีแ่ ตกตางกนั ไป ชนิดของ โพลเิ อทิลีน โพลิเอทิลนี โพลิไวนิล โพลเิ อทลิ นี โพลโิ พรพลิ ีน โพลสิ ไตรนี พอลิเมอร เทเรพทาเลต ความหนาแนน คลอไรด ความหนาแนน (PP) (PS) ตํา่ (LDPE)รหัสของ (PET) สูง (HDPE) (PVC)พอลเิ มอร( ID Code) ใส ขนุ ใส ขนุ PETE ใสความใส ขุนการปองกนั พอใชถงึ ดี ดีถึงดมี าก พอใช ดี ดถี ึงดมี าก ไมด ถี ึงพอใชความช้นื ดี ดี ดี ไมด ี ไมดี พอใชการปองกนั 120 145 140 120 165 150ออกซิเจนอุณหภมู สิ ูงสุด (oF)ความแขง็ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ตาํ่ ปานกลาง ปานกลางถึงความทนทาน ถงึ สูง ถึงสูง ถงึ สูง สูงตอ การกระแทก ดีถึงดีมากความทนทาน ดถี งึ ดีมาก พอใชถึงดี ดีมาก พอใชถึงดี พอใชถึงดีตอความรอน ไมดีถึงพอใช พอใช ดี พอใชความทนทาน ดี ไมดถี ึงตอความเยน็ ดี พอใช ดีมาก ไมด ีถึงพอใช ไมดีความทนทาน พอใช พอใช ไมดถี ึงพอใชตอ แสงแดด ดี ดมี าก พอใช พอใช พอใชถ ึงดีกผทลสงั้ ับนมมี้กานั ใขชอใ หงกพมาอโรลดนิเยหมํากมอเาอารราย รซบถวึ่งงึรบจรรพะจวทอุภมาํลัพณใเิ หมอฑมอลพีโริเคมนอรออลงรกิเสทมเรห่ีใอาชนงรแ แอืทลลจี่ใวะาชตกสแามลม6บวบปตั าริทนมะีไ่เาเมรภกือแ ทลนนับทนแ่ีกเอขลลนาะาสกวูกมอรางขนะยบี้ ะซวเนึ่งพมก่ือกั านเรกําผมิดลาจิแตาปกเพกร่ือารนํา
66 สภาพพอลเิ มอรท ไี่ ดจ ากกระบวนการรีไซเคิลน้นั ไมน ยิ มนํามาทําผลิตภัณฑเพื่อบรรจุอาหารและเครื่องด่ืม เน่ืองจากเน้ือพอลิเมอรจะมีคุณสมบัติดอยลง และเมื่อไดรับความรอนสารเคมี และสีบางชนิดท่ีใชผสมในระหวางกระบวนการรีไซเคิลอาจมาปะปนกับอาหารหรือเคร่ืองด่ืมท่ีบรรจุซ่ึงจะกอใหเกิดอันตรายแกผูบริโภคได ในทางปฏิบัติแลวพบวาปริมาณขยะท่ีเกิดจากพอลิเมอรท่ีถูกนํากลับเขาสูกระบวนการผลิตอีกครั้งมีสัดสวนนอยมาก เม่ือเทียบกับปรมิ าณขยะจากบรรจภุ ัณฑพ อลิเมอรท ั้งหมด เมื่อพิจารณาจากปริมาณเศษวัสดุใชแลวทุกประเภท ซึ่งมีเพียงรอยละ 2 เทานั้นท่ีถูกนํากลับมาใชใหมและท่ีไมสามารถนํากลับมาใชไดเน่ืองจากรูปแบบการทิ้งขยะของประชาชนไมเอื้ออํานวย เนื่องจากไมไดมีการแยกประเภทชัดเจน ทําใหยากลําบากตอการคัดแยกขยะพอลิเมอรออกจากกองขยะ จึงนับไดวาเปนอุปสรรคสําคัญอยางหนึ่งของการขจัดขยะพอลิเมอร และสงผลใหการผลิตพอลิเมอรท่ีผานกระบวนการรีไซเคิล มีตนทุนสูงกวาท่ีควรจะเปน 3. การรไี ซเคลิ เซรามกิ ส วัสดุท่ีสามารถนํามา รีไซเคิลไดมีหลายชนิด อาทิ โลหะชนิดตาง ๆ พลาสติกเปนตน อยางไรก็ตาม กลับพบวาไดมีการนําวัสดุเซรามิกส เชน กระเบ้ืองปูพ้ืนและผนัง ถวยชาม ตลอดจนเครอื่ งสขุ ภัณฑต าง ๆ มาผา นกระบวนการรไี ซเคิล เพือ่ นํากลบั มาใชใหมนอยมากยกเวนแกวและกระจก ทั้งที่วัสดุเหลานี้มีปริมาณ การผลิตและการใชงาน ตลอดจน ผลิตภัณฑทีเ่ สียทงั้ ในระหวา งการผลิต และการใชง านทีต่ อ งกลายเปนขยะ ปหนง่ึ ๆ เปนจํานวนมาก การนาํ วัสดุเซรามิกส มารีไซเคิลไดนั้น จําเปนตองบดวัสดุเซรามิกส ซ่ึงเปนวัสดุท่ีมีความแข็งแรงสูง ใหมีสภาพเปนผงละเอียดมากเสียกอน เนื่องจากการผลิตวัสดุเซรามิกสเร่ิมตนดวยการขึ้นรูปผลิตภัณฑ ใหไดรูปทรงตามตองการ แลวจึงนําไปเผาผนึกในภายหลัง ซ่ึงตา งจาก การหลอมแกวหรือโลหะ ดงั นัน้ หากมีเม็ดผงขนาดใหญเกินไป ปะปนอยูในเน้ือจะทําใหเกิดตําหนิในเนื้อวัสดุ และสงผลตอสมบัติของผลิตภัณฑ ไมเปนไปตามความตองการนอกจากนน้ั แลว วัสดเุ ซรามิกสท่ีผานการเผามาแลวคร้ังหนึ่ง จะมีโครงสรางและสมบัติแตกตางจากวตั ถดุ บิ ตัง้ ตนมาก อาทิ ความเหนียว การกระจายลอยตัวในน้ํา เปนตน ดังนั้นถาจะนําวัสดุเซรามิกส มารีไซเคิล จึงตองมีการศึกษาคนควา และปรับเปล่ียนกระบวนการผลิตใหมอีกดวยทง้ั หมดนีเ้ องทําใหการรีไซเคิล วัสดุเซรามิกสมีตนทุนสูงกวา การผลิตโดยใชวัตถุดิบด้ังเดิมมากจึงเปนเหตุทําให อตุ สาหกรรมไมน ยิ มนําวัสดเุ ซรามิกส มาทําการรีไซเคิลใชใหม เหมือนกับวัสดุอ่นื ๆ ซง่ึ มตี นทุนในการรไี ซเคลิ ต่าํ เมือ่ เทยี บกบั การใชว ัตถุดิบจากธรรมชาติ
67 ขวดแกวเปนบรรจุภัณฑที่ไดรับความนิยมสูง ดวยคุณสมบัติที่ใส สามารถมองเห็นส่งิ ทอี่ ยูภายในไมทําปฏกิ ริ ยิ ากบั สิ่งบรรจุ ทาํ ใหคงสภาพอยไู ดนาน สามารถออกแบบใหมีรูปทรงไดตามความตองการ ราคาไมสูงจนเกินไป มีคุณสมบัติสามารถนํามารีไซเคิลได และใหผลิตภัณฑใหมท่ีมีคุณภาพคงเดิมรอยเปอรเซ็นต ไมวาจะรีไซเคิลก่ีครั้งก็ตาม ขวดแกวสามารถนํามารีไซเคิลดวยการหลอม ซ่ึงใชอุณหภูมิในการหลอม 1,600 องศาเซลเซียล จนเปนนํ้าแกว และนําไปข้ึนรูปเปนบรรจุภัณฑตาง ๆ การนําเศษแกวประมาณรอยละ 10 มาเปนสวนผสมในการหลอมแกว จะชวยประหยัดพลังงาน และชวยลดปริมาณน้ําเสียลงรอยละ 50ลดมลพิษทางอากาศลงรอยละ 20 แกวไมสามารถยอยสลายไดในหลุมฝงกลบวัสดุที่ใชแลว แตสามารถนาํ มาหลอมใชใหมไดหลายรอบและมคี ุณสมบัติเหมือนเดิม ดังนั้นเรามารูจักสัญลักษณการรีไซเคิลแกว และวิธกี ารเก็บรวมรวมแกวเพ่ือนาํ ไปขายใหไดราคาสูง ในการสงตอไปรีไซเคิล แกว สามารถแบง เปน 2 ประเภทใหญ ดงั นี้ 1) ขวดแกวดี จะถูกนํามาคัดแยกชนิด สี และประเภทที่บรรจุสินคา ไดแกขวดแมโขง ขวดน้ําปลา ขวดเบียร ขวดซอส ขวดโซดา ขวดเคร่ืองด่ืมชูกําลัง ขวดยา ขวดน้ําอดั ลม ฯลฯ การจดั การขวดเหลานีห้ ากไมแตกบนิ่ เสียหาย จะถูกนํากลับเขาโรงงานเพ่ือนําไปลางใหสะอาดและนํากลับมาใชใ หมท่เี รียกวา “Reuse” 2) ขวดแกวแตก ขวดท่ีแตกหักบ่ินชํารุดเสียหายจะถูกนํามาคัดแยกสี ไดแกขวดแกวใส ขวดแกวสีชา และขวดแกวสีเขียว จากน้ันนําเศษแกวมาผานกระบวนการรีไซเคิลโดยเบ้ืองตนจะเร่ิมแยกเศษแกวออกมาตามสีของ เอาฝาจุกท่ีติดมากับปากขวดออกแลวบดใหละเอยี ด ใสน ํ้ายากดั สีเพอ่ื กัดสีทีต่ ดิ มากบั ขวดแกว ลา งใหสะอาด แลว นําสง โรงงานผลิตขวดแกวเพ่ือนาํ ไปหลอมใหม เรียกวา “Recycle”
68 (ก) (ข) ภาพท่ี 3.17 (ก) แกวดีนํารยี สู (ข) แกว แตกเขา กระบวนการรีไซเคิล ทมี่ า : http://pkrugreenlife.net23.net/ 3.1 สญั ลกั ษณรีไซเคลิ แกว แกวสามารถนํากลับมารไี ซเคลิ ไดห ลายชนดิ แตก ็มีแกว บางชนิดท่ตี อ งตรวจสอบอกี ครง้ั วาสามารถนาํ กลบั มารีไซเคิลไดหรอื ไม โดยการสังเกตสัญลกั ษณของการรไี ซเคลิ แกวได ดงั นี้ แกว ผสม ท่เี กิดจากวัสดตุ า ง ๆ แกว ใส ไมม ีสี แกวสเี ขยี ว ภาพที่ 3.18 สัญลกั ษณร ีไซเคิลแกว ทม่ี า : https://home.kapook.com
69 ขอควรปฏบิ ตั ใิ นการรวบรวมวสั ดทุ ใี่ ชแ ลวประเภทแกว 1) นาํ ฝาหรอื จกุ ออกจากบรรจภุ ัณฑ เพราะไมส ามารถนาํ ไปรไี ซเคลิรวมกับแกว ได 2) หลังการบริโภค ควรลา งขวดแกว ดวยน้ําเล็กนอย เพื่อไมใ หเ กิดการเนา ของอาหาร และเพ่ือปองกนั แมลง สตั ว มากนิ อาหารในบรรจุภัณฑ 3) ไมค วรทิง้ เศษวสั ดหุ รอื กน บุหรี่ลงในขวด และตองทําความสะอาด กอ นนาํ ขวดไปเกบ็ รวบรวม 4) เก็บรวบรวมขวดแกวรวมไวในกลอ งกระดาษ ปอ งกนั การแตกหกั เสยี หาย 5) ควรแยกสีของแกว จะชวยใหขายไดราคาดี และเพื่อใหงายตอการสงตอ นําไปรีไซเคิล 6) ขวดแกวทีเ่ ปนใบ ควรแยกใสกลอ งเดมิ จะขายไดราคาดี 7) ขวดแกว บางชนดิ อาจนําไปรีไซเคิลไมได หรอื มรี า นรับซื้อของเกา บางรา น ทีอ่ ยูในพน้ื ที่ ไมรับซือ้ ดังนนั้ ควรสอบถามรา นกอ นเก็บรวบรวมแกว เพ่อื นําไปขาย สรุปไดวา ปจจัยสําคัญในการรีไซเคิลวัสดุประเภทตาง ๆ ไมวาจะเปนโลหะ พลาสติก กระดาษ แกว ก็คือจะตองแยกประเภทของขยะรีไซเคิลแตละชนิดออกจากกันไมให ปนกัน และทําความสะอาดวัสดุกอนท่ีจะนําไปขาย ถาเปนกระปองก็ควรจะทําการอัดเพ่ือลด ปริมาตรของวัสดุใชแลวกอ นท่ีจํานําไปขาย กิจกรรมทายหนว ยที่ 3 หลงั จากท่ผี ูเรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหนวยท่ี 3 จบแลว ใหศ ึกษาคนควา เพิ่มเติมจากแหลง เรียนรตู าง ๆ แลว ทํากจิ กรรมการเรยี นหนวยที่ 3 ในสมุดบันทกึ กจิ กรรม การเรียนรู แลวจดั สง ตามที่ครผู สู อนกําหนด
70 หนวยที่ 4 แนวโนมการใชวัสดแุ ละทิศทางการพฒั นาวัสดใุ นอนาคตสาระสําคญั ปจจุบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพ่ือตอบสนองตอการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน การพัฒนาวัสดุใหมีสมบัติที่เหมาะกับความตอ งการใชงาน จึงเปนสิ่งที่มีความจําเปนอยางย่ิง อันจะชวยใหการพัฒนาของเทคโนโลยีเติบโตไปพรอมกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ควบคูกันไป โดยทิศทางการพัฒนาวัสดุเพื่อใหมีความเหมาะกับการใชงาน จึงมุงเนนพัฒนาใหวัสดุมีความเบา แข็งแรงทนทาน ทนตอสภาพอากาศ มีความยดื หยุนสูง นําไฟฟาย่ิงยวด หรือวัสดุที่มีความเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม ตามความตอ งการของภาคอุตสาหกรรมตวั ช้วี ัด 1. อธิบายแนวโนม การใชวัสดุในอนาคตได 2. นําความรเู ร่ืองแนวโนมการใชวสั ดใุ นอนาคตไปใชได 3. อธบิ ายทศิ ทางการพฒั นาวัสดุในอนาคตได 4. นําความรเู ร่ืองทศิ ทางการพฒั นาวสั ดุในอนาคตไปใชไ ด 5. อธบิ ายถึงความสําคญั ของการพัฒนาวัสดุในอนาคตไดขอบขายเนอื้ หา 1. แนวโนม การใชว ัสดใุ นอนาคต 2. ทศิ ทางการพฒั นาวสั ดุในอนาคต
71 หนว ยที่ 4 แนวโนม การใชว สั ดแุ ละทิศทางการพฒั นาวัสดใุ นอนาคตเร่อื งท่ี 1 แนวโนมการใชว สั ดใุ นอนาคต ตามที่ไดกลาวขางตนในหนวยที่ 1 ประเภทของวัสดุสามารถแบงออกไดเปน 3ประเภทใหญ ๆ ไดแก โลหะ พอลิเมอร และเซรามิกส ซ่ึงมีสมบัติแตกตางกันไป มนุษยจึงสามารถผลิตผลิตภัณฑโดยเกิดจากการผสมวัสดุหลายชนิดทําให ไดผลิตภัณฑท่ีมีสมบัติตามตองการได ในปจจุบันภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการของประเทศไทยมีแนวโนมการเตบิ โตอยางตอเนื่อง เน่ืองจากมีการลงทุนของตางชาติมากขึ้น ทําใหประเทศไทยกลายเปนฐานการผลิตสินคาเพ่ือสงออก ซ่ึงสินคาสงออกสําคัญของประเทศไทยสวนใหญลวนเกี่ยวของกับวัสดุทั้งสิ้น ไมวาจะเปน รถยนตและอุปกรณสวนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณและสวนประกอบ อัญมณีและเคร่ืองประดับ เม็ดพลาสติก เปนตน จากการเติบโตของภาคอตุ สาหกรรม ทาํ ใหแนวโนม การใชวัสดุแตละประเภทเพิ่มขน้ึ ดวย 1.1 วัสดุประเภทโลหะ โลหะผสมท่ีไดรับการพัฒนาขึ้นใหมเพื่อใชในโครงการอวกาศ เชน โลหะผสมนกิ เกิล ทท่ี นทานตอ อณุ หภูมสิ งู กําลังไดร ับการคนควาวิจัยอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงเมื่อใชอุณหภูมิสูงและทนทานตอการกัดกรอนย่ิงขึ้น โลหะผสมเหลานี้ไดนําไปใชสรางเคร่ืองยนตไอพนท่ีมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และสามารถทํางานไดที่อุณหภูมิสูงข้ึนไปอีกกระบวนการผลิตทใ่ี ชเทคนคิ ใหม เชน ใชก ารดึงยดื ดวยความรอ นสูง สามารถชวยยืดอายุของการเกดิ ความลาของโลหะผสมที่ใชกับเคร่ืองบิน นอกจากนี้ยังมีการใชเทคนิคการถลุงโลหะดวยโลหะผง ทําใหส มบตั ิโลหะผสมมกี ารปรบั ปรงุ ใหดขี น้ึ และทาํ ใหราคาของการผลติ ลดลงอกี ดว ย เทคนิคการทําใหโลหะแขง็ ตัวอยา งรวดเรว็ โดยทําใหโ ลหะท่หี ลอมเหลวลดอณุ หภูมิลงประมาณ 1 ลานองศาเซลเซียสตอวินาที กลายเปนโลหะผสมท่ีเปนผง จากผงโลหะผสมเปล่ียนใหเปนแทงดวยกระบวนการตางๆ เชน การดึงยืดดวยความรอนสูง เปนตน ดวยวิธีการเหลา นีท้ าํ ใหสามารถผลิตโลหะทีท่ นทานตออุณหภูมิสูงชนิดใหมไดห ลายชนิด เชน นกิ เกิลอลั ลอยด อะลมู เิ นียมอลั ลอยด และ ไทเทเนียมอัลลอยด
72 ภาพที่ 4.1 Micro lattice โลหะเบาสดุ ในโลก ท่ีมา : https://www.electricallab.gr 1.2 วัสดปุ ระเภทพอลเิ มอร จากเหตุการณท ผ่ี า นมาวัสดุพอลิเมอร (พลาสตกิ ) มอี ัตราการเติบโตอยางรวดเร็วมาก ดวยอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 9 ตอปโดยนํ้าหนัก แมวาอัตราการเติบโต ของพลาสติกจากป ค.ศ.1995 ไดมีการคาดหมายวาโดยเฉล่ียแลวจะลดลงตํ่ากวารอยละ 5 การลดลงนี้ ก็เพราะวา พลาสติกไดถ กู นํามาใชแทนโลหะ แกวและกระดาษ ซงึ่ เปน ผลิตภณั ฑหลักในตลาด เชน ใชทําบรรจุภัณฑ และใชในการกอสราง ซึ่งพลาสติกเหมาะสมกวา พลาสติกท่ีใชงานทางวิศวกรรม เชน ไนลอน ไดรับความคาดหมายวานาจะเปนคูแขงกับโลหะไดอยางนอยจนถงึ ค.ศ. 2000 แนวโนมทสี่ าํ คญั ในการพฒั นาพลาสติกวศิ วกรรม คอื การผสมผสานพลาสตกิตางชนิดกันเขาดวยกันใหเปนพลาสติกผสมชนิดใหม (synergistic plastic alloy) ตัวอยางเชนในชวงป ค.ศ.1987 ถึง ค.ศ. 1988 ไดมีการผลิตพลาสติกชนิดใหมๆพลาสติกผสมและสารประกอบตัวใหมจากท่ัวโลกประมาณ 100 ชนิด พลาสติกผสมชนิดใหมมีประมาณรอยละ10ภาพท่ี 4.2 Shape memory polymers ภาพท่ี 4.3 แกรฟน วัสดทุ ่ใี ชทําหนาจอสมั ผสั คืนรูปได แตกหัก-เสียหายซอมตวั เอง มีลกั ษณะบางมาก โปรงใส ยืดหยนุ และนําไฟฟา ทม่ี า : http://www.ictp.csic.es ท่มี า : https://d27v8envyltg3v.cloudfront.
73 1.3 วัสดปุ ระเภทเซรามิก ในอดตี การเจริญเติบโตของการใชเซรามิกสสมัยเกา เชน ดินเหนียว แกวและหินในอเมริกาเทากับรอยละ 3.6 (ค.ศ.1966 - 1980) อัตราการเจริญเติบโตของวัสดุเหลาน้ีจากป ค.ศ. 1982 ถึง ค.ศ. 1995 คาดวาจะประมาณรอยละ 2 ในชวง 10 ปท่ีผานมาเซรามิกสวศิ วกรรมตระกลู ใหมไดผลิตขน้ึ ซงึ่ เปน สารประกอบพวกไนไตรตคารไบด และออกไซด ปรากฏวาวัสดเุ หลานี้ไดนําไปประยกุ ตอยา งตอ เนื่อง โดยเฉพาะใชกับอุณหภูมิสูง ๆ และใชกับเซรามิกสอิเล็กทรอนิกส วัสดุเซรามิกส มีราคาถูกแตการนําไปผลิตเปนผลิตภัณฑสําเร็จรูปมักใชเวลานาน และมีคาใชจายสูง วัสดุเซรามิกสสวนใหญจะแตกหักหรือชํารุดไดงายจากการกระแทก เพราะมีความยืดหยุนนอยหรือไมมีเลย ถามีการคนพบเทคนิคใหมท่ีสามารถพัฒนาใหเซรามิกส ทนตอแรงกระแทกสูง ๆ ไดแลว วัสดุประเภทนี้สามารถนํามาประยุกตทางวิศวกรรมไดสงู ย่ิงขึ้น โดยเฉพาะในสวนที่ตอ งใชอณุ หภูมิสูงและในบรเิ วณสิง่ แวดลอ มท่ีมีการกัดกรอนสูง ภาพที่ 4.4 วัสดุประเภทเซรามกิ สใ นอนาคต ทม่ี า : https://img.grouponcdn.com
74เร่ืองท่ี 2 ทศิ ทางการพัฒนาวสั ดุในอนาคต 1. วสั ดทุ ม่ี ีความเปน มติ รตอ สงิ่ แวดลอ ม (Sustainable Material) วัสดุประเภทน้ีไดกลายเปนสิ่งจําเปนในปจจุบัน มากกวาท่ีจะเปนเพียงแคเทรนด ไดแก การใชพลังงานอยางประหยดั และการปลอยกา ซคารบอนไดออกไซดตํ่าในกระบวนการผลติ การรไี ซเคลิ การเลือกใชวสั ดแุ ละการออกแบบโดยคํานงึ ถึงประโยชนส ูงสดุ ของการใชงานและการเหลอื ทงิ้ เปนขยะใหนอยที่สุด การใชวัสดุจากธรรมชาติเพราะสามารถยอยสลายกลับคืนสูดินได เปนตน บริษัทท่ัวโลกตางพากันเปดเผยขอมูลดานการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมท่ีแสดงถึงความพยายามในการปรับปรงุ และพฒั นาอยา งต้งั ใจจากองคกร แมอยูคนละประเทศกส็ ามารถเขาใจในศักยภาพท่ีแสดงถึงความยั่งยืนของแตละบริษัทได เพราะใชมาตรฐานการวัดระดับสากลเหมือนกัน เชนISO14000, การประเมินวัฎจกั รชวี ติ (Life Cycle Assessment,LCA), และหลักเกณฑการประเมนิ อาคารเขยี ว (Leadership in Energy and Environmental Design, LEED)เปนตน ภาพท่ี 4.5 วัสดุที่มคี วามเปนมิตรตอสง่ิ แวดลอ ม ทมี่ า : http://www.1000ideas.ru 2. พลาสติกจากพืชที่แข็งแรงทนทาน (Durable Bioplastic) เปนวัสดุทางเลือกที่ไมไดผลิตจากน้ํามันเหมือนพลาสติกรูปแบบเดิมที่ใชกันอยูอยางแพรหลายตั้งแตอดีตจนถึงปจ จบุ นั เชน พวี ซี ี โพลเี อสเตอร และไนลอน เปน ตน แตไ ดม าจากพชื จําพวกขาวโพดมันสําปะหลัง และออย แทน วัสดุนี้ไดถูกพัฒนาใหมีคุณสมบัติเทียบเทากับพลาสติกจากน้ํามันและตรงตามจุดประสงคของการใชงาน
75 เพราะความกงั วลของพอ แมเ กี่ยวกับสารพษิ สารกอ มะเรง็ และโลหะหนกั ในของเลนท่ีทําจากพลาสติกทั่วไป ผูผลิตของเลนเด็กในประเทศสหรัฐอเมริกาอยางบริษัทกรีนดอท จึงตดั สนิ ใจเลอื กใชพลาสตกิ จากพืชท่ีไมเปนพิษ แข็งแรงทนทานและยอยสลายเปนปุยในสภาวะท่ีเหมาะสมได โดยมีขอดีอื่น ๆ อีก คือ ประกอบข้ึนรูปไดงาย มีจุดหลอมเหลวต่ํากวาทําใหไมเปลอื งพลังงานและมีรอบการทํางานทีเ่ รว็ ขึน้ และพมิ พบ นพื้นผวิ ไดงา ย ภาพท่ี 4.6 พลาสติกจากพืชทแ่ี ข็งแรงทนทาน ที่มา : https://s-media-cache-ak0.pinimg.com
76 3. วัสดุลูกผสม (Hybrid Material) เปนการผสมผสานและทํางานรวมกันของวัสดุ2 ประเภท เพื่อใหไดคุณสมบัติและตอบโจทยการใชงานท่ีกวางข้ึน เชน เทคโนโลยีที่สวมใสได(wearable technology) เปน การผสมผสานระหวา งผา ทีท่ อดว ยเสน ดายนําไฟฟา ท่ีสามารถตอ กบั เซนเซอรเพ่อื วดั อัตราการเตน ของหัวใจ และระดบั การเผาผลาญของแคลอรี ขณะท่กี าํ ลังออกกาํ ลงั กายได หรอื วัสดลุ กู ผสมท่ี เรยี กวา Schulatec® TinCo ท่ีมกี ารผสมกันของพลาสติกและโลหะ ทําใหข้ึนรูปไดง ายเนื่องจากพลาสตกิ ใชความรอ นในอุณหภูมิที่ต่าํ กวา โลหะซ่งึ ประหยัดพลังงานไดมากและนําไฟฟาไดด ี ภาพท่ี 4.7 วัสดลุ กู ผสม ท่ีมา : http://www.alternative-energy-news. 4. การลดคาใชจ าย (cost reduce) วัสดทุ ีม่ ีราคาสูงถูกแทนทีด่ ว ยวัสดุทร่ี าคาถูกลงเพอื่ ลดคาใชจา ยดเู หมอื นจะเปน เทรนดทีเ่ กิดข้ึนอยางถาวรไปแลว นอกเหนือจากความพยายามปรบั เปล่ียนกระบวนการจัดการและการบรหิ ารการผลติ ใหมีประสทิ ธภิ าพสงู สุด ตวั อยางเชนในชวงทร่ี าคาฝายแพงและข้นึ ลงไมแนน อน ผูผลิตก็หันมาใชด ายสปน โพลีเอสเตอรทีพ่ ยายามทําเลยี นแบบฝา ย ในราคาทม่ี ีความผนั ผวนนอ ยกวาแทนเปน ตน ภาพท่ี 4.8 สปนโพลเี อสเตอร ท่ีมา : http://www.msgtexmed.com
77 5. วัสดุท่ีชวยทําใหสุขภาพดีขึ้น (health product) เรายอมเสียเงินซื้อเส้ือผาท่ีสามารถชวยทําใหสุขภาพดีขึ้น เชน เส้ือผาที่ใชเทคโนโลยีนาโนซิลเวอรในการฆาเชื้อโรคและกาํ จดั กลิน่ การใชเ สน ใยชนิดพิเศษทดี่ ดู ซับเหงอ่ื ไดรวดเรว็ การใชเสนใยท่ีสามารถปรับอุณหภูมิรางกายใหคงที่เม่ืออากาศเปล่ียนแปลง การใชเสนใยท่ีสามารถดูดซับความรอนและปลอยออกมาเปน รังสี Far Infrared ทีช่ วยกระตุน ใหเ ลือดหมนุ เวียนไดด ขี น้ึ บริษัทยูนิโคล รวมมือกับบริษัท โทเร ในประเทศญ่ีปุน คิดคนนวัตกรรม Heattech ผลิตผาท่ีบางเพียง 0.55 มิลลิเมตรออกมาเพ่ือตอสูความหนาวเย็นโดยท่ีผาชนิดน้ีสามารถผลิตความรอนไดจากความชื้นท่ีระเหยออกจากรางกายของเราแลว เก็บกกั ไวใ นเสน ใยเพอ่ื ใหความอบอนุ กับผิวหนงั โดยไมจ ําเปนตอ งใชผา หนา ๆ อกี ตอไป ภาพท่ี 4.9 เส้อื ผาทีใ่ ชเทคโนโลยนี าโนซลิ เวอร ท่มี า : https://s-media-cache-ak0.pinimg.com 6. รีไซเคิลสินแรหายาก (mining landfill) สินแรหายากเปนวัตถุดิบสําคัญที่ใชในสินคา Hi-tech หลายประเภทเชนโทรทัศนจอแบนหรือโทรศัพทมือถือ Smart phone โดยที่จีนเปนผูผลิต 97% ของโลก ขณะนี้จีนไดจํากัดการสงออกสินแรหายาก ซ่ึงทําใหจีนไดเปรียบบรษิ ัทตางชาติเน่ืองจากมีตน ทุนการผลิตตา่ํ กวา ดังนน้ั ประเทศเทคโนโลยตี าง ๆ ทีเ่ ปน คูแขงจึงพยายามท่ีจะรีไซเคลิ สนิ แรห ายากจากขยะอิเล็กทรอนิกส นอกเหนือจากความพยายามในการหาวตั ถุดิบจากแหลง อ่ืน ๆ
78 สนิ แรห ายากท่ีนาํ มาใชใ นทางอตุ สาหกรรมมอี ยู 5 ประเภท คอื สแคนเดยี ม(Scandium) ท่ีใชในอตุ สาหกรรมขดุ เจาะนํ้ามนั โพรมีเทยี ม (Promethium) ใชในการผลติแบตเตอรี่พลังงานนวิ เคลียร แลนทานัม (Lanthanum) ใชใ นอตุ สาหกรรมภาพยนตรและกลองถายรปู อิตเทรียม (Yttrium) ใชใ นการผลติ โทรทศั นแ ละเตาอบไมโครเวฟ และเพรซโี อดเี มยี ม (Praseodymium) ใชในอตุ สาหกรรมผลิตใยแกว นําแสงและเครอื่ งยนตของเคร่ืองบนิ ภาพท่ี 4.10 สแคนเดยี ม ภาพที่ 4.11 โพรมเี ทียมทม่ี า : https://www.webelements.com ที่มา : http://elements.vanderkrogt.net ภาพที่ 4.12 แลนทานัม ภาพที่ 4.13 อิตเทรียม ภาพท่ี 4.14 เพรซโี อดีเมียมทม่ี า : http://98a4980578083 ท่ีมา : http://www.rmutphysics.com ที่มา : http://vichakarn.triamudom.ac.thabe0fc6-26cdb33025b4deaf9c0a6e9a3953d227.r43.cf2.rackcdn.com
79 7. เซลลแสงอาทิตย (Solar call) บริษัทตาง ๆ พยายามพัฒนาเซลลแสงอาทิตย(Solar call) ใหมปี ระสิทธิภาพสูงขึ้น มขี นาดเลก็ ลง ใชง านไดห ลากหลายขึ้นในรูปของฟลมท่ียืดหยุนได จากรูปแบบเดิมท่ีเปนแผนแข็ง และมีราคาถูกลง เมื่อเซลลแสงอาทิตย (Solarcall) มีคุณภาพดีขึ้น เราจะสามารถชารจอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ และโทรศัพทมือถือไดสะดวกขน้ึ เซลลแ สงอาทิตย (Solar call) ทําใหพื้นที่หางไกล มีไฟฟาใช ชวยใหคนจํานวนมากมชี ีวติ ท่ีดีข้ึนภาพ ท่ี 4.15 เซลลแ สงอาทติ ย (Solar call) ที่มา : http://estaticos.qdq.com
80 8. อเิ ลก็ ทรอนิกสโ ปรงใส (Transparent electronics) กาํ ลังเปนท่ีนยิ มอยางมากในป 2010 ตลาดของสนิ คาประเภทอเิ ลก็ ทรอนิกสโปรงใสทวั่ โลกมีมลู คาสงู ถึงเกอื บ76.4 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ เราไดเห็นตัวอยางของวัสดุประเภทนี้ในภาพยนตรหลายเร่ือง เชน แผนกระจกใสที่มขี อความและรูปภาพปรากฏข้ึน เมื่อเปดสวิตซใชงานและเหน็ การใชไฟ LED กบั ฟลม พลาสติกใสในรปู แบบตา ง ๆ ภาพที่ 4.16 อิเล็กทรอนกิ สโ ปรงใส ท่ีมา : https://s-media-cache-ak0.pinimg.com กจิ กรรมทายหนว ยที่ 4 หลงั จากท่ีผูเรียนศึกษาเอกสารชุดการเรยี นหนวยที่ 4 จบแลว ใหศ ึกษาคนควาเพม่ิ เตมิ จากแหลงเรียนรตู าง ๆ แลว ทํากจิ กรรมการเรยี นหนวยท่ี 4 ในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู แลวจัดสง ตามทค่ี รผู ูสอนกําหนด
81 หนว ยที่ 5 ส่งิ ประดิษฐจ ากวสั ดตุ ามหลกั สะเตม็ ศึกษาสาระสําคัญ สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) คือ แนวทางการจัดการศึกษาทบ่ี รู ณาการความรูใน4 สหวทิ ยาการ ไดแ ก วทิ ยาศาสตร วศิ วกรรม เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร โดยเนน การนําความรไู ปใชแ กป ญ หาในชีวติ จริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมท เี่ ปน ประโยชนตอการดาํ เนนิ ชีวิต และการทาํ งานตัวชี้วดั 1. อธบิ ายหลักสะเตม็ ศึกษาได 2. อธิบายประโยชนข องสะเต็มศกึ ษาได 3. อธบิ ายหลักสะเตม็ ศึกษาสาํ หรบั การประดิษฐวัสดใุ ชแลว ได 4. นาํ ความรเู รื่องหลักสะเต็มศกึ ษาสาํ หรบั การประดิษฐว ัสดใุ ชแลวไปใชไ ด 5. สามารถออกแบบและสรางสิง่ ประดษิ ฐจากวสั ดุใชแลว ไดขอบขา ยเนื้อหา 1. หลกั สะเต็มศึกษา 2. หลกั สะเตม็ ศกึ ษาสําหรับการประดษิ ฐจากวัสดุใชแลว 3. การประดิษฐว สั ดุใชแลว
82 หนวยท่ี 5 สิง่ ประดษิ ฐจากวสั ดตุ ามหลกั สะเตม็ ศึกษาเรื่องที่ 1. หลกั สะเตม็ ศกึ ษา ในยุคปจจุบัน ความเจริญกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการเปลี่ยนแปลงเกดิ ข้นึ อยางรวดเร็ว จึงจาํ เปน ท่ีแตละประเทศตองเรียนรูที่จะปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นอยูตลอดเวลาและเตรียมพรอมที่จะเผชิญกับความทาทายจากกระแสโลก โดยปจจัยสําคัญทจ่ี ะเผชญิ การเปลย่ี นแปลงและความทาทายดังกลา ว คอื คณุ ภาพของคน การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนใหมีคุณภาพจึงเปนเร่ืองที่มีความจําเปนอยางย่ิง โดยจะตองเปนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ เพ่ือทําใหศักยภาพท่ีมีอยูในตัวคนไดรับการพัฒนาอยางเตม็ ทที่ ําใหเปน คนทรี่ จู ักคิดวิเคราะห รูจักแกปญหา มีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจักเรียนรูดวยตนเองสามารถปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็ว มีคุณธรรมจรยิ ธรรม รูจักพ่งึ ตนเองและสามารถดาํ รงชวี ิตอยูไดอยางเปนสขุ รูปแบบการจดั การเรียนรแู บบ STEM จึงนาจะเปน แนวทางหน่ึงในการพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรูเพื่อเปนการประกนั คณุ ภาพผูเรียน เพอื่ ใหผ เู รียนเกิดการเรียนรูและพัฒนา ศกั ยภาพของตนเองใหมากท่ีสุด คาํ วา “สะเต็ม” หรือ “STEM” เปน คํายอจากภาษาองั กฤษของศาสตร 4 สาขาวิชาไดแก วิทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร (Engineering)และคณิตศาสตร (Mathematics) หมายถึง องคความรู วิชาการของศาสตรท้ังสี่ท่ีมีความเช่ือมโยงกันในโลกของความเปนจริงท่ีตองอาศัยองคความรูตาง ๆ มาบูรณาการเขาดวยกันในการดาํ เนนิ ชีวติ และการทาํ งาน คาํ วา STEM ถูกใช ครั้งแรกโดยสถาบันวทิ ยาศาสตรแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (the National Science Foundation: NSF) ซึ่งใชคําน้ีเพ่ืออางถึงโครงการหรือโปรแกรมที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร อยางไรกต็ ามสถาบันวทิ ยาศาสตรแ หง ประเทศสหรฐั อเมริกาไมไดใหนิยามท่ีชัดเจนของคําวา STEM มีผลใหม กี ารใชแ ละใหความหมายของคําน้ีแตกตา งกนั ไป(Hanover Research, 2011, p.5) เชน มีการใชคําวา STEM ในการอางอิงถึงกลุมอาชีพที่มีความเก่ียวของกับวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร
83 สะเต็มศึกษา (STEM Education) คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรูใน 4 สหวิทยาการ ไดแก วิทยาศาสตร วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร โดยเนนการนําความรูไปใชแกปญหาในชีวิตจริง รวมท้ังการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม ที่เปนประโยชนต อ การดําเนินชีวิต และการทํางาน ชวยนกั เรยี นสรางความเช่ือมโยงระหวา ง 4สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทํางาน การจัดการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษาเปนการจัดการเรียนรูที่ไมเนนเพียงการทองจําทฤษฎีหรือกฏทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร แตเปนการสรา งความเขาใจทฤษฎีหรอื กฏเหลาน้ันผานการปฏบิ ัติใหเ ห็นจริงควบคกู บั การพัฒนาทกั ษะการคดิ ตั้งคําถาม แกปญหาและการหาขอมูลและวิเคราะหขอคนพบใหม ๆ พรอมทั้งสามารถนําขอคน พบนนั้ ไปใชห รอื บูรณาการกบั ชวี ติ ประจําวนั ได การจดั การเรยี นรตู ามแนวทางสะเต็มมลี ักษณะ 10 ประการ ไดแก (1) เชอื่ มโยงเน้อื หาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี สูโลกจริง (2) การสืบเสาะหาความรู (3) การเรียนรูโดยใชโ ครงงานเปนฐาน (4) การสรางสรรคชิ้นงาน (5) การบูรณาการเทคโนโลยี(6) การมงุ เนนทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 (7) การสรางการยอมรับและการมสี ว นรวมจากชุมชน(8) การสรา งการสนับสนุนจากผูเชยี่ วชาญในทอ งถนิ่ (9) การเรียนรูอ ยางไมเปนทางการ(10) การจัดการเรียนรตู ามอธั ยาศัย จุดประสงคของการจัดการเรียนรูต ามแนวทางสะเต็มศึกษา คือ สง เสริมใหผูเรยี นรักและเหน็ คณุ คาของการเรยี นวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร และคณิตศาสตร และเหน็ วาวชิ าเหลานั้นเปนเร่ืองใกลตัวทส่ี ามารถนาํ มาใชไ ดทุกวัน STEM Education ไดนาํ จดุ เดน ของธรรมชาติ ตลอดจนวิธีการจัดการเรียนรู ของแตละสาขาวิชามาผสมผสานกันอยางลงตัว เพ่ือใหผูเรียนนําความรูทุกศาสตร มาใชในการแกปญ หา การคนควา และการพัฒนาสิ่งตาง ๆ ในสถานการณโลกปจจุบัน ซึ่งอาศัยการจัดการเรยี นรทู ผ่ี ูสอนผูสอนหลายสาขาวิชารวมมือกัน เพราะในการทาํ งานจรงิ หรือในชีวิตประจําวันน้ันตองใชความ รูหลายดานในการทํางานทั้งส้ินไมไดแยกใชความรูเปนสวน ๆ นอกจากนี้ STEMEducation ยงั เปนการสง เสริมการพัฒนา ทกั ษะสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัตนหรือทักษะที่จําเปนสาํ หรบั ศตวรรษที่ 21 อกี ดวย ท้งั น้ี STEM Education เปนการจดั การศึกษาท่ีมีแนวคดิ ดงั นี้
84 1.1 เปน การบรู ณาการขามสาระวิชา (Interdisciplinary Integration) นน่ั คอืเปนการบูรณาการระหวา งศาสตรสาขาตางๆ ไดแก วิทยาศาสตร (S) เทคโนโลยี (T)วศิ วกรรมศาสตร (E) และ คณิตศาสตร (M) ทัง้ นี้ ไดน ําจดุ เดน ของธรรมชาตติ ลอดจนวธิ กี ารสอนของแตละสาขาวชิ ามา ผสมผสานกันอยางลงตัว กลาวคอื • วิทยาศาสตร (S) เนนเกยี่ วกบั ความเขาใจใน ธรรมชาติ โดยนกั การศกึ ษามักชี้แนะใหอาจารย ผูสอนผูสอนใช วิธีการสอนวิทยาศาสตรดวยกระบวนการสืบเสาะ(Inquiry-based Science Teaching) กิจกรรมการสอนแบบแกปญหา (Scientific Problem-based Activities) ซ่ึงเปนกิจกรรมที่ เหมาะกับผูเรียนระดับประถมศึกษา แตไมเหมาะกับผูเรียน ระดับมัธยมศึกษา หรือมหาวิทยาลัย เพราะทําใหผูเรียนเบื่อหนายและไมสนใจ แตการสอนวิทยาศาสตรใน STEM Education จะทาํ ใหน กั เรียนสนใจ มีความกระตอื รอื รน รสู กึทา ทายและเกดิ ความม่ันใจในการเรยี น สง ผลใหผเู รยี นสนใจท่ีจะเรยี นในสาขาวิทยาศาสตรในระดบั ชัน้ ทสี่ งู ขน้ึ และประสบ ความสาํ เร็จในการเรียน • เทคโนโลยี (T) เปน วชิ าท่ีเกี่ยวกับกระบวนการ แกป ญ หา ปรับปรุง พัฒนาส่ิงตา ง ๆ หรอื กระบวนการตาง ๆ เพ่ือตอบสนองความตองการของคนเรา โดยผานกระบวนการทํางานทางเทคโนโลยี ที่เรียกวา Engineering Design หรือ Design Process ซ่ึงคลายกับกระบวนการสบื เสาะ ดังนัน้ เทคโนโลยีจงึ มไิ ดห มายถงึ คอมพิวเตอรหรือ ICT ตามท่ีคนสวนใหญเขา ใจ • วิศวกรรมศาสตร (E) เปนวิชาท่ีวาดวยการคิด สรางสรรค พัฒนานวัตกรรมตาง ๆใหกับนิสิตผูเรียนโดยใช ความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงคน สวนใหญมักเขาใจวาเปนวิชาที่สามารถเรียนได แตจากการ ศึกษาวิจัยพบวาแมแตเด็กอนุบาลก็สามารถเรยี นไดด ีเชน กนั • คณิตศาสตร (M) เปนวิชาที่มิไดหมายถึงการนับจํานวนเทาน้ัน แตเก่ียวกับองคประกอบอื่นที่สําคัญ ประการแรก คือ กระบวนการคิดคณิตศาสตร (MathematicalThinking) ซ่ึงไดแ กก ารเปรียบเทยี บการจาํ แนก/จดั กลุม การจดั แบบรปู และการบอกรูปรางและคณุ สมบัติ ประการที่สอง ภาษาคณิตศาสตร เด็กจะสามารถถายทอดความคิด หรือความเขาใจความคิดรวบยอด (Concept) ทางคณิตศาสตรได โดยใชภาษาคณิตศาสตรในการส่ือสาร เชนมากกวา นอยกวา เล็กกวา ใหญกวา ฯลฯ ประการตอมาคือการสงเสริมการคิด คณิตศาสตรขั้นสูง (Higher-Level Math Thinking) จากกิจกรรมการเลนของเด็กหรือการทํากิจกรรมในชีวติ ประจาํ วนั
85 1.2 เปนการบรู ณาการทสี่ ามารถจดั การเรยี นรูไ ดในทุกระดบั โดยใชวิธีการเรียนแบบ Project-based Learning, Problem-based Learning, Design-based Learning ทาํให ผูเรยี นสามารถสรางสรรค พัฒนาชนิ้ งานไดด ี รปู แบบการจดั การเรยี นรแู บบ STEM Education นอกจากจะเปน การบูรณาการวชิ าทง้ั 4 สาขา ดังที่กลา วขา งตน แลว ยงั เปน การบรู ณาการดานบริบท (Context Integration)ที่เก่ียวของกบั ชีวติ ประจําวันอีกดวย ซึง่ จะทาํ ใหก ารสอนน้ันมคี วามหมายตอผูเรียน ทําใหผูเรยี นเหน็ คุณคาของการเรยี นน้ัน ๆ และสามารถนําไป ใชประโยชนใ นชีวิตประจําวันได ซง่ึ จะเพิ่มโอกาสการทํางาน การเพิม่ มูลคา และสามารถสรางความแขง็ แกรงใหกบั ประเทศ ดานเศรษฐกิจได 1.3 เปน การจดั การเรียนรูท่ี ทําใหผ เู รยี นเกดิ พัฒนาการดา นตา ง ๆ อยา งครบถว น และสอดคลอ งกับแนวทางการพฒั นาคนใหม ี คุณภาพในศตวรรษที่ 21 เชน • ดานปญญา ผูเรยี นเขาใจในเน้อื หาวิชา • ดานทักษะการคิด ผูเรียนพฒั นาทกั ษะการคดิ โดยเฉพาะการคดิ ขนั้ สงู เชน การคดิ วิเคราะห คิดสรา งสรรค ฯลฯ • ดานคุณลักษณะ ผูเรียนมที กั ษะการทํางานกลุมทกั ษะการส่ือสารทมี่ ีประสิทธิภาพ การเปนผูน ําตลอดจนการนอมรับคําวิพากษว จิ ารณของผอู ื่น
86เรอ่ื งที่ 2 หลกั สะเต็มศกึ ษาสาํ หรับการประดษิ ฐจ ากวัสดุใชแลว ทุกวันน้ีปญหาเรื่องการจัดการขยะนับเปนปญหาระดับชาติ การจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) ที่ไดยนิ กนั อยา งแพรห ลายมากข้ึนเร่ือย ๆ หลายทานคงกําลังครุนคิดวา จะทําใหอยางใหการเรียนรูวิทยาศาสตร เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร เช่ือมโยงสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเชื่อมโยงการเรียนรูสูการแกปญหาจรงิ เรือ่ งขยะได การจัดการเรียนรูตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสําหรับการจัดการกับวัสดุใชแลว ทําไดหลากหลายแนวทาง บางอยางเปนการเปลี่ยนแปลงงาย ๆ ทุกคนสามารถทําไดดวยตัวเอง สวนบางแนวทางตองการ “แนวรวม” สนับสนุนท่ีกวางขวางขึ้น เชน การทํางานรวมกันระหวางผูสอนกับนักเรียน การทํางานรวมกันทั้งโรงเรียน หรือแมกระทั่งการดําเนินการรวมกันกับชุมชน หรอื สถาบนั การศึกษาทอ งถ่นิ แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรสู ะเตม็ ศึกษาสําหรบั การประดิษฐวสั ดุใชแ ลวเปนสว นหน่งึ ของวิธีการหลากหลายท่จี ะจัดการกบั วัสดใุ ชแ ลว ซ่งึ มแี นวทางดังนี้ 1. เชอ่ื มโยงเนื้อหาวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยี สโู ลกจริง หลายทานนาจะทําอยูแลวอยางสมํ่าเสมอ เพราะในชีวิตประจําวันเรามีการใชวัสดุตางอยูเสมอตลอดจนมีการบริหารจัดการวัสดุนั้นอยางมีประสิทธิภาพ เพียงมองเห็นวาแนวคดิ หลัก หรอื กระบวนการที่เรียนรูนั้น สามารถเกดิ ขน้ึ ไดใ นธรรมชาติ ใชประโยชนไดในชีวิตจริง ก็เปนกาวแรกสูการบูรณาการความรูสูการเรียนอยางมีความหมาย เพราะปรากฏการณหรือประดิษฐกรรมใดๆ รอบตัวเรา ไมไดเปนผลของความรูจากศาสตรหนึ่งศาสตรใดเพียงศาสตรเดียว การประยุกตความรูงาย ๆ เชน การคํานวณพื้นท่ีของแกนมวนกระดาษชําระเช่ือมโยงสูความรูความสงสัยดานวัสดุศาสตร เทคโนโลยีการผลิต และการใชกระบวนการทางวิศวกรรมวเิ คราะหป ญ หาและสรางสรรคว ิธีแกไ ขไดอ ยา งหลากหลายจนนาแปลกใจ 2. การสืบเสาะหาความรู การเรียนรูสะเต็มศึกษาสําหรับการประดิษฐวัสดุใชแลว โดยใหผูเรียนไดศึกษาประเดน็ ปญ หา หรือต้งั คําถามซ่งึ เปน ปญหาท่เี กิดขึ้นกับตนเองหรือชุมชน เชน ในชุมชนมีการใชขวดน้ําพลาสติกจํานวนมากจนเกิดปญหาขยะ ผูเรียนนําประเด็นปญหา ไปสรางคําอธิบายดวยตนเอง โดยการรวบรวมประจักษพยานหลักฐานที่เกี่ยวของ สื่อสารแนวคิดและเหตุผลเปรียบเทียบแนวคิดตาง ๆ โดยพิจารณาความหนักแนนของหลักฐาน กอนการตัดสินใจไปในทางใดทางหนึ่งนับเปนกระบวนการเรียนรูสําคัญท่ีไมเพียงแตสนับสนุนการเรียนรูในประเด็นท่ีศึกษาเทานั้น แตยังเปนชองทางใหมีการบูรณาการความรูในศาสตรอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับคําถาม นับเปนแนวทางการจัดการเรียนรูท่ีสนับสนุนจุดเนนของสะเต็มศึกษาสําหรับการประดษิ ฐจากวัสดุใชแลว ไดเปนอยา งดี
87 3. การเรยี นรโู ดยใชโครงงานเปนฐาน การทําโครงงานเปนการสืบเสาะหาความรูในรูปแบบหน่ึง แตผูเขียนไดแยกโครงงานออกมาเปนหวั ขอเฉพาะ เน่ืองจากเปนแนวทางที่สามารถสงเสริมการบูรณาการความรูสกู ารแกปญหาไดช ัดเจน การสบื เสาะหาความรูบางครั้งผูสอนเปนผูกําหนดประเด็นปญหา หรือใหขอมูลสําหรับศึกษาวิเคราะห หรือกําหนดวิธีการในการสํารวจตรวจสอบ ตามขอจํากัดของเวลาเรยี น วัสดุอุปกรณ หรือปจจัยแวดลอมตาง ๆ แตการทําโครงงานน้ันเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนเกิดประสบการณการเรียนรูสําคัญในทุกข้ันตอนดวยตนเอง ต้ังแตการกําหนดปญหาศึกษาความรูที่เกี่ยวขอ ง ออกแบบวธิ ีการรวบรวมขอ มลู ดําเนินการ ลงขอสรุป และส่ือสารสิ่งที่คนพบ (บางคร้ังผูสอนอาจกําหนดกรอบกวาง ๆ เชน ใหทําโครงงานเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐจากวัสดุใชแลว โครงงานเก่ียวกับการใชคณิตศาสตรในวัสดุใชแลวของชุมชน เปนตน) โครงงานในรปู แบบส่ิงประดษิ ฐจ ะมีการบรู ณาการกระบวนการทางวิศวกรรมไดอยา งโดดเดน 4. การสรา งสรรคช ิ้นงาน ประสบการณการทําชิ้นงาน สรางทักษะการคิด การออกแบบ การตัดสินใจการแกปญ หาเฉพาะหนา โดยเฉพาะอยางยง่ิ ชิ้นงานทผี่ สู อนเปด โอกาสใหผ ูเรยี นเลือกวัสดุใชแลวเองและคิดอยางอิสระและสรางสรรค การประดิษฐช้ินงานเหลาน้ีจากเศษวัสดุใชแลวประยุกตใชความรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร อยางไมรูตัวบางคร้ังอาจจัดใหผูเรียนสะทอนความคิดวาไดเ กดิ ประสบการณหรือเรียนรูอะไรบางจากงานที่มอบหมายใหทํา เพราะเปาหมายของการเรียนรูอยูท่ีกระบวนการทํางานดวยเชนกัน หากผูเรียนมองเพียงเปาหมายช้ินงานท่ีสําเร็จอยางเดียวอาจไมตระหนักวาตนเองไดเรียนรูบทเรียนสําคัญมากมายระหวางทางและมีสว นหรือบทบาทในการชว ยรักษาสภาพแวดลอ มอีกดว ย 5. การบูรณาการเทคโนโลยี เพยี งบรู ณาการเทคโนโลยที ี่เหมาะสมสูกระบวนประดษิ ฐจ ากวสั ดุใชแลว ก็ถือวาไดกาวเขาใกลเ ปาหมายการจดั การเรยี นรูตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาอีกกา วหนึง่ แลว เทคโนโลยีท่ีสามารถใชประโยชนในปจจุบันมีไดตั้งแตการสืบคนขอมูลลักษณะตาง ๆ การบันทึกและนาํ เสนอขอมลู ดว ยภาพนงิ่ วีดิทศั น และมลั ติมีเดีย การใชอุปกรณ sensor/data logger บันทึกขอมูลในการสํารวจตรวจสอบ การใชซอฟตแวรจัดกระทํา วิเคราะหขอมูล และเทคโนโลยีอื่นๆอกี มากมาย การใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยเี หลา น้ี กระตุนใหผูเรียนสนใจการเรียนรู เปดโอกาสใหประยุกตใชความรู แกปญหา และทํางานรวมกัน รวมทั้งสรางทักษะสําคัญในการศึกษาตอและประกอบอาชีพตอ ไปในอนาคตดวย
88 6. การมงุ เนนทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 กิจกรรมการเรียนรตู ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาพฒั นาพัฒนาทักษะแหงศตวรรษท่ี 21ไดเปนอยางดี ยกตัวอยางทักษะการเรียนรูและสรางนวัตกรรม (Learning and InnovationSkills) ตามกรอบแนวคิดของ Partnership for 21st Century Skills ที่ครอบคลุม 4C คือCritical Thinking (การคิดเชิงวิพากษ) Communication (การส่ือสาร) Collaboration (การทาํ งานรวมกัน) และ Creativity (การคิดสรางสรรค) จะเห็นไดวากิจกรรมการเรียนรูในรูปแบบโครงงาน หรือการสรางสรรคชิ้นงานจากวัสดุใชแลวท่ีกลาวถึงขางตนนั้นสามารถสรางเสริมทกั ษะเหลาน้ไี ดมากอยางไรก็ตามในบริบทของสถานศกึ ษาทว่ั ไป ผูสอนอาจไมสามารถใหผูเรียนเรียนรูดวยการทําโครงงาน หรือการสรางสรรคชิ้นงานเทานั้น ดังนั้นในบทเรียนอื่น ๆ ถาผูสอนมุงเนนทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ในทุกโอกาสที่เอื้ออํานวย เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น ทํางานรวมกนั เรยี นรูการหาทตี่ ิ (ฝกคิดเชิงวพิ ากษ) หาท่ชี มหรอื เสนอวธิ ีการใหม(ฝกคิดเชิงสรางสรรค) ก็นับวาผูสอนจัดการเรียนการสอนเขาใกลแนวคิดสะเต็มศึกษามากขึ้นตามสภาพจรงิ ของชัน้ เรยี น 7. การสรา งการยอมรับและการมสี ว นรวมจากชมุ ชน ผูสอนหลายทานอาจเคยมีประสบการณกับผูปกครองท่ีไมเขาใจแนวคิดการศึกษาท่ีพัฒนาผูเรียนใหเปนคนเต็มคน แตมุงหวังใหสอนเพียงเน้ือหา อยากใหผูสอนสรางเด็กท่ีสอบเรียนตอได แตอาจใชชีวิตไมไดในสังคมจริงของการเรียนรูและการทํางาน เมื่อผูสอนมอบหมายใหผูเรียนสืบคน สรางชิ้นงาน หรือทําโครงงานผูปกครองไมใหการสนับสนุน หรืออีกดานหน่ึงผูปกครองรับหนาท่ีทําใหทุกอยาง อยางไรก็ตามหวังวาผูปกครองทุกคนจะไมเปนไปตามที่กลาวขางตน ผลงานจากความสามารถของเด็ก เปนอาวุธสําคัญที่ผูสอนจะนํามาเผยแพรจัดแสดงเพื่อชนะใจผูปกครองและชุมชนใหใหการสนับสนุนการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา ผูสอนสามารถนําผูเรียนไปศึกษาในแหลงเรียนรูของชุมชน สํารวจสิ่งแวดลอมธรรมชาติในทอ งถน่ิ ศึกษาและรายงานสภาพมลพิษหรือการใชประโยชนจากทรัพยากรในพื้นที่ใหชุมชนรับทราบ ตลอดจนศึกษาและแกปญหาท่ีเกี่ยวของกับผลิตภัณฑในชุมชน กิจกรรมการเรียนรูเหลาน้ี เกิดประโยชนสําหรับนักเรียนเอง อาจเปนประโยชนสําหรับชุมชน และสามารถสรางการมีสวนรวม ความภาคภูมิใจ และที่สําคัญอยางยิ่งคือความรูสึกเปนเจาของรวมรบั ผดิ ชอบคุณภาพการจดั การศึกษาในทองถิน่ ตัวเองใหเ กิดข้นึ ได
89 8. การสรางการสนบั สนุนจากผเู ชี่ยวชาญในทองถิน่ การใหผูเรียนไดศึกษาปญหาปลายเปดตามความสนใจของตนเองในลักษณะโครงงาน ตลอดจนการเชื่อมโยงการเรียนรูสูการใชประโยชนในบริบทจริงนั้น บางครั้งนําไปสูคําถามท่ีซับซอนจนตองอาศัยความรูความชํานาญเฉพาะทาง ผูสอนไมควรกลัวจะยอมรับกับผูเรียนวาผูสอนไมรูคําตอบ หรือผูสอนชวยไมได แตควรใชเครือขายท่ีมีเช่ือมโยงใหผูเชี่ยวชาญในทองถิ่นมาชวยสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน เครือขายดังกลาวอาจเปนไดทั้ง ศิษยเกาผูปกครอง ปราชญชาวบาน เจาหนาที่รัฐ หรืออาจารยในสถาบันอุดมศึกษาในทองถิ่น ผูสอนสามารถเชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยายหรือสาธิตในบางหัวขอ หรือใชเทคโนโลยี เชน การประชุมผานวิดีทัศน เอื้ออํานวยใหผูเชี่ยวชาญสามารถพูดคุย ใหความคิดเห็น หรือวิพากษผลงานของผเู รียน เปนตน 9. การเรียนรูอยา งไมเปน ทางการ (informal learning) ทุกคนชอบความสนุกสนาน หากเราจํากัดความสนุกไมใหกล้ํากรายใกลหองเรียน ความสุขคงอยูหางไกลจากผูสอนและจากผูเรียนไปเรื่อย ๆ แตจะบูรณาการความสนุกสูการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ผานกระบวนประดิษฐสิ่งของจากเศษวัสดุใชแลวเปนการแกปญหาไดอยางไร ตองอาศัยความคิดสรางสรรคของผูสอนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่ทาทาย เพลิดเพลิน ใหการเรียนเหมือนเปนการเลน แตในขณะเดียวกนั กต็ องสรา งความรแู ละความสามารถตามวัตถุประสงคของหลักสูตรดวย การเรียนรูอยางไมเปนทางการท่ีไดรับความนิยม คือ การจัดกิจกรรมคาย การเรียนรูจากบทปฏิบัติการหรือการประกวดแขงขัน กิจกรรมเหลาน้ีเปนโอกาสดีท่ีจะสรางการมีสวนรวมจากชุมชน เชนอาจเชิญผูเช่ียวชาญในทองถิ่นเปนวิทยากรในคาย เปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิ หรือใหการสนับสนุนของรางวัล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153