89 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ การดำเนินการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพของ นวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี วิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 5 ใหมีประสิทธภิ าพตาม เกณฑ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนและหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียน การสอนดว ยหองเรยี นออนไลน โดยใช Google Classroom และสอื่ เทคโนโลยี 3) เพื่อประเมินความ พึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรียน การสอนดวยหองเรียนออนไลน โดยใช Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เรื่องแกสละสมบัติ ของแกส กลมุ ตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี ไดแก นกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 5/8 โรงเรียนสีค้ิว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จำนวน 33 คน ที่ไดมาโดยวิธีการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใช นวัตกรรมการเรียนการสอนดวยหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี รายวิชา เคมี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เรื่อง แกสและสมบัติของแกส วิชาเคมี 3 ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เปน แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลือกตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 30 ขอ แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 5 ที่มีความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมการเรยี นการสอน ดวยหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี จำนวน 15 ขอ เปนแบบวัดชนิด มาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั วเิ คราะหขอมูลโดยคำนวณคาเฉลีย่ ( \"x\" ̅ ) รอยละ (%) สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบคา (t-test) สรปุ ผลการวจิ ัย 1. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชนวัตกรรม หองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 5 มีประสิทธภิ าพเทากบั 91.67/84.85 ซึ่งเปนไปตามเกณฑท ก่ี ำหนด 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรื่อง แกสและสมบัติของแกส ที่สอนดวยการจัดกิจกรรมการ เรียนรูโดยใชนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี หลังการจัด กิจกรรมการเรยี นรูสงู กวากอนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู อยางมีนยั สำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 3. ความพงึ พอใจของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 5 ทม่ี ีตอ การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใช นวัตกรรมหอ งเรยี นออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี อยใู นระดับมากทส่ี ุด
90 อภปิ รายผล ในการวจิ ัยเรอ่ื ง นวตั กรรมหอ งเรยี นออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เรื่อง แกสและสมบตั ิของแกส สำหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 นำผลมาอภปิ ราย ดงั นี้ 1. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรม หองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เรื่อง แกสและสมบัติของแกส สำหรับ นักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 5 มีประสทิ ธิภาพเทากับ 91.67/84.85 ซึ่งเปน ไปตามสมมติฐานที่กำหนด ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เรื่อง แกสและสมบัติของแกสนี้ ไดดำเนินการสรางตามขั้นตอน คือ ศึกษาขั้นตอนของการจัดทำนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี วิเคราะหและเลือกเนื้อหาที่จะนำมาสรางแผนการจัดการเรียนรู และจัดลำดับเนื้อหาโดยเรยี งลำดบั จากเนื้อหาที่งา ยไปสูเน้ือหาทีย่ ากขน้ึ ตามลำดับ จากนน้ั พจิ ารณาความสอดคลองของวัตถุประสงคกับ กิจกรรมการเรยี นรู ตลอดจนองคป ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู และนำแผนการจดั การเรียนรูที่ สรางขึ้นเสนอตอผูเชี่ยวชาญไดตรวจสอบและแกไขขอบกพรองในดานเนื้อหา จุดประสงค ภาษา ความเหมาะสมของกระบวนการเรียนรู และองคประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู นำไป ทดลองเพื่อหาขอบกพรองนำมาพัฒนาปรับปรุง จนไดแผนการจัดการเรียนรูที่มีองคประกอบท่ี สอดคลอ งกันและมปี ระสิทธภิ าพในการนำไปใช การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ซงึ่ สอดคลองกับคำ กลาวของ เสาวลักษณ ตรองจิตร (2547, หนา 312) ที่กลาววาแผนการจัดการเรียนรูที่ดีนั้นตองมี ความสอดคลองกับเรื่องที่จะสอนตรงตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและเหมาะสมกับผูเรียนเพื่อให เกิดประสิทธภิ าพในการสอน และเกดิ การเรยี นรขู องผเู รียนอยางสูงสุด ซ่ึงสอดคลองกับ อาภรณ ใจ เที่ยง (2550, หนา 312) ที่กลาวถึงองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูเพื่อใหเกิดแกผูเรียน และสงผลใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามจุดประสงคที่ตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพจะตอง ประกอบดวย 1) วิชา หนวยที่สอนและสาระสำคัญของเรื่อง 2) จุดประสงคการเรียนรู 3) เนื้อหา 4) กิจกรรมการเรียนรู 5) สื่อการเรียนรู และ 6) การวัดผล ประเมินผลการเรียนรู ซึ่งจากองคประกอบ ดังกลาวนี้ สอดคลองกับ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสอื่ เทคโนโลยี เร่อื ง แกสและสมบัติของแกส ที่ผูวิจัยสรา งข้นึ เหตุผลสำคัญอีกประการหนึ่ง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยนวัตกรรมหองเรียน ออนไลน Google Classroom และส่ือเทคโนโลยี เรื่อง แกสและสมบตั ิของแกส นเี้ ปนการจัดกิจกรรม การเรยี นรูทเี่ นน ผูเรียนเปน สำคัญ เปนการสง เสริมใหผเู รยี นรูจักการเรยี นรูรวมกันโดยใชกระบวนการ สบื เสาะหาความรู ฝก ปฏิบตั ิการทดลอง ทำงานเปน ทมี รวมกัน มกี ารแกปญ หาและเรยี นรเู ปนข้นั ตอน ตามลำดับ จึงชวยพัฒนาความสามารถในการเรียนรไู ดด ยี ิ่งข้นึ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แกสและสมบัติของแกส ที่สอนดวยการจัดกิจกรรม นวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู สูงกวากอนจัดกิจกรรม อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว ทั้งนี้ อาจเปนเพราะวาการจัดกิจกรรมการเรียนรูนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และ สื่อเทคโนโลยี มุงเนนใหผูเรียนรูจักการเรียนรูโดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู ฝกปฏิบัติการแก
91 โจทยปญหาและเรียนรูเปนขั้นตอนตามลำดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สุรศักดิ์ ทิพยพิมล (2560) ไดศึกษาการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช Google classroom ในรายวิชาคอมพิวเตอร กราฟก ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 พบวา นักเรียนที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรยี นรโู ดย ใชร ะบบจัดการเรียนการสอนออนไลน Google classroom รายวิชาคอมพวิ เตอรกราฟก โดยใชแบบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าคอมพิวเตอรกราฟก มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวชิ าคอมพิวเตอร กราฟก มคี า คะแนนผานเกณฑประเมนิ ทุกคน คดิ เปน รอยละ 100 รอ ยละของคะแนนทีเฉลย่ี ที่เพิ่มข้ึน 55.95 นักเรียนที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน Google classroom รายวิชาคอมพวิ เตอรกราฟก มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวิชาคอมพิวเตอรกราฟก กอน เรยี นและหลงั เรียนมคี วามแตกตางกัน โดยหลังเรยี นสงู กวา กอ นเรียนอยางมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว นักเรียนที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชระบบ จดั การเรยี นการสอนออนไลน Google classroom มีความพงึ พอใจของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช Google classroom ในรายวิชาคอมพิวเตอรกราฟก อยู ในระดบั มากท่ีสุด (������������=������ 4.57, S.D. = 0.55) ณัฐธิดา สุนทรธนผล(2550) ไดศึกษาการศึกษาความพึงพอใจของนิสิตตอการจัดการเรียน การสอนผานกูเกิลคลาสรูมรายวิชาประวัติดนตรีตะวันตก พบวา นิสิตมีความพึงพอใจตอการจัดการ เรียนการสอนผาน Google Classroom ในภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.91 สวน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .513 ดานการจัดการเรียนการสอนในภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉล่ีย เทากับ 4.03 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .719 หัวขอที่นิสิตมีความพึงพอใจตอการเรียนดวยวิธีน้ี ทำใหนิสิตรูจักเทคโนโลยีใหมๆ อยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.27 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ .975 ดานความปลอดภัยในการใชงานของระบบ ในภาพรวมอยูในระดับมาก มี คาเฉลย่ี เทา กับ 4.13 สว นเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา กับ .684 หัวขอท่ีนสิ ติ มคี วามพึงพอใจตอ การกำหนด ความเปนตัวตน อยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.24 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .684 ดานขอดีของ Google Classroom ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.29 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ .614 หัวขอที่นิสิตมีระดับความพึงพอใจตอความสามารถใช Google Classroom ไดทุกที่ ทุกเวลา ทุกอุปกรณสามารถใชงานไดจากสมารทโฟนและ Tablet pcอยูใน ระดับมากทส่ี ุด มคี า เฉล่ยี สงู สดุ เทา กบั 4.46 สวนเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา กบั .772 และดา นขอเสียของ Google Classroom ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.01 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากบั 1.10 หัวขอที่นิสิตมรี ะดบั ความคิดเห็นตอสัญญาณอินเตอรเ น็ตไมดี ทำใหเขาระบบ ยาก อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 3.67 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.32 สวน ขอเสนอแนะเพิ่มเติมพบวา นิสิตสามารถสงงานไดงาย สะดวก และไดทราบถึงงานตางๆ อยากให อาจารยนำ Google Classroom สอนในรุนตอๆ ไป เพราะมีประโยชนที่นิสิตจะกลับมาทบทวน วิชา อื่นๆ สามารถนำไปใชได และชอบวิธีการสอน โดยใชเทคโนโลยี อินเตอรเน็ต แตอยากใหเพิ่มเติม เน้ือหานอกสไลดม ากกวา น้ี เสมา สอนประสม (2559) ไดท าการศึกษาความพึงพอใจในการใชคลาสรมู ในวิชาฟสิกส1 สำหรับ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร โดยมีจุดประสงคเพื่อ ศึกษาความพึงพอใจในการใชคลาสรูม
92 ดว ยระบบ เครอื ขาย จำนวน 5 ขอ ดานความปลอดภัย จำนวน 2 ขอ และขอ ดขี อเสียของใชคลาสรูม จำนวน 7 ขอ กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาเปนนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรที่ลงทะเบียนเรียนวิชา ฟสิกส1 ปการศึกษา 2557 จำนวน 37 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการสราง แบบสอบถามคือ Google Forms สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คารอยละ คาเฉลี่ย สวน เบีย่ งเบนมาตรฐาน ไค-สแควร และระดับความ เชอ่ื มน่ั โดยใชสมการครอนบัค (Crobanch) เคร่ืองมือ ที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ Google Sheets และ Microsoft Excel ผลการทดสองทางสถิติพบวา การใชคลาสรูมในการเรียนวิชาฟส กิ ส1ดานระบบเครือขาย 53 หัวขอความสะดวกในการเขาถึงระบบ มีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 3.27 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.11 ดานความปลอดภัยหัวขอการ กำหนดสิทธิ์การใชงานมีคาเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 4.14 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 1.25 ขอดีของ การใชคลาสรูมหัวขอติดตามทบทวนเนื้อหาบางสวนที่ขาดหายไปมีคาเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 4.65 สวน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.42 ขอเสียของการใชคลาสรูมหัวขอนักศึกษาแยกตัวออก จากกลุมมี คาเฉลี่ยสงู สดุ เทา กับ 3.11 สว นเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากับ 1.37
93 ขอ เสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยการจัดกิจกรรมนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสื่อเทคโนโลยี เปนรูปแบบวิธีการเรียนรูอีกวิธีหนึ่งที่สงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของสูงกวาวิธีการเรียนรูแบบปกติ แตยังมีขอจำกัดของการเขาถึงหองเรียน Google Classroom เชน ความเสถียรของเครือขายอินเตอรเน็ต ความพรอมดานงบประมาณในการเติมเงิน หรือซื้อชั่วโมงอินเตอรเน็ตของนักเรียนบางสวน ดังนั้นครูผูสอนจึงควรจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ี สงเสริมใหผูเ รยี นเกดิ การเรียนรูไดทกุ ที่ทุกเวลา 2. ครูผูสอนควรเปนผูกระตุนใหผูเรียนชวยกันตั้งคำถามเพื่อนำไปสูการหาคำตอบและ เรียนรใู นสง่ิ ใหมๆ คอยช้แี นะแนวทางการเรยี นรูของผูเรียน รวมถึงการสง เสรมิ ความคิดนอกกรอบของ ผูเรียนที่สามารถปฏิบัติไดจริง โดยตองมีการเตรียมสื่อ อุปกรณ ใบงาน และใบความรูที่มีความ หลากหลายเพือ่ ใหผูเ รยี นไดใ ชค นควา อยา งเพยี งพอ ขอ เสนอแนะในการทำวิจัยในครั้งตอไป 1. ควรมกี ารวิจัยและพฒั นาวิธีการเรียนรนู วัตกรรมการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เนน ใหผูเรียนมีสวนรวมในชั้นเรียนมากขึ้นเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคตติ อ การเรยี นของผเู รยี นใหส งู ขน้ึ 2. ควรมีการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรูนวัตกรรมหองเรียนออนไลน Google Classroom และสอ่ื เทคโนโลยใี นเนอื้ หาอืน่ หรอื ระดับชน้ั อืน่ ๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: