หน่วยท่ี 3 วัสดุในงานเช่ือม ลวดเช่ือม Flux Core Wire วชิ า งานเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลุม 1
1 ใบเน้ือหา รหัสวิชา 2103-2006 วชิ างานเชอ่ื มอารก์ โลหะแกส๊ คลุม 1 สอนครงั้ ที่ 9 ช่อื หน่วย วัสดุในงานเชอ่ื ม เวลา 1 ชั่วโมง ชอื่ เร่ือง ลวดเชอื่ ม Flux Core Wire 3.3 ลวดเชื่อม Flux Core Wire ลวดเช่ือม Flux Core Wire มีลักษณะการนาแผ่นวัสดุท่ีทาลวดเชื่อมมาม้วนลักษณะเป็นท่อ พรอ้ มกับบรรจุฟลกั ซ์ลงไปในทอ่ ทาใหเ้ รยี กกนั ทว่ั ไปว่า ไส้ฟลกั ซ์ หรอื แกนฟลักซ์ (Flux Core) 3.3.1 การผลติ ลวดเชอ่ื ม Flux Core Wire ขั้นตอนการผลิตลวดเชื่อม Flux Core Wire ดังรูปท่ี 3.25 เร่ิมจากข้ึนรูปแผ่นโลหะด้วย ลกู กลงิ้ ใหเ้ ปน็ รูปร่องตัวยู แล้วจึงใส่ฟลักซ์ลงไปในร่องตัวยู หลังจากนั้นลูกกลิ้งจะรีดแผ่นโลหะรูปตัวยู ปิดหุ้มฟลักซ์ ขณะเดียวกันลวดเช่ือมก็วิ่งผ่านแบบเพื่อดึงลวดให้ได้ขนาดตามต้องการ ลวดเช่ือมบาง ชนดิ อาจจะตอ้ งทาการอบฟลกั ซใ์ นขณะทาการผลิต รปู ท่ี 3.25 กรรมวธิ กี ารผลติ ลวดเช่ือม Flux Core Wire รปู ท่ี 3.26 ลกั ษณะลวดเชอ่ื ม Flux Core Wire
2 รูปท่ี 3.27 ลกั ษณะลวดเช่ือม Flux Core Wire ท่บี รรจุในวงล้อพร้อมใช้งาน 3.3.2 ลักษณะตะเข็บของทอ่ ลวดเชือ่ ม Flux Core Wire ลวดเช่ือมจะถูกผลิตเป็นท่อ และมีผงฟลักซ์บรรจุอยู่ภายใน การผลิตได้มีแบบท่ีแตกต่าง กันออกไป เช่น แบบหลอดพับหรือลวดที่ทาเป็นท่อมีรูเล็กๆ ตามรูปท่ี 3.28 สารท่ีบรรจุอยู่ภายในท่อ เป็นผงฟลักซ์เป็นสารท่ีช่วยให้เกิดแก๊สคลุม เกิดประจุอิออนไนส์ได้สะดวกและให้ค่าคงที่และเป็นตัว ช่วยให้เกิดเปลวอาร์กท่ีดีและคงที่ จะมีธาตุผสมบางชนิดประกอบอยู่ด้วย ลักษณะตะเข็บลวดเชื่อม Flux Core Wire จะมลี ักษณะท่แี ตกต่างกัน 5 แบบ ทง้ั น้กี จ็ ะขึน้ อยูก่ ับลักษณะการใช้งาน a) แบบท่อไรต้ ะเขบ็ (Tubular Filling Wire) b) แบบทอ่ มีตะเขบ็ ซ้อนเกย (Overlap Wire) c) แบบท่อขอบตอ่ ชน (Tubular Buttedge Wire) d) แบบผนงั มว้ น (Folded Strip Wire) e) แบบผนังม้วนสองชั้น (Double Folded Strip Wire) รูปที่ 3.28 ลกั ษณะพน้ื ทหี่ น้าตดั ของลวดเชอ่ื ม Flux Core Wire (ที่มา : ยคุ ล จุลอุภยั , 2554) สาหรับประสิทธิภาพของอัตราเพ่ิมของลวด คิดจากน้าหนักของสารที่เติมอยู่ในไส้ลวด ซ่ึงจะมีชั้นคุณภาพท่ีแตกต่างกันออกไป ชนิดท่ีให้ค่าสูงสุด คือ ลวดแบบท่อมีตะเข็บซ้อนเกย (Overlap Wire) ตามแบบ b) มคี า่ ประมาณ 20 ถงึ 40% (นา้ หนักฟลักซ์ต่อน้าหนักแผ่นหุ้ม) จะให้ค่า ต่าลงมาคือ ลวดแบบผนัง (Folded strip Wire) ตามแบบ d) จะมีค่าประมาณ 20 ถึง 35% ค่าที่ให้
3 ต่าลงไปอีก คือ ลวดแบบท่อ (Tubular Filling Wire) ตามแบบ a) และแบบ c) ลวดแบบท่อขอบต่อ ชน (Tubular Buttedge Wire) จะมีค่าประมาณ 14 หรือ 25% แต่ถ้าเป็นลวดเช่ือมแบบผนังม้วน สองช้ัน ตามแบบ e) (Double folded Strip Wire) จะมคี ่าคุณภาพของการเติมจาก 30 ถึง 40% แต่ ท้ังนกี้ จ็ ะขน้ึ อยกู่ บั เหตผุ ลหลายด้าน ดังต่อไปนี้ 1) ถา้ ปรับค่ากระแสไฟเชือ่ มเพม่ิ สูงขนึ้ จะทาให้อตั ราการหลอมของลวดเชื่อมสงู ข้ึนตาม การเกดิ หลอมลกึ (Deep Penetration) กจ็ ะเพ่ิมสูงขน้ึ ดว้ ย 2) ถ้าใช้กระแสไฟเชื่อมสูงเกินไป ก็จะมีผลให้แนวเชื่อมนูนสูงขึ้นและผิวหน้าเกล็ดเชื่อม จะเละ (Poor Appearance) ถ้ากระแสไฟเช่ือมต่าเกินไป หรือไม่เพียงพอ จะมีผลให้การถ่ายเทหยด นา้ โลหะเกดิ เป็นหยดโตเกนิ และเกิดสะเก็ดเชื่อมกระเด็นมาก 3) ถ้าปรับกระแสไฟต่าเกินไป จะมีผลทาให้บ่อหลอมรับไนโตรเจนเข้าร่วมผสมในเน้ือ โลหะเชือ่ ม ทาให้เกิดรพู รุน (Porosity) ไดส้ ูงถ้าใชล้ วดเช่ือมแบบสรา้ งแกส๊ คลมุ ขนึ้ เอง 3.3.3 ธาตุผสมในลวดเช่ือม Flux Core Wire การพิจารณาว่าส่วนผสมของธาตุท่ีผสมลงไปในฟลักซ์ท่ีจะบรรจุลงไปในท่อแกนลวด เพ่ือ จะใหไ้ ดค้ ่าคณุ ภาพดีเปน็ พเิ ศษ ดังตารางท่ี 3.9 โดยมเี หตุผล ดงั นี้ คือ 1) ลวดเช่ือมสามารถเลือกใช้ส่วนผสมของธาตุต่างๆ เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมกับโลหะ ชน้ิ งาน 2) ประสทิ ธิภาพของการเชอ่ื มจะต้องใหอ้ ัตราหลอมลวดเช่อื มสงู สุด ให้การหลอมละลายที่ ดใี ห้ลกั ษณะของรอยเชอ่ื มดี 3) การผลิตลวดเช่ือมออกมาใช้จะต้องสามารถใช้ได้กับแก๊สคลุมภายนอกทุกชนิด และ ใช้ได้ผลดกี ับประเภททไี่ มต่ อ้ งใช้แกส๊ คลมุ ภายนอกไดด้ ้วย (Self Shielding) หน้าทขี่ องฟลักซ์สาหรับลวดเช่ือม Flux Core Wire 1) สามารถช่วยแบ่งชั้นคุณภาพของสมบัติทางกล ทางโลหะวิทยาและค่าทนต่อการกัด กรอ่ นของเนื้อโลหะเชอ่ื มได้ตามค่าส่วนผสมทางเคมที ปี่ รบั ใช้ 2) แก๊สคลุมจะทาหน้าที่ป้องกันเนื้อโลหะเชื่อมขณะหลอมมิให้แก๊สออกซิเจนและ ไนโตรเจนในอากาศเขา้ ไปรวมในบริเวณอารก์ 3) ฟลักซ์จะทาปฏิกิริยาช่วยแยกสารมลทินจากเนื้อโลหะเช่ือมที่กาลังหลอมให้รวมตัว กบั สแลกไดด้ ี 4) สามารถผลิตสแลกช่วยปกคลุมเนื้อโลหะเช่ือมท่ีกาลังจะแข็งตัวมิให้กระทบกับอากาศ และช่วยควบคมุ ให้ได้รูปทรงแนวเชือ่ มเกล็ดเชือ่ มในตาแหน่งท่าเชื่อมต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
4 5) ช่วยให้เปลวอาร์กนิ่งคงท่ีโดยได้รับกระแสไฟฟ้าป้อนเข้าอย่างสม่าเสมอ ซึ่งจะช่วยให้ เกิดสะเก็ดเช่ือมลดน้อยลง และช่วยให้เกิดอัตราการเติมของเน้ือลวดเช่ือมคงที่ เรียบน่ิง และได้ขนาด รอยเชื่อมสม่าเสมอ ตารางท่ี 3.9 แสดงรายการของธาตตุ ่างๆ ทผ่ี สมลงในฟลกั ซ์ของลวดเช่อื ม Flux Core Wire ธาตุ สภาพทใี่ ชง้ าน จดุ ประสงค์การใช้ในการเช่อื ม อะลูมิเนยี ม ทาเปน็ ผงโลหะ (Metal เปน็ ตวั Deoxidize และ Denitrify (Aluminium) Powder) แคลเซียม กลุ่มแร่ เชน่ Fluorspar (Caf2) ช่วยให้เกิดแก๊สคลุม และฟอร์มตัวเป็น (Calcium) และ Limestone (CaCo3) สแลก คารบ์ อน เป็นธาตผุ สมหรอื ทาเป็นผงโลหะ ช่วยให้เกิดความแข็งและความแข็งแรง (Carbon) เชน่ Ferromanganese สงู ขน้ึ โครเมยี ม เป็นธาตผุ สมหรอื ทาเปน็ ผงโลหะ ช่วยให้เกิดความต้านทานการคืบตัว (Creep (Chromium) (Metal Powder) Resistance เพิ่มความแข็งแรงและทนต่อ การกัดกร่อน (Corrosion Resistance) เหลก็ เปน็ ธาตผุ สม (Ferroalloys) เป็นตัวเสริมให้เกิดอัตราเพ่ิมเน้ือลวดเชื่อม, (Iron) และเปน็ ผงเหล็ก(Iron Powder) ผสมกบั นิกเกลิ หรือโลหะนอกกลุม่ เหล็ก แมงกานีส เปน็ ธาตผุ สม เช่น เป็นตวั Deoxidize ช่วยปอ้ งกบั การเกดิ แตก (Manganese) Ferromanganese หรือ ร้อน (Hot Crack) ในขณะผสมกับซัลเฟอร์ เป็นผงโลหะ ฟอร์มเปน็ สแลก โมลบิ ดินัม เป็นธาตุผสม (Ferroalloy) ผสมในเหล็กกล้าสแตนเลสออสเทนิติก เพ่ิม (Molybdenum) ค่าความต้านทานต่อการกัดกร่อนแบบรูเข็ม (Pitting) ให้ค่าความแข็งและความแข็งแรง สงู ขึ้น นิกเกิล เปน็ ผงโลหะ (Metal Powder) เป็นโลหะผสมช่วยให้ความแข็งแรง, ความ (Nickel) แข็งแรง, ความเหนียวรักษาสภาพท่ีดีและ ทนต่อการกดั กรอ่ น
5 ตารางท่ี 3.9 แสดงรายการของธาตตุ า่ งๆ ที่ผสมลงในฟลกั ซ์ของลวดเชอ่ื ม Flux Core Wire (ตอ่ ) ธาตุ สภาพทใ่ี ช้งาน จดุ ประสงค์การใชใ้ นการเชอ่ื ม โปแทสเซียม (Potassium) เป็นแร่ธาตุชนดิ หนึง่ สีขาวร่วม ช่วยให้เกิดเปลวอาร์ก น่ิง คงท่ี และฟอร์ม ซิลิคอน เป็นฐานอยูใ่ น Feldspars และ ตัวเปน็ สแลก (Silicon) Silicates โซเดียม (Sodium) เป็นธาตุผสม เชน่ Ferrosilicon เปน็ ตวั Deoxidize และฟอรม์ ตวั เปน็ สแลก ไทเทเนยี ม หรือ Silicomangnes, เป็นแร่ (Titanium) Silicates เชน่ Feldspar เซอรโ์ คเนยี ม (Zirconium) เป็นแร่ เชน่ โซเดียม ร่วมเป็น ชว่ ยให้เปลวอารก์ น่งิ คงที่ และฟอร์มตวั วาเนเดียม (Vanadium) ฐานอยูใ่ น Feldsparsและ เปน็ สแลก Silicate เป็นธาตผุ สม เชน่ เป็นตัว Deoxidize และตัว Denitrify Ferrotitanium รวมตัวอย่ใู นแร่ ฟอรม์ ตวั เป็นสแลกช่วยให้คาร์บอนเสถียรใน เรยี กวา่ Rutile เหล็กกล้าสแตนเลสบางตวั เปน็ Oxide หรอื เป็นผงโลหะ เป็นตัว Deoxidize และ Denitrify ฟอร์ม (Metal Powder) ตัวเป็นสแลก เป็น Oxide หรือเปน็ ผงโลหะ ช่วยใหเ้ กิดความแขง็ แรงสงู ข้ึน (Metal Powder) (ทม่ี า : ยคุ ล จุลอุภยั , 2554)
6 3.3.4 สัญลักษณ์ลวดเช่อื ม Flux Core Wire สาหรับเหลก็ กลา้ คารบ์ อน ตาม AWS A5.20-95 รูปท่ี 3.29 สญั ลักษณล์ วดเชื่อม Flux Core Wire สาหรับเหลก็ กลา้ คารบ์ อน ตาม AWS A5.20-95 (ท่มี า : ยคุ ล จลุ อภุ ยั , 2554)
7 ลวดเชื่อม Flux Core Wire ตาม AWS A5.20-95 นี้ มีรายละเอียดของข้อกาหนด การแบง่ ประเภทตามรายการดงั นี้ ความเหมาะสมของตาแหน่งทา่ เช่อื ม แสดงไว้ในตารางที่ 3.10 ความสามารถในการใชง้ านรวมไปถึงการใชห้ รือไม่ใชแ้ ก๊สคลุม แสดงไว้ในตารางที่ 3.10 รายการแสดงทางกลของเนอ้ื โลหะเชื่อม ถกู ระบไุ วใ้ นตารางท่ี 3.11 ตารางท่ี 3.10 แสดงตาแหน่งการเชอ่ื ม แก๊สคลมุ การต่อขัว้ เชอื่ ม และขอ้ กาหนดตา่ งๆ ในการ นาไปใช้งาน ของลวดเชอ่ื ม Flux Core Wire ตาม AWS A5.20-95 (ท่ีมา : ยคุ ล จุลอภุ ยั , 2554)
8 ตารางท่ี 3.11 แสดงสมบตั ิทางกลของโลหะลวดเช่ือม ตาม AWS A5.20-95 (ทมี่ า : ยุคล จลุ อุภยั , 2554) อธิบายสัญลักษณ์ลวดเช่ือม Flux Core Wire สาหรับเหล็กกล้าคาร์บอน ตาม AWS A5.20-95 ดังน้ี 1. EXXT-1 และ EXXT-1M เป็นลวดเช่ือมท่ีใช้แก๊สคลุมคาร์บอนไดออกไซด์ หรือแก๊ส ผสมอาร์กอน + คาร์บอนไดออกไซด์ ต่อข้ัวกระแสไฟเช่ือมแบบกลับข้ัว (DCRP) การส่งถ่ายน้าโลหะ แบบสเปรย์ สะเก็ดเชื่อมน้อย สแลกปกคลุมแนวเชื่อมท่ัวถึง ไส้ฟลักเป็นรูไทล์-ด่าง อัตราการหลอม ลวดสงู ลวดเช่ือม EXXT-1M จะใชแ้ กส๊ ผสม อาร์กอน 75-80% ท่เี หลอื เปน็ คารบ์ อนไดออกไซด์ 2. EXXT-2 และ EXXT-2M จะมคี า่ แมงกานสี และซลิ กิ อนสูง สามารถใช้เชื่อมโลหะ ช้ินงานทีม่ ีคราบสเกลและสนิมสูงหรอื มีวสั ดุแปลกปลอมอื่นๆ ไดด้ ี 3. EXXT-3 เป็นลวดเช่ือมที่ผลิตแก๊สคลุมได้เอง ต่อขั้วกระแสไฟเชื่อมแบบกลับขั้ว ให้การส่งถ่ายน้าโลหะแบบสเปรย์ สามารถเชื่อมด้วยความเร็วสูง เหมาะกับการเชื่อมในตาแหน่ง ทา่ ราบ ท่าตั้งและท่าระดับ 4. EXXT-4 เป็นลวดเชื่อมท่ีผลติ แกส๊ คลุมได้เอง ต่อข้ัวกระแสไฟเช่ือมแบบกลับข้ัว การส่ง ถา่ ยนา้ โลหะเป็นแบบหยด (Grobular Transfer) ไส้ฟลักซ์ทาให้เพ่ิมเน้ือโลหะเช่ือมมากขึ้น และทาให้
9 ธาตุกามะถันเหลืออยู่ในปริมาณต่าทาให้มีความต้านทานต่อการแตกร้อน ลวดเชื่อมน้ีถูกออกแบบให้ การหลอมลึกต่า 5. EXXT-5 และ EXXT-5M เป็นแก๊สคลุมท่ีมีสมบัติเหมือนกับลวดเช่ือมกลุ่ม EXXT-1 เหมาะสาหรับเชื่อมงานในตาแหน่งท่าราบ และท่าระดับของงานรอยต่อฟิลเลท ต่อขั้วกระแสไฟเช่ือม แบบตรงข้ัว (DCSP) ให้การส่งถ่ายน้าโลหะแบบหยด สแลกปกคลุมแนวเช่ือมบางเป็นสแลก หินปนู -ด่าง ฟลูออไรด์ มสี มบตั ิท่ีเหนือกวา่ ลวดเชือ่ มที่ให้สแลกรไู ทล์-ด่าง ทนทานตอ่ การแตกร้าวไดด้ ี 6. EXXT-6 เป็นลวดเชื่อมที่ผลิตแก๊สคลุมได้เองการต่อข้ัวกระแสไฟเช่ือมแบบกลับข้ัว (DCRP) การสง่ ถ่ายนา้ โลหะแบบสเปรย์ถกู ออกแบบให้ทนต่อแรงตีกระทบได้ดีโดยเฉพาะท่ีอุณหภูมิต่า การหลอมลึกดี สามารถกาจดั สแลกออกได้ดีเยย่ี ม ใช้เช่ือมในตาแหนง่ ทา่ ราบและทา่ ระดับ 7. EXXT-7 เป็นลวดเชอื่ มที่สามารถผลติ แกส๊ คลมุ ไดเ้ อง ต่อขว้ั กระแสไฟเช่ือมแบบตรงขั้ว (DCEN) ให้การส่งถ่ายน้าโลหะแบบหยดเล็กๆ จนถึงสเปรย์อัตราการหลอมลวดสูง ลดค่ากามะถัน ภายในเนอ้ื โลหะไดต้ ่ามากทาให้ตา้ นทานตอ่ การแตกรา้ วได้ดี ใช้เชอ่ื มในตาแหน่งท่าราบและทา่ ระดบั 8. EXXT-8 เป็นลวดเชอ่ื มทสี่ ามารถผลติ แกส๊ คลมุ ได้เอง ตอ่ ข้วั กระแสไฟเชื่อมแบบตรงข้ัว (DCEN) การส่งถ่ายน้าโลหะแบบเป็นหยดเล็กๆ หรือสเปรย์ เหมาะกับการเชื่อมทุกตาแหน่งท่าเชื่อม เน้อื โลหะเชื่อมมคี วามยืดหยนุ่ สงู ทนต่อการแตกรา้ วได้ดี 9. EXXT-9 เป็นลวดเช่ือมที่ใช้กับแก๊สคลุมคาร์บอนไดออกไซด์ และผสมอาร์กอนได้ เช่นเดียวกัน สามารถเช่ือมได้ไม่จากัดตาแหน่งท่าเชื่อม ถ้าเพิ่มอาร์กอนให้สูงขึ้นทาให้สมบัติทางกล สูงขึน้ สมบัติของแนวเชื่อมใกล้เคยี งกับลวดเชอื่ ม EXXT-1 และ EXXT-1M 10. EXXT-10 เป็นลวดเชื่อมท่ีสามารถผลิตแก๊สคลุมได้เอง ต่อข้ัวกระแสไฟเช่ือมแบบ ตรงข้ัว (DCEN) การส่งถ่ายน้าโลหะแบบสเปรย์ สามารถเชื่อมด้วยความเร็วสูงใช้เชื่อมงานต่างๆ ในตาแหน่งท่าราบ ท่าระดับและท่าตง้ั 11. EXXT-11 เป็นลวดเชื่อมที่สามารถผลิตแก๊สคลุมได้เอง ต่อขั้วกระแสไฟเช่ือมแบบ ตรงขวั้ (DCEN) การสง่ ต่อน้าโลหะแบบสเปรย์ เป็นลวดเช่ือมท่ีสามารถเชื่อมโดยทั่วไป โดยเฉพาะงาน หนาโรงงานผ้ผู ลติ ควรใหค้ าปรึกษาและให้คาแนะนาเพิ่มเติม 12. EXXT-12 และ EXXT-12M เป็นลวดเชื่อมที่มีคุณสมบัติเหมือนกับ EXXT-1 และ EXXT-1M แต่ไดม้ ีการพฒั นาดา้ นความเหนียว ความต้านทานตอ่ แรงกระแทก 13. EXXT-13 เป็นลวดเช่ือมที่ผลิตแก๊สคลุมได้เอง ต่อข้ัวกระแสไฟเชื่อมแบบขั้วตรง (DCEN) การส่งถ่ายน้าโลหะแบบลัดวงจร เชื่อมได้ทุกตาแหน่งท่าเชื่อมโดยเฉพาะแนวซึมลึก ใช้เช่ือม ท่อไดท้ ุกขนาด ไมแ่ นะนาใหใ้ ช้เช่ือมซอ้ นแนว 14. EXXT-14 เป็นลวดเชื่อมที่ผลิตแก๊สคลุมได้เอง ต่อข้ัวกระแสไฟเช่ือมแบบกลับขั้ว (DCEN) การส่งถ่ายน้าโลหะแบบสเปรย์ สามารถเชื่อมได้ทุกตาแหน่งท่าเช่ือมและเช่ือมได้ด้วย
10 ความเรว็ สูง ลวดเชือ่ มนี้ใชก้ ับงานหนาไม่เกนิ 4.8 มม. ลวดเช่อื มชนดิ นีม้ ีความไวตอ่ ผลกระทบต่อเหล็ก ทผี่ า่ นการชบุ แข็ง 15. EXXT-G เป็นลวดเช่ือมท่ีใช้สาหรับเชื่อมซ้อนแนวได้หลายเที่ยวเช่ือม แต่ไม่สามารถ ครอบคลุมข้อกาหนดในรายละเอียดได้ทั้งหมด ยกเว้นส่วนผสมทางเคมีของเหล็กกล้าคาร์บอนท่ี กาหนดค่าความแข็งไวอ้ ย่างชดั เจน แต่ถ้ามีความต้องท่ีไม่ได้กาหนดรายละเอียดเอาไว้ ให้เป็นข้อตกลง ร่วมกันระหว่างผ้ซู อ้ื และผู้ผลิต 16. EXXT-GS เป็นลวดเช่ือมที่สามารถเชื่อมได้แนวเดียว แต่ไม่สามารถครอบคลุม ข้อกาหนดในรายละเอียดได้ทั้งหมด ยกเว้นความแข็งแรงท่ีกาหนดไว้อย่างชัดเจน แต่ถ้ามีความ ตอ้ งการทไี่ มไ่ ดก้ าหนดในรายละเอยี ดไวใ้ หเ้ ป็นการตกลงกนั เองระหว่างผู้ซ้ือและผผู้ ลิต 3.3.5 สัญลักษณ์ลวดเชื่อม Flux Core Wire สาหรับเหล็กกล้าคาร์บอน ตามมาตรฐาน เยอรมนั (DIN 8559-1) SGR1 M1 Y42 5 4 ลวดเชื่อม Flux Core Wire ประเภทรูไทล์ (R) ประเภทของแก๊สคลมุ (M1 คือแกส๊ ผสม ถ้าเป็นแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ จะเป็นตวั C) ค่าแสดงสมบตั ิทางกลเป็นค่าความต้านแรงดึงท่ี จดุ ยดื (Yield Strength) ตา่ สดุ ของเนื้อโลหะเช่ือม ค่าความต้านการกระแทกท่ี 28J ณ อณุ หภมู ิ-40◦C คา่ ความตา้ นการกระแทกท่ี 47J ณ อณุ หภูมิ-30◦C รูปท่ี 3.30 สัญลกั ษณ์การแบ่งประเภทของลวดเช่อื ม Flux Core Wire ตาม DIN 8559-1 อ้างอิงตาม ISO 864 (ทมี่ า : ยคุ ล จุลอุภยั , 2554)
11 ตารางท่ี 3.12 แสดงส่วนผสมทางเคมีของเน้อื โลหะเช่ือมสาหรบั ลวดเชื่อม Flux Core Wire สญั ลักษณ์ สว่ นผสมทางเคมี Chemical Composition สว่ นผสมของ Symbol C Si Mn P≤ S≤ Cu≤ Ni≤ ธาตอุ ื่น SG R 1 0.05-0.12 0.2-0.6 0.8-1.4 0.03 0.03 0.03 0.7 Cr0.15 V1.03 Zr+Ti0.15 SG B 1 0.05-0.12 0.15-0.45 0.8-1.6 0.03 0.03 0.03 0.7 Al0.02 Mo0.15 (ท่มี า : ยุคล จลุ อภุ ยั , 2554) ตารางท่ี 3.13 แสดงตัวอยา่ งการเลือกใช้แก๊สคลุมให้เหมาะสมลวดเชอ่ื ม Flux Core Wire แสดงไว้ใน กล่มุ ท่ี 4 และ 5 กลมุ่ แสดงสญั ลักษณ์รว่ มกนั ของลวดและแก๊สคลุม คณุ สมบตั ิทางกลขอเน้ือโลหะเชือ่ ม 1 WSG1-1 Y 42 54 2 WSG2-1 Y 46 54 SG2-M2 Y 46 54 SG2-M3 Y 46 43 SG2-C Y 46 43 3 SG3-M2 Y 50 54 SG3-M3 Y 46 43 SG3-C Y 46 43 4 SGR1-C Y 42 21 5 SGB1-C Y 42 54 SGB1-M2 Y 42 54 (ทีม่ า : ยคุ ล จุลอภุ ยั , 2554)
12 ตารางที่ 3.14 แสดงค่าตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกนั ระหว่างเนอื้ โลหะเช่อื มจากตารางท่ี 3.13 มาพจิ ารณา รว่ มกนั กบั ชนดิ ของเหล็กกล้าเกรดตา่ งๆ ในการเลอื กใชล้ วดเชื่อมให้เหมาะสมกบั โลหะชน้ิ งาน (ทม่ี า : ยคุ ล จุลอภุ ยั , 2554)
13 3.3.6 สญั ลักษณล์ วดเชื่อม Flux Core Wire สาหรบั เหล็กกล้าคารบ์ อน ตามมาตรฐานญ่ีปุ่น (JIS Z3313) คา่ ความเคน้ แรงดงึ ต่าสุด อุณหภมู แิ ละพลงั งานการทดสอบแรงกระแทกของเนื้อเช่ือม YFW - C 50 2 R ชนดิ ของฟลกั ซ์ ชนิดแกส๊ คลุม ลวดเชือ่ มสาหรับเหล็กกลา้ ละมุนและเหลก็ กลา้ ความแขง็ แรงสูง (ทมี่ า : ยคุ ล จุลอุภยั , 2554) ตารางที่ 3.15 แสดงประเภทของลวดเช่ือม Flux Core Wire ชนดิ แก๊สคลุมและชนดิ ของเหล็กกลา้ ประเภทลวดเชื่อม แก๊สคลมุ ชนดิ ของเหล็กกล้า 1.YFW-C430X เหล็กกลา้ ละมนุ 2.YFW-C500X 3.YFW-C50DX เหลก็ กลา้ ละมนุ และเหลก็ กล้า 4.YFW-C502X ความแข็งแรงสงู ช้ัน 490 N/mm2 5.YFW-C50GX แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 6.YFW-C60EX 7.YFW-C60FX เหล็กกลา้ ความแข็งแรงสงู ช้ัน 8.YFW-C602X 590 N/mm2 9.YFW-C60GX 10.YFW-A430X เหลก็ กลา้ ละมนุ 11.YFW-A500X 12.YFW-A50DX แกส๊ ผสมอาร์กอน กับ เหล็กกล้าละมนุ และเหลก็ กล้า 13.YFW-A502X ความแขง็ แรงสูงช้ัน 490 N/mm2 14.YFW-A50GX คาร์บอนไดออกไซด์ 15.YFW-A60EX (Ar – CO2) 16.YFW-A60FX เหล็กกล้าความแขง็ แรงสูงช้นั 17.YFW-A602X 590 N/mm2 18.YFW-A60GX
14 ตารางท่ี 3.15 แสดงประเภทของลวดเช่ือม Flux Core Wire ชนิดแกส๊ คลมุ และชนิดของเหลก็ กลา้ (ตอ่ ) ประเภทลวดเช่ือม แก๊สคลุม ชนดิ ของเหลก็ กล้า 19.YFW-S430X เหล็กกลา้ ละมุน 20.YFW-S500X เหลก็ กล้าละมุนและเหลก็ กลา้ 21.YFW-S50DX ไมใ่ ช้แก๊สคลมุ ภายนอก ความแขง็ แรงสูงชั้น 490 22.YFW-S502X N/mm2 23.YFW-S50GX (ทม่ี า : ยุคล จลุ อภุ ยั , 2554)
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: