การศึกษาคน้ คว้าองคค์ วามรเู้ รื่อง (เทียนหอมจากมะกรูดไลย่ งุ ) (Mosquito Aroma Candle) คณะผ้จู ัดทำ (ชือ่ นาย กมลภพ นนทจักร) ชั้น ม.5/7 เลขที่ 6 (ช่ือนางสาว พชิ ชาพร ขระเขอ่ื น) ชั้น ม.5/7 เลขท่ี 7 (ช่ือนางสาวนัชชา แสนทรงสริ ิ) ชั้น ม.5/7 เลขที่ 11 (ชื่อนางสาวณฐั ธีรา ศิรวิ ิชยานันท์) ชน้ั ม.5/7 เลขที่ 12 (ช่ือนายนนั ทพงศ์ ไขท่ า ) ชนั้ ม.5/7 เลขท่ี 24 ครูท่ีปรกึ ษา ครูดำรงค์ คนั ธะเรศย์ ………………………… …………………….. เอกสารฉบับน้ีเปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรยี นปัว อำเภอปัว จังหวดั น่าน สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
2 (กระดาษเปลา่ รองปกใน 1 แผน่ )
3 การศึกษาค้นควา้ องค์ความร้เู รือง (เทยี นหอมจากมะกรดู ไลย่ ุง) (Mosquito Aroma Candle) คณะผจู้ ดั ทำ (ชอื่ นาย กมลภพ นนทจักร) ชนั้ ม.5/7 เลขท่ี 6 (ชอื่ นางสาว พชิ ชาพร ขระเข่ือน) ช้ัน ม.5/7 เลขท่ี 7 (ชือ่ นางสาวนชั ชา แสนทรงสิริ) ชัน้ ม.5/7 เลขท่ี 11 (ชอ่ื นางสาวณัฐธีรา ศิรวิ ชิ ยานนั ท์) ชั้น ม.5/7 เลขที่ 12 (ช่อื นายนันทพงศ์ ไข่ทา ) ช้นั ม.5/7 เลขท่ี 24 ครทู ี่ปรึกษา คณุ ครู ดำรงค์ คนั ธะเรศย์ ………………………… …………………….. เอกสารฉบบั นี้เปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (IS1) โรงเรยี นปวั อำเภอปวั จังหวัดนา่ น สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 37 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
ก ชือ่ เร่ือง : เทยี นหอมจากมะกรดู ไล่ยุง ผู้จดั ทำ : นายกมลภพ นนทจกั ร นางสาว พิชชาพร ขระเขื่อน นางสาวณฐั ธรี า ศิริวชิ ยานันท์ นางสาวนัชชา แสนทรงสริ ิ นายนันทพงศ์ ไข่ทา ทปี่ รึกษา :คุณครู ดำรงค์ คนั ธะเรศย์ ปกี ารศกึ ษา : 2563 บทคัดยอ่ เรื่อง โครงงานเรอ่ื งเทยี นหอมจากมะกรูดไล่ยุง เปน็ การนำมะกรดู ท่เี ป็นสมนุ ไพรทม่ี ีอยู่ทั่วไปตาม ท้องถ่นิ ซงึ่ มสี รรพคณุ มากมาย สามารถนำมะกรดู มาแปรรปู เปน็ เทียนหอมเพอ่ื ไล่ยงุ ที่เป็นพาหะนำโรคตา่ งๆมา สู่รา่ งกายเราได้คณะผู้จัดทำโครงงานมีความสนใจท่ีจะทำผลติ ภัณฑ์เทียนหอมจากมะกรูดไล่ยงุ ทที่ ำจากมะกรดู ในท้องถนิ่ โดยมีวตั ถุประสงค์ในการจัดทำโครงงานขึ้นเพือ่ เปน็ การศึกษาสมุนไพรท่ีสามารถใช้ปอ้ งกนั ยงุ ได้ เพอ่ื เปน็ การนำสมุนไพรมาประยุกต์ใช้ เพื่อใหเ้ กิดความสามคั คีในหมคู่ ณะและเพื่อใหเ้ กิดความคิด จนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละระดมความคิดภายในกลุ่ม
ข กิตตกิ รรมประกาศ คำขอบคณุ ผใู้ หค้ วามช่วยเหลือตา่ ง ๆ โครงงานเรอ่ื งเทียนหอมจากมะกรดู ไลย่ ุง ที่สำเรจ็ ลลุ ่วงไปได้ ด้วยดกี เ็ พราะไดร้ ับการช่วยเหลือจากอาจารย์ ทใ่ี ห้คำปรึกษาและใหค้ ำแนะนำตลอดเวลาของการดำเนนิ งาน ตามจดุ ประสงค์ของโครง งานทไ่ี ด้กำหนดไว้ คณะผู้จดั ทำขอขอบพระคุณทา่ นที่ใหค้ วามช่วยเหลือในเรอื่ ง ตา่ งๆและหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าโครงงานเร่ืองเทยี นหอมจากมะกรดู ไลย่ ุงเรื่องนี้นา่ จะเกิดประโยชน์ตอ่ ผู้ทม่ี ีความ สนใจ นายกมลภพ นนทจกั ร นางสาว พิชชาพร ขระเขือ่ น นางสาวณฐั ธรี า ศิรวิ ิชยานนั ท์ นางสาวนชั ชา แสนทรงสิริ นายนันทพงศ์ ไขท่ า
สารบัญ ค เร่อื ง หนา้ บทคดั ยอ่ ค กติ ติกรรมประกาศ ง สารบัญ จ สารบัญตาราง ช สารบัญภาพ ซ บทที่ 1 บทนำ 10 1.1 ความเปน็ มา 13 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.3 ขอบเขต 18 1.4 ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั บทท่ี 2 ทฤษฎีทเ่ี ก่ยี วข้อง 22 2.1 ยุง 2.2 โรคไขเ้ ลือดออก 2.3 มะกรดู 2.4 เทียนหอม บทที่ 3 วิธีดำเนนิ งาน 3.1 วิธีการดาเนินงาน 3.2 ประชากร/กลุ่มตวั อย่าง 3.3 เครอ่ื งมอื บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า 4.1 วสั ดอุ ปุ กรณ์ 4.2 ขนั้ ตอนและวิธีการทา
สารบญั (ตอ่ ) ง บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 26 5.1 สรปุ ผล 27 5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาคน้ คว้า 28 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา บรรณานุกรม ประวัติผู้ศกึ ษา
สารบญั ตาราง จ ตารางที่ 2.1 เรื่องที่ 1 ยุง หน้า ตารางท่ี2.2 เรื่องที่ 2 โรคไข้เลอื ดออก 13 ตารางที่2.3 เร่ืองที่ 3 มะกรูด 14 ตารางที่2.4 เรอ่ื งท่ี 4 เทียนหอม 15 16
สารบญั ภาพ ฉ ภาพท่ี 3-1 เตรยี มของ หน้า ภาพท่ี 3-2 นำผวิ เปลือกมะกรูดไปตากแดดท้งิ ไวจ้ นแห้ง 19 ภาพท่ี 3-3ใส่เนื้อเทียนลงไป ในหมอ้ 43 กรมั คนเนื้อเทียนในหมอ้ ใหล้ ะลาย 20 ภาพท่ี 3-4เมอื่ เทียนละลายแลว้ ใสผ่ ิวเปลอื กมะกรูด 7 กรมั ลงไปในหม้อ ภาพท่ี 3-5ผา้ จับหม้อ เทน้ำเทยี นลงในแม่พิมพ์ 21 ภาพที่ 3-6ต้งั ภาชนะทิ้งไว้ประมาณ 2ชั่วโมงให้เทยี น แห้งสนิท
ช
10 บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมา อยากทราบถงึ มะกรูดสามารถไล่ยุงได้หรือไม่เลยแปลเป็นส่ิงของต่อการไลย่ งุ 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื แสดงออกความความคิดสรา้ งสรรค์ 2.2 เพื่อใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 2.3 เพ่ือฝกึ วเิ คราะห์ และประเมนิ ตนเอง ได้รับประสบการณ์ตรง 2.4 เพื่อศกึ ษาข้อมูลจากแหล่งความรตู้ า่ ง ๆ ดว้ ยตนเองและเพ่ือนๆ 3. ขอบเขต (ระบุขอบเขตของงานที่ทำ) 3.1 สถานที่ ……………………………. โรงเรยี นปัวและบา้ นเจดีชยั …………… 3.2 ระยะเวลา …เวลา9.00น.-13.00น.………………………………………………………………………… 3.3 ตวั แปรหรอื ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง(เลอื กตามวิธีการศึกษาค้นคว้า) 3.1 ตัวแปรตน้ คือ ...........มะกรูด.... 3.2 ตวั แปรตาม คอื .............. ความสามารถในการไล่ยุง
2 11 3.3 ตวั แปรควบคุม คือ ....ปริมาณเปลอื ก มะกรดู ,จำนวนเวลา,ปรมิ าณยงุ 4. ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 1. ทราบความเปน็ มาของเทียนหอม 2. ใช้ประโยชน์ของสมุนไพรและเศษเทียน 3. สามารถผลติ เทียนหอมสมุนไพร 4. ลดการเปน็ โรคไขเ้ ลือดออก 5. สามารถสรา้ งรายได้ให้กบั ตนเอง 6. สามารถนำไปต่อยอดเทยี นหอมสมนุ ไพรไล่ยงุ ได้
3 12
13 บทท่ี 2 ทฤษฎีท่ีเกีย่ วขอ้ ง ในการศึกษาเรื่อง เทียนหอมจากมะกรูดไล่ยุงผู้จัดทำได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและ หลักการต่างๆจากเอกสารท่เี กีย่ วขอ้ งดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 เรอ่ื งท่ี 1 ยุง ยุงเป็นแมลงท่ีพบได้ทั่วโลกแต่พบมากในเขตร้อนและเขตอบอุ่น จากหลักฐานทางฟอสซิล สามารถสันนิษฐานได้ว่า ยุงได้ถือกำเนิดข้ึนในโลกตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์เม่ือประมาณ 38-54 ล้านปี มาแลว้ ปัจจุบันพบว่าในโลกนี้มียุงประมาณ 3,450 ชนิด ส่วนในประเทศไทยพบว่ามียุงอย่างน้อย 412 ชนิด มีช่ือเรียกตามภาษาไทยแบบง่าย ๆ คือ ยุงลาย ( Aedes ) ยุงรำคาญ ( Culex ) ยุงก้นปล่อง ( Anopheles ) ยุงเสือหรือยุงลายเสือ ( Mansonia ) และ ยุงยักษ์หรือยุงช้าง( Toxorhynchites ) ซ่ึงไม่ครอบคลุมสกุลของยุงทั้งหมดท่ีมีอยู่ ส่วน “ ยุงดำ ” ที่ปรากฏในตำรา เรียนของกระทรวงศึกษาน้นั ไม่สามารถระบุไดว้ ่าหมายถึงยุงอะไรจึงควรตดั ออก ยุงเป็นแมลงที่มีขนาดเล็กโดยท่ัวไปมีขนาดลำตัวยาว 4-6มม.บางชนิดมีขนาดเล็กมาก 2-3 มม. และบางชนิดอาจยาวมากกว่า 10 มม. ยุงมีส่วนหัว อก และท้อง มองเห็นได้อย่างชัดเจนและสามารถแยกออกจากแมลงชนิดอื่น ได้ อย่างง่ายๆ โดยสังเกตจากรูปพรรณสัณฐาน ดังต่อไปน้ีคือ มีปากคล้ายงวง ยื่นยาวออกไปข้างหน้า และมีปีกสำหรับบิน 1 คู่ ยุงมีวงจรชีวิตแบบสมบูรณ์ (holometabolous) ซึ่งประกอบด้วย ไข่ (egg) ลูกน้ำ (larva; พหพู จน์ =larvae) ตวั โมง่ (pupa; พหพู จน์ =pupae) และยุงตัวแก่ (adult)
4 14 ยุงเมื่อลอกคราบออกจากระยะตัวโม่งได้ไม่ก่ีนาทีก็สามารถออกบินได้อาหารท่ีใช้ในระยะนี้ ของทั้งตัวผู้และตัวเมียเป็นน้ำหวานจากดอกไม้หรือต้นไม้ การผสมพันธ์ุส่วนใหญ่เกิดข้ึนในอากาศ ตัว เมียจะบินเข้าไปเพ่ือผสมพันธุ์ ยุงตัวเมียส่วนใหญ่ผสมพนั ธ์ุเพียงครั้งเดียวโดยท่เี ช้ืออสุจิจากตัวผู้จะถูก กักเก็บในถุงเก็บน้ำเช้ือ ซึ่งสามารถใช้ไปได้ตลอดชีวิตของมัน ส่วนยุงตัวผู้สามารถผสมพันธ์ุได้หลาย ครง้ั ยงุ ตัวเมียเม่ือมีอายุได้ 2-3 วันจึงเร่ิมออกหากินเลือดคนหรือสัตว์ เพ่ือนำเอาโปรตนี แร่ธาตุไป ใช้สำหรับการเจริญเติบโตของไข่ในรังไข่ เมื่อไข่สุกเต็มท่ียุงตัวเมียจะหาแหล่งน้ำที่เหมาะสมในการ วางไข่ หลังจากวางไข่แล้วยุงตัวเมียก็ออกดูดเลือดใหม่และวางไข่ได้อีก บางชนิดที่มีอายยุ ืนมากอาจไข่ ได้ร่วม 10 ครั้ง แต่ละคร้ังห่างกันประมาณ 4-5 วัน แต่อาจเร็วกว่าหรือนานกว่า ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และชนิดของยุง ส่วนยุงตัวผู้ตลอดอายุขัยจะกินอาหารจากแหล่งน้ำหวานของดอกไม้หรือพืชท่ีผลิต น้ำตาลในธรรมชาติ เชน่ เดยี วกนั กับยุงบางชนิดทต่ี ัวเมยี ไมก่ ดั ดูดเลือดคนหรือสตั ว์เลย ยุงตัวเมียวางไข่ประมาณ 30-300 ฟองต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับชนิดของยุงและปริมาณเลือดที่กิน เขา้ ไป ไขจ่ ะมีสขี าวหรือครมี เม่อื ออกมาใหม่ ๆ และในเวลาไมก่ ี่นาทีจะเปล่ียนเป็นสนี ้ำตาลหรอื น้ำตาล ดำไปจนถึงสดี ำ ไข่ยุงมีรูปร่างลักษณะหลายแบบขึ้นอยู่กับชนิด ยุงลายวางไข่บนวัตถุชื้น ๆ เหนือผิวน้ำ ยุง รำคาญวางไขต่ ดิ กันเป็นแพบนผิวนำ้ ยุงก้นปลอ่ งวางไขบ่ นผวิ น้ำ ส่วนยงุ เสือวางไข่ติดกนั 2.2 เร่อื งท่ี 2 โรคไขเ้ ลอื ดออก คือ โรคตดิ เชื้อซึ่งมีสาเหตุมาจาก ไวรัสเดงกี่ (Dengue virus) อาการของโรคน้ีมีความ คลา้ ยคลึงกับโรคไขห้ วดั ในชว่ งแรก จึงทำใหผ้ ปู้ ว่ ยเข้าใจคลาดเคลอ่ื นไดว้ ่าตนเป็นเพียงโรคไขห้ วดั และ ทำให้ไม่ได้รบั การรกั ษาทถี่ ูกต้องในทนั ที โรคไข้เลอื ดออกมีอาการและความรุนแรงของโรคหลายระดบั ต้งั แตไ่ ม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อยไปจนถงึ เกดิ ภาวะช็อกซึ่งเปน็ สาเหตทุ ่ีทำใหผ้ ปู้ ่วยเสียชวี ติ สถิติ ในปี พ.ศ. 2554 รายงานโดย กลุ่มโรคไข้เลือดออก สำนกั โรคติดตอ่ นำโดยแมลง กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า มอี ตั ราป่วย 107.02 และอตั ราป่วยตาย 0.10 ซ่ึงหมายความวา่ ใน ประชากรทุก
5 15 100,000 คน จะมีผู้ทป่ี ว่ ยเป็นไข้เลอื ดออกได้ถึง 107.02 คน และมผี เู้ สยี ชีวติ จากโรคนี้ 0.1 คน โรคไขเ้ ลอื ดออก ไวรัสเดงกี่ท่เี ปน็ สาเหตขุ องโรคไข้เลือดออกสามารถมชี วี ิตรอดและเพ่ิม จำนวนภายในตัวของยุงลาย ยุงลายจึงเปน็ พาหะของโรคไข้เลือดออก และกล่าวได้ว่าโรคไข้เลือดออก ตดิ ตอ่ จากคนสู่คน ยุงลายท่ีเป็นพาหะนี้มชี ่ือวา่ Aedes aegypti ยุงชนิดน้ีออกหากนิ เวลากลางวัน ยุง จะกัดและดูดเลือดทม่ี เี ชื้อไวรัสเดงกีจ่ ากผทู้ ่ีกำลงั ป่วยเป็นไขเ้ ลอื ดออก เมื่อยุงลายไปกดั คนใหม่ กจ็ ะ ถ่ายทอดเชอื้ ให้กบั คนท่ีถกู ยุงกดั ตอ่ ไปยงุ ลายอาศยั อยู่ในเขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ประเทศไทยจงึ เปน็ อกี บรเิ วณหน่ึงทมี่ ีการระบาดของโรคนค้ี ่อนข้างสงู โดยพบการระบาดมากทีส่ ดุ ในฤดูฝน ชว่ งอายุ ของคนท่ีพบว่าปว่ ยเป็นโรคไข้เลอื ดออกมากที่สุด คอื คนอายุ 10-14 ปี รองลงมาคือ อายุ 15-24 ปี และ อายุ 5-9 ปี ตามลำดบั ส่วนช่วงอายุ 0-4 ปี และมากกว่า 25 ปี จนถึง 65 ปี เปน็ ช่วงอายทุ ่ีพบ ผปู้ ว่ ยโรคไขเ้ ลือดออกจำนวนน้อยที่สดุ 2.3 เรือ่ งที่ 3 มะกรดู เปน็ พืชในสกลุ สม้ (Citrus) มีถ่ินกำเนดิ ในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ใน เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ นิยมใช้ใบมะกรูดและผวิ มะกรดู เป็นส่วนหน่งึ ของเคร่ืองปรงุ อาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้ว ยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนเี ซยี (โดยเฉพาะบาหล)ี 2.4 เร่อื งท่ี 4 เทียนหอม 4.1ความหมายของเทียนหอม เทยี นหอม หมายถึงผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากการนำพาราฟนิ และไขผึ้งมาหลอมละลายรวมกัน อาจเตมิ สแี ละเติมนำ้ มันหอมระเหย นำไปป้นั ด้วยมือ หรือหลอ่ แบบขนึ้ รูป หรือกดจากพิมพใ์ หม้ ี รปู ทรงตามต้องการอาจประกอบด้วยวัสดอุ ื่นเพ่ือให้ เกดิ ความสวยงาม เชน่ ดอกไม้แหง้ มีไส้เทยี น สำหรับจุดไฟ และมีกลนิ่ หอมของนา้ มันหอมระเหย เทยี นหอมแฟนซีเนน้ การใชป้ ระโยชน์และความ สวยงาม โดยมีกลิ่นหอม แบบสวย และอาจจะใช้ไลย่ ุงหรือแมลงได้อกี ด้วย 4.2 สรรพคุณของเทยี นหอม
6 16 1. มีความสวยงามภายในบรรยากาศตา่ งๆและสามารถสร้างแสงสว่างด้วยการจดุ ไฟ 2. สามารถใช้และประดบั ตกแต่งในสถานทต่ี ่างๆ เพื่อสวยงามและเป็นพิธีมงคล 3. สามารถดบั กลนิ่ ท่ีไม่พงึ ประสงค์ไดน้ ่ันเป็นเพราะวา่ เทียนหอมนั้นมีกลิน่ ทห่ี อม 4. สามารถจุดไล่ยงุ ได้ ซงึ่ การจุดไลย่ ุงน้นั จะเป็นเทียนหอมกลน่ิ มะกรดู 5. สามารถใช้เปน็ ของชำร่วยในงานเช่น งานแตง่ งาน และงานบวชตา่ งๆ 4.3 กล่ินของเทยี นหอมในรูปแบบตา่ งๆ 1.เทียนหอมกลิ่นมะกรดู เป็นเทียนหอมทีม่ ีกล่ินดีและสามารถไล่ยุงได้ และทำใหร้ สู้ ึกผอ่ นคลายและร้สู ึกวา่ บรรยากาศ เป็นธรรมชาตแิ ละด้วยตะไคร้หอมนน้ั ยุงจะไม่มาตอมและมากวนใจเราเลย 2.เทียนหอมกลิ่นมะกรูด เป็นกลน่ิ ทเ่ี ราสามารถทำจติ ใจให้สงบได้ เพื่อการควบคมุ อารมณท์ ่ดี ี และสามารถทำได้ดี สามารถทำใหห้ ลับสบายได้เพราะกล่นิ ของมะกรูดน้ันมีสรรพคุณทีส่ ามารถทำใหผ้ ู้ได้รับกล่ินนน้ั รู้สกึ สบายใจ 3.เทยี นหอมกลิ่นมะลิ สามารถทำใหเ้ รานั้นมีจติ ใจท่ีผ่อนคลายทำใหร้ ู้สึกสบายด้วยกลิ่นหอมออ่ นๆของมะลทิ ำให้ รูส้ กึ สบายไม่เศรา้ หมองเปน็ กล่นิ ท่เี หมาะสำหรบั งานท่เี ป็นมงคล 4. เทียนหอมกลิ่น เวตตเิ วิรธ์ เป็นกล่ินที่ให้รู้สกึ ความหวานของดอกไม้ ทำให้เราร้สู กึ สงบน่ิงและมีความสุข ซ่งึ ทมี่ าของกลน่ิ น้ีมาจากรากไม้ คาโมไมล์ ซึ่งคลา้ ยๆผลไมจ้ ากแอปเปิล 5. เทียนหอมกล่ินกุหลาบและคลาร่เี สจ เป็นกลิ่นทสี่ ามารถกระต้นุ และผลติ สารชนิดหนงึ่ ในร่างกายคอื ทาลามัส และมีการผลิตเอน เซปฟาลนี ขึน้ มา เพื่อใช้ในการผ่อนคลายอารมณ์ ซึ่งสามารถลดความตงึ เครยี ดไดเ้ ป็นอยา่ งมาก
7 17
18 บทที่ 3 วิธศี ึกษาคน้ คว้า กล่าวถงึ การดำเนนิ การโดยละเอียด 3.1 วิธกี ารดำเนนิ งาน 1. นำผิวเปลอื กมะกรดู ไปตากแดดทิ้งไวจ้ นแห้ง (ประมาณ 2 วนั ) แลว้ ปนั่ ละเอยี ด 2. ใส่น้ำลงในหม้อต้มนำ้ ให้ร้อน 3. ใสเ่ นอ้ื เทยี นลงไป ในหม้อ 43 กรมั คนเนื้อเทียนในหม้อ ให้ละลาย 4. เมือ่ เทยี นละลายแล้ว ใสผ่ วิ เปลือกมะกรดู 7 กรัม ลงไปในหมอ้ 5. ใช้ผา้ จับหมอ้ เทนำ้ เทยี นลงในแม่พิมพ์ท่ใี สไ่ ส้เทียนและทาด้วยนำ้ มนั ไวแ้ ลว้ ตง้ั ภาชนะในแนวนอนใหต้ กตะกอนข้างใดข้างหน่ึง ทิ้งไวป้ ระมาณ 2ช่วั โมงใหเ้ ทยี น แหง้ สนทิ 3.2 ประชากร/กลุม่ ตัวอยา่ ง เพอ่ื น 3.3 เครอ่ื งมอื หม้อ เตาแก๊ส ภาพ
4 19 ภาพท่ี 3-1……เตรียมของ…………. ภาพที่ 3-2 นำผวิ เปลือกมะกรดู ไปตากแดดท้ิงไวจ้ นแหง้
5 20 ภาพท่ี 3-3ใสเ่ นื้อเทียนลงไป ในหมอ้ 43 กรัม คนเนื้อเทยี นใน หม้อ ให้ละลาย ภาพท่ี 3-4เมอ่ื เทยี นละลายแลว้ ใส่ผิวเปลอื กมะกรดู 7 กรมั ลง ไปในหมอ้
6 21 ภาพที่ 3-5ผ้าจับหม้อ เทน้ำเทียนลงในแม่พิมพ์ ภาพที่ 3-6ตง้ั ภาชนะทิ้งไว้ประมาณ 2ช่ัวโมงให้เทียน แห้งสนทิ
7
22 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นคว้า จากท่ีไปปฏบิ ัตงิ านที่ศึกษา ณ โรงเรียนปวั และบ้านเจดชี ัย ผู้จดั ทำไดท้ ำโครงงานช่ือ เทียนหอมจากมะกรดู ไล่ยุง ซ่งมีวิธีการทำดงั น้ี 4.1 วัสดุอุปกรณ์ 1.เทยี น 43กรัม 2.วสั ดุแม่พิมพ์ 2 อัน 3.เตาแกส๊ 1หวั 4.หม้อ 1 ใบ 5.มะกรูด 7 กรัม 4.2 ขนั้ ตอนและวิธกี ารทำ 1……เตรียมของ………….
10 23 2 นำผวิ เปลอื กมะกรูดไปตากแดดทิ้งไวจ้ นแห้ง 3ใส่เนอ้ื เทียนลงไป ในหม้อ 43 กรมั คนเน้อื เทยี นในหม้อ ใหล้ ะลาย
11 24 4เมื่อเทยี นละลายแล้ว ใส่ผิวเปลอื กมะกรดู 7 กรมั ลงไปในหม้อ 5ผ้าจบั หม้อ เทนำ้ เทียนลงในแมพ่ ิมพ์
12 25 6ตง้ั ภาชนะทิ้งไว้ประมาณ 2ช่วั โมงใหเ้ ทียน แห้งสนิท
13 26 สรุปอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการทดลอง ในการทดลองใช้เทียนหอมมะกรูดไลย่ ุงนัน้ สามารถไลย่ ุงไดจ้ ริงโดยกล่ินหอมจากมะกรูดที่ยุงเกลียด เพ่ิมประสิทธภิ าพการออกฤทธดิ์ ว้ ยการเผาไหม้ของเทยี นไข ทำให้มะกรูดมีกลน่ิ ฉุนขึ้นนอกจากน้ี กลน่ิ หอมจากสมุนไพรทำให้ผู้ท่ีอยบู่ รเิ วณรอบๆเทียนไขนั้นรสู้ ึกผอ่ นคลายและไม่กังวลเร่ืองยุงกัด สารพิษตกคา้ ง 5.2 ปญั หาและอุปสรรคในการศึกษาค้นคว้า สอดคล้องหรอื ขัดแยง้ ในทางทฤษฎอี ย่างไร เทียนหอมสมนุ ไพรสามารถออกฤทธ์ไิ ลย่ ุงได้เนอื่ งจากมะกรูดหอมเป็นพืชท่ีมีกล่นิ ฉนุ และในมะกรูด หอมยงั มสี าร camphor, cineol, eugenol, citral และ linalool, citronellal และgeraniol ซึ่ง เปน็ สารสำคญั ท่ีใชใ้ นการไล่ยุงและแมลง ดงั น้นั เทียนหอมทีม่ สี ่วนผสมของมะกรูดหอมสามารถไล่ ยงุ ไดจ้ ริง 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา 1. สามารถนำสมนุ ไพรพ้ืนบา้ นชนิดอืน่ มาเปน็ ส่วนผสมได้ 2. การทำเทยี นหอมเราควรนำสมุนไพรท่อี บแห้งใสล่ งไปในเนอื้ เทียน หอมดว้ ย อาจจะได้กลนิ่ สมุนไพรมากขึ้น 3. ควรนำสมนุ ไพรหลายชนิดมาทำเทยี นหอมสมุนไพรเพ่ือเปรยี บเทียบกลนิ่ ทีไ่ ด้และรับความนยิ ม 4. เราสามารถเทียนหอมสมุนไพรเพ่ืองานอดิเรกและสามารถนำประกอบอาชพี ได้อกี ดว้ ย
27 บรรณานุกรม ภาษาไทย หนงั สือ () ชอื่ ผู้แตง่ . ช่ือหนงั สอื . พิมพ์ครัง้ ท่ี . จังหวัด ; สำนักพิมพ์ . ปี พ.ศ. ทพี่ ิมพ์ . ตวั อยา่ ง (1)ธนทั ชัยยุทธ . วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์พื้นฐาน . พมิ พ์ครั้งที่ 3 . กรงุ เทพมหานคร ; อักษรเจริญทัศน์ . 2545 . (2)ปรีชา ชนะสงคราม และ สมพล ศรีสะอ้าน . มอเตอร์กระแสตรงพื้นฐาน . กรุงเทพมหานคร ; ซี เอ็ดยูเคชั่น . 2545 . วารสาร ()ชื่อผู้แต่ง . \"ชือ่ เรอื่ ง\" . ช่อื วารสาร . ฉบบั ท่ี ; หนา้ ท่ี . ตัวอยา่ ง (3)ยืน ภู่สุวรรณ. \"การใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการเรยี นการสอน\". วารสารไมโครคอมพิวเตอร์. ฉบับที่ 126 กมุ ภาพนั ธ์ 2545 ; 120-129. เวบ็ ไซต์ https://projectsrepellentcandles.blogspot.com/?m=1&fbclid=IwAR22sXuO-B4_VeE5rPHJ7- l96bfQ5lGesNg6Ucn40kiKvNKiyfHxUrUvALY https://sites.google.com/site/theiynhxmliyung/bthkhadyx?fbclid=IwAR1ecvd2mHaxVuRrtXhqNeukT F633lIxkhUncLbNiZM-5A4M0d0Eia5CZxo https://sites.google.com/site/theiynhxmsmunphir305/
II 28 ประวัติผจู้ ดั ทำ ชื่อเรื่อง (เทียนหอมจากมะกรดู ไลย่ งุ ) 1.นางสาว พชิ ชาพร ขระเขอ่ื น ประวตั ิส่วนตวั วนั 24 เดอื น ธนั วาคม ปีทเี่ กิด 2546 อายุ 17 ท่ีอยู่ (160 หมู่ 3 ตาบลเจดยี ช์ ยั อาเภอปวั จงั หวดั น่าน 55120) ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชัน้ ป.6 ร.ร. บา้ นปรางค์ ปี พ.ศ.2561 ชน้ั ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ.2563 ชนั้ ม.5/7 เลขท่ี 7 2.นาย สนั ตริ าษฎร์ นนทจกั ร ประวัตสิ ่วนตัว วนั 13 เดอื น ตลุ าคม ปี ทีเ่ กิด 2546 อายุ 17 ทอ่ี ยู่ (113 หม2ู่ ตาบลอวน อาเภอปวั จงั หวดั น่าน 55120) ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ช้ัน ป.6 ร.ร. บา้ นน้ายาว ปี พ.ศ.2561 ช้นั ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ.2563 ชัน้ ม.5/7 เลขที่ 6 3.นางสาว นชั ชา แสนทรงสริ ิ ประวัติส่วนตวั วนั 27 เดอื น ธนั วาคม ปี ทเ่ี กิด 2546 อายุ 16 ทีอ่ ยู่ (283 หม่1ู ตาบลป่ากลาง อาเภอปวั จงั หวดั น่าน 55120) ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชัน้ ป.6 ร.ร. วรนคร ปี พ.ศ.2561 ชั้น ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ.2563 ช้ัน ม.5/7 เลขท่ี 11
III 19 4.นางสาว ณฐั ธรี า ศริ วิ ชิ ยานนั ท์ ประวตั สิ ว่ นตวั วนั 1 เดอื น มนี าคม ปี ทเ่ี กดิ 2547 อายุ 16 ทอ่ี ยู่ (007 หมู่ 14 ตาบลและ อาเภอท่งุ ชา้ ง จงั หวดั น่าน 55130) ประวตั กิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ชนั้ ป.6 ร.ร. บา้ นเวยี งสอง ปี พ.ศ.2561 ชนั้ ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ.2563 ชนั้ ม.5/7 เลขท่ี 12 5.นาย นันทพงศ์ ไขท่ า ประวตั สิ ว่ นตวั วนั 21 เดอื น เมษายน ปี ทเ่ี กดิ 2546 อายุ 17 ทอ่ี ยู่ (109 หม่2ู ตาบลศลิ าแลง อาเภอปวั จงั หวดั น่าน 55120) ประวตั กิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ชนั้ ป.6 ร.ร. วรนคร ปี พ.ศ.2561 ชนั้ ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ.2563 ชนั้ ม.5/7 เลขท่ี 24
IV
Search
Read the Text Version
- 1 - 32
Pages: