หน่วยท่ี 1 หลักการเช่ือม ความปลอดภยั ในงานเช่ือม
1 ใบเน้ือหา รหสั วิชา 2103-2006 วิชางานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม 1 สอนคร้ังที่ 1 ช่ือหนว่ ย หลักการเชอ่ื ม เวลา 1 ชวั่ โมง ช่ือเร่ือง ความปลอดภัยในงานเช่อื ม 1.1 ความปลอดภัยในงานเชอ่ื ม 1.1.1 อันตรายที่เกิดจากการเช่ือม งานเช่ือมเป็นงานที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายได้จากหลายๆ ด้าน เช่น อันตรายจาก ควันและแก๊สจากการเช่ือม อันตรายจากไฟฟ้าดูด อันตรายจากรังสีและแสง อันตรายจากความร้อน การปฏิบัติงานเช่ือมจึงต้องระลึกอยู่เสมอว่าทาอย่างไรให้เกิดอันตรายน้อยท่ีสุดหรือไม่ให้เกิดข้ึนเลย การปฏบิ ัติตามหลักความปลอดภัย การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันจึงเป็นเรื่องสาคัญ งานเชื่อมอาร์กโลหะ แกส๊ คลุมและงานเชอื่ ม Flux Core Wire มีอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นเหมือนกับการเชื่อมโลหะด้วยการ อาร์กแบบอื่นๆ ซงึ่ พอจะสรุปออกมาได้ดงั นี้ 1.1.1.1 อันตรายท่ีเกิดจากกระแสไฟฟ้าและการป้องกัน ระบบไฟฟ้าของการเช่ือมแบบ อาร์กจะเริ่มจากแหล่งจ่ายไฟและจบลงที่สายดินหรือกราวด์ กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านสู่ชิ้นงานและ จะต้องไหลลงสู่ดินหรือกราวด์เพื่อให้วงจรสมบูรณ์ การไหลของกระแสไฟจะเลือกทางเดินท่ีสะดวก ที่สุด ด้วยเหตุนี้การลัดวงจรก็จะเกิดข้ึนเม่ือกระแสไฟมีทางเดินที่สะดวกกว่าโดยเฉพาะส่วนของ ร่างกาย จึงเป็นเหตุให้เกิดกระแสไฟฟ้าดูด ในการปฏิบัติงานเช่ือมให้ปลอดภัยจึงมีข้อควรระวัง และ หาทางป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าดูดจากหลายกรณี เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานเชื่อมได้รับอันตราย จากกระแสไฟฟา้ ดงั กลา่ ว ใหป้ ฏิบัตดิ ังน้ี 1) เครื่องเช่ือม (Welding machine) และอุปกรณ์ไฟฟ้า จะต้องต่อผ่านสวิทซ์ตัดไฟ แยกจากสายไฟฟา้ เมน ต้องตดิ ตงั้ ให้สามารถใชง้ านไดส้ ะดวกเมอ่ื เกิดเหตุฉุกเฉิน 2) สายไฟฟา้ ท่ีตอ่ เขา้ เครอื่ งเชือ่ ม ควรมีทอ่ ร้อยสายและมีฉนวนหุ้มท่ีหนาพอที่จะใช้กับ ไฟฟ้าแรงสูง 3) สายไฟฟ้าและอุปกรณไ์ ฟฟา้ ตา่ งๆต้องไมช่ ารดุ เสียหาย 4) บริเวณที่ปฏิบัติงานเชื่อมควรเป็นที่แห้งไม่ชื้นแฉะ ซึ่งทาให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร หรือ ดูดผปู้ ฏิบัติงานได้ 5) ผ้ปู ฎบิ ตั ิงานเชอื่ ม จะต้องสวมใสเ่ สื้อผ้าและรองเทา้ ทแ่ี หง้ 6) ควรปิดสวิทซ์หรือดึงปล๊ักซ์ไฟออก ก่อนทจ่ี ะตรวจซอ่ มเครื่องเชอื่ ม สายไฟฟ้าและ อุปกรณ์อื่นๆทเี่ กีย่ วข้องกับกระแสไฟฟ้า 7) อย่านาหัวเช่อื มจุ่มน้า เพอ่ื ทาให้หัวเชือ่ มเย็น
2 รปู ที่ 1.1 อันตรายจากกระแสไฟฟ้าดดู (ที่มา : https://www.google.com/search?q=lnms&tbm=isch&sa=X&ved) 1.1.1.2 อันตรายท่ีเกิดจากแสง รังสีและการป้องกัน การเช่ือมอาร์กไฟฟ้าจะ ก่อใหเ้ กิดแสงและรงั สที เ่ี ปน็ อนั ตรายต่อผู้ปฏิบัติงานเช่ือมและผู้ที่อยู่ใกล้ๆ แสงเมื่อส่องสว่างไปกระทบ ดวงตา ทาให้ตาพรา่ มัวชว่ั ขณะหนึง่ เกิดอาการปวดกระบอกตา มึนศีรษะ ซ่ึงไม่มีอันตราย ส่วนรังสีจะ ทาให้เกิดอันตรายต่อส่วนของร่างกายทั้งผิวหนังและดวงตา รังสีจากการเช่ือมท่ีก่อให้เกิดอันตราย มดี งั น้ี 1) รังสีอินฟราเรด (Infrared rays) เป็นรังสีที่ให้ความร้อนสูงเม่ือถูกส่วนของร่างกาย จะทาผิวหนงั ถกู เผาไหม้ ถูกบรเิ วณตาจะทาให้เกิดการอักเสบได้ ถ้าสะสมในปริมาณมากขึ้น อาจทาให้ ดวงตาเปน็ ตอ้ กระจกได้ รงั สอี ินฟราเรดน้ีมผี ลร้ายแรงทสี่ ดุ เมอ่ื เปรยี บเทียบกับรงั สีอืน่ 2) รังสีอัลตร้าไวโอเลต (Ultraviolet rays) รังสีน้ีจะทาอันตรายต่อผิวหนังและตาที่ไม่ มสี ่ิงป้องกันจะทาให้ผิวหนังถกู เผาไหมแ้ ละเกิดระคายเคอื งในเบ้าตาคล้ายกับมีเม็ดทรายเข้าไปอยู่ในตา อาการดงั กล่าวจะเกิดขึ้นนานประมาณ 6 ถงึ 24 ช่วั โมง ภายหลงั การได้รับรังสีและจะดีขึ้นจนเป็นปกติ ในเวลาประมาณ 48 ชวั่ โมง นอกจากน้นั ยังมผี ลใหผ้ ิวหนังทีไ่ ด้รับรงั สีนีโ้ ดยตรงเกดิ การไหมเ้ กรียมอย่าง รวดเร็ว อาจเกดิ โรคมะเรง็ ผิวหนังได้ การป้องกันอนั ตรายรงั สจี ากการเชื่อม ใหส้ วมใสช่ ดุ ปฏิบัตงิ านเชื่อมทเ่ี หมาะสมสามารถ ป้องกันรังสีต่อส่วนของร่างกายได้ ประกอบด้วย เสื้อหนัง ปลอกแขนและถุงมือเช่ือม เพื่อป้องกันรังสี ทจ่ี ะมาทาอันตรายต่อสว่ นลาตวั แขนและมือ ปอ้ งกนั ส่วนของใบหน้าและดวงตาด้วยหน้ากากเช่อื ม
3 รูปท่ี 1.2 อันตรายจากรังสีทเี่ กดิ จากการเช่ือม กรณีไมส่ วมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกนั (ที่มา : https://www.google.com/search?biw=1280&bih=694&tbm=isch&sa=1&ei= rhvUWo6YLonXvgS3jJuIBA&q=welding+no+helmet&oq) 1.1.1.3 อันตรายจากความร้อน การลุกไหม้ การระเบิดและการป้องกัน การเช่ือมโลหะด้วยการอาร์กไฟฟ้า ย่อมทาให้เกิดประกายไฟ สะเก็ดไฟกระเด็น ชิ้นงานเช่ือม มีความร้อนสูง ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดไฟไหม้และการระเบิดได้ เพื่อป้องกันอันตรายจากความร้อน การลุกไหมแ้ ละการระเบิด ให้ปฏิบัติดังนี้ 1) ความร้อนท่ีเกิดจากกระเด็นของสะเก็ดเชื่อม ซ่ึงจะกระเด็นไปรอบๆ บริเวณ การเช่ือม ป้องกันอันตรายโดยการสวมใส่ชุดปฏิบัติงานเช่ือมที่ป้องกันครบทุกส่วนของร่างกาย ได้แก่ เสื้อหนงั ปลอกแขน ถงุ มือหนัง รองเทา้ หนังพร้อมหน้ากากเชอ่ื ม 2) ความร้อนจากชิ้นงานเชื่อมและวัสดุข้างเคียง อาจทาอันตรายได้เมื่อมือไปจับโดย ไม่ได้สวมถงุ มอื หนัง ระลึกอยู่เสมอว่าบริเวณปฏิบัติงานเช่ือมเกิดความร้อนอยู่ตลอดเวลา จะต้องใช้ถุง มอื หนังในการจับต้องอปุ กรณ์ต่างๆ ควรใชค้ มี สาหรบั จบั ชิ้นงานร้อน 3) บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมและข้างเคียง จะต้องไม่มีวัสดุติดไฟและไวไฟ ทกี่ ่อใหเ้ กิดการลุกไหม้ได้ เชน่ กระดาษ ไม้ กระป๋องสแี ละนา้ มันต่างๆ 4) วัสดทุ นี่ ามาเช่ือมต้องไม่มคี ราบน้ามนั และสจี ะทาให้เกิดการลุกไหมแ้ ละระเบิดได้ 5) ห้ามทาการเชื่อมในตู้หรือถังที่ปิดมิดชิด โดยปราศจากช่องระบายอากาศ และเมื่อ จะเชอ่ื มงานประเภทน้ีตอ้ งใช้ความระมดั ระวงั เปน็ พิเศษ 6) ตดิ ตง้ั อุปกรณ์ดบั เพลิงไวใ้ นบรเิ วณพ้นื ทีป่ ฏิบัติงานเชอ่ื ม
4 รูปที่ 1.3 อันตรายจากไฟลกุ ไหม้ทเี่ กิดจากการเชื่อม (ท่มี า : https:// www.google.com/search?biw=1280&bih=694&tbm=isch&sa=1&ei= NfjTWt6mC4XlvgS00on4BQ&q=dangerous+fire+welding&oq) 1.1.1.4 อันตรายจากควัน ไอระเหยและการป้องกัน การเชื่อม Flux Core Wire จะเกิด ควันจากการอาร์กเหมือนกันการเช่ือมไฟฟ้าด้วยลวดเช่ือมท่ีมีสารพอกหุ้ม อันตรายจะมากหรือน้อย ขึ้นอยกู่ ับธาตใุ นวสั ดุเชอ่ื มและธาตุทบี่ รรจใุ นฟลักซ์ การเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม ควันที่เกิดจากการเช่ือมมีน้อย และควันที่เกิดข้ึน มาจาก ชนดิ ของวสั ดุท่ีใชเ้ ช่ือม อนั ตรายทีเ่ กิดจากควนั และแก๊สจากการเชอ่ื มโลหะ มดี ังนี้ 1) ควันที่เกิดจากการเช่ือมเหล็กเป็นควันของเหล็กออกไซด์ ปกติแล้วจะไม่เป็น อันตราย 2) ควนั ท่เี กิดจากการเชื่อมทองแดง ปกตแิ ล้วออกไซด์ของทองแดงน้ันไม่มีอันตราย แต่ เมื่อเช่ือมทองแดงในท่ีจากัดโดยไม่มีการระบายอากาศก็สามารถทาให้เจ็บป่วยได้ซ่ึงมีอาการคล้ายกับ การหายใจเอาควนั สงั กะสีเข้าไป 3) ควันท่ีเกิดจากการเชื่อมสังกะสี หากทาการเชื่อมในบริเวณที่จากัดและการถ่ายเท อากาศไม่ดีพอ ซึ่งจะทาใหช้ ่างเชอ่ื มมอี าการผิดปกติข้ึน ไดแ้ ก่ ปวดศีรษะ เป็นไข้ และแนน่ หนา้ อก 4) ควนั ทเ่ี กิดจากการเชอ่ื มตะกั่ว เป็นอันตรายตอ่ รา่ งกาย ควันของตะก่ัวท่ีสูดดมเข้าไป จะสะสมในทุกส่วนของอวัยวะรวมท้ังกระดูกด้วย ทาให้มีอาการท้องผูก คล่ืนไส้อาเจียน และอาการ อื่นๆ อีกมาก 5) ควนั ที่เกดิ จากการเชื่อมแมงกานีสและแมงกานีสผสม เป็นอันตรายต่อระบบหายใจ และเกดิ การเปลีย่ นแปลงในระบบประสาทของผ้ปู ฏบิ ัติงานเช่อื ม 6) ควันท่ีเกิดจากการเช่ือมแคดเมียม เกิดจากโลหะท่ีชุบหรือเคลือบไว้ด้วยแคดเมียม ได้รับความร้อนจะเกิดควันท่ีเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง การเชื่อมแคดเมียมน้ันจะต้องจัดระบบระบาย อากาศให้ดีพอ และยังมีวัสดุบางชนิดที่เคลือบไว้ด้วยปรอท เม่ือนามาเชื่อมจะเกิดควันท่ีเป็นอันตราย เช่นเดยี วกัน
5 7) ควันท่ีเกิดจากการเช่ือมโลหะอื่น เช่น อะลูมิเนียม ไททาเนียม โครเมียม นิกเกิล และ วานาเดียม ถึงจะไม่เปน็ อนั ตราย แตใ่ นการเชือ่ มโลหะทุกชนดิ ตอ้ งใหม้ ีอากาศบริสุทธ์ิเพียงพอเพื่อ สุขภาพของผู้ปฏบิ ตั ิงานเช่ือมเอง 8) แก๊สคลุมท่ีใช้ในกระบวนการเชื่อมแม้ไม่มีอันตราย ถ้าหากสูดดมเข้าไปจานวนมาก ทาใหร้ ่างกายขาดออกซิเจน อาจจะทาใหห้ มดสตไิ ด้ 9) แก๊สไนโตรเจนออกไซด์ อาจเกิดได้ขณะทาการเชื่อมจะก่อให้เกิดการระคายเคืองที่ ตา จมกู และลาคออาจทาใหห้ มดสตไิ ด้ รปู ที่ 1.4 ควันและไอระเหยท่ีเกดิ จากการเช่อื ม (ท่มี า : https://www.google.com/search?biw=1280&bih=645&tbm=isch&sa=1&ei= PP7TWphaw9OBPTKnYAO&q=fume+safety+welding&oq) จากปญั หาอนั ตรายจากควันและแกส๊ ควรจะหลีกเลี่ยงการสูดดมควันโดยตรง ควรหาผ้ามา ปิดจมูกไว้ หรือถ้าเช่ือมในบริเวณพ้ืนท่ีจากัด ควรต้องให้อากาศจากภายนอกหมุนเวียนเข้ามาอย่าง สม่าเสมอ และควรมีผู้อยู่ข้างนอกหน่ึงคน คอยให้ความช่วยเหลือเม่ือจาเป็น การเช่ือมโลหะจาพวก ตะกั่ว ทองแดง แคดเมยี่ ม และสังกะสี ควรมีเครื่องมือพิเศษเปน็ ตวั ดูดควัน 1.1.1.5 อันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้เคร่ืองมืออื่นๆ และการป้องกัน อันตรายท่ี เกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือจะเกิดขึ้นขณะเตรียมงานเชื่อม ระหว่างการเช่ือมและภายหลังการเช่ือม เสร็จแล้ว ซง่ึ อาจจะมอี ันตรายเกิดขนึ้ ได้ดังนี้ 1) การตัดวัสดุเหล็กกล้าท่ีใช้เชื่อม ต้องระมัดระวังอันตรายจากการใช้เคร่ืองมือ เคร่อื งจกั รทม่ี ีคม ใช้เครื่องตัดตามวธิ ีการใชต้ ามคาแนะนาของครูผูส้ อน 2) การใช้เครื่องเจียระไนมือถือ ในการเตรียมงานเช่ือมนอกจากจะต้องระมัดระวังใน เรื่องกระแสไฟฟา้ ดดู แลว้ ต้องระมัดระวังในการใช้ ดังน้ี (1) ต้องแนใ่ จวา่ เครือ่ งเจียระไนมีความพร้อมทีจ่ ะใชง้ าน
6 (2) การถอดและประกอบแผน่ เจียระไน จะต้องถอดปลกั๊ ซ์ไฟฟ้าทกุ ครง้ั และ ประกอบให้แนน่ ด้วยประแจเฉพาะ (3) ปฏบิ ตั กิ ารเจียระไนตามหลักวิธีการเพ่อื ความปลอดภยั ใสช่ ุดปอ้ งกันพร้อม แวน่ ตานิรภัย (4) มแี ผงกั้นหรือมา่ นทนไฟ เพอื่ ปอ้ งกนั สะเก็ดไฟจากการเจียระไน ไมใ่ ห้เกิด อนั ตรายต่อบคุ คลอนื่ และสิ่งของข้างเคยี ง 3) การใช้คีมตัดปลายลวดเชื่อม จะต้องระมัดระวังการกระเด็นของปลายลวดเชื่อม อาจเป็นอนั ตรายต่อตนเองและผูอ้ ่นื เมอ่ื ทาการตดั ให้เบี่ยงหวั เชื่อมลงหาพ้ืน 4) การใช้ค้อนและสกัดทาความสะอาดผิวชนิ้ งาน ระมดั ระวงั การกระเดน็ ของเม็ดโลหะ กระเดน็ ใสต่ นเองและผูอ้ ่ืนและระวังค้อนทบุ มือตนเอง 5) อันตรายท่ีอาจจะเกิดจากการวางช้ินงาน เครื่องมืออุปกรณ์บนโต๊ะที่เส่ียงจากการ ตกใส่หล่นเป็นอันตรายต่อส่วนของร่างกาย ผู้ปฏิบัติงานเชื่อมจะต้องระมัดระวังในการใช้เคร่ืองมือ อุปกรณด์ งั กล่าว 6) ท่อบรรจุแก๊ส แม้ว่าแก๊สที่ใช้จะไม่ใช่แก๊สไวไฟ ก็ต้องใช้แก๊สโดยระมัดระวังที่สุด จะต้องเคล่อื นยา้ ยท่อบรรจุแกส๊ อย่างถูกวธิ แี ละติดตง้ั โดยมีสายรดั กนั ลม้ 1.1.2 อุปกรณค์ วามปลอดภัยส่วนบคุ คล อุปกรณ์ป้องกันสาหรับผู้ปฏิบัติงานเชื่อม เพ่ือป้องกันอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับ อวยั วะทกุ สว่ นของร่างกาย ควรสวมใส่ชุดปฏิบตั ิงานเช่ือมและอปุ กรณ์ป้องกันให้ครบทกุ สว่ นมีดังน้ี รูปท่ี 1.5 สวมใส่ชดุ ปฏิบัตงิ านเช่อื มและอุปกรณ์ป้องกนั 1.1.2.1 เอ๊ียมหนัง ทาจากวัสดุท่ีทนความร้อนท่ีเป็นหนังแท้หรือหนังเทียมก็ได้ใช้ สาหรับป้องกันสะเก็ดโลหะร้อน ความร้อนและรังสี ที่จะทาให้เกิดอันตรายต่อส่วนลาตัวผู้ปฏิบัติงาน
7 เชื่อมและความเสียหายต่อเสื้อผ้าผู้ปฏิบัติงาน ฉะนั้นทุกคร้ังที่ลงปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานเช่ือมต้องสวม ใสท่ กุ ครง้ั เพ่อื ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน รูปที่ 1.6 ลกั ษณะเอ๊ียมหนงั 1.1.2.2 ปลอกแขน ใช้สาหรับป้องกันสะเก็ดโลหะร้อน ความร้อนและรังสีท่ีจะเป็น อนั ตรายต่อแขนช่วงบนและแขนชว่ งล่าง ปลอกแขนโดยทว่ั ไปทาจากวสั ดทุ ี่ทนต่อความร้อน ไม่ติดหรือ อาจจะเป็นปลอกแขนทท่ี าจากผา้ หนาๆ กไ็ ด้ รูปท่ี 1.7 ลักษณะปลอกแขน 1.1.2.3 ถุงมือเช่ือม (Welding Gloves) เป็นอุปกรณ์ป้องกันที่สาคัญอีกอย่างหน่ึง ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมถุงมือทุกครั้งเมื่อปฏิบัติงานเชื่อมเพ่ือป้องกันความร้อนและสะเก็ดโลหะจาก การเชื่อมโลหะ มือเป็นอวัยวะที่ได้รับความสูงกว่าร่างกายส่วนอ่ืนๆ วัสดุท่ีใช้ทาถุงมือจะต้องทาจาก หนังแท้หรืออาจเป็นวัสดุอื่นท่ีทนความร้อนได้เป็นอย่างดี มีทั้งชนิดยาวและสั้น ควรใช้ถุงมือหนังชนิด ยาวเพื่อป้องกันความรอ้ นไปถงึ ปลายแขน ปัจจุบันได้มีการผลิตถุงมือมากมายหลายชนิด โดยเฉพาะได้ นาฉนวนกนั ความรอ้ นอย่างดีมาเย็บเปน็ ถงุ มอื
8 รปู ท่ี 1.8 ลกั ษณะถุงมอื หนัง 1.1.2.4 ถุงมือผ้า เป็นอุปกรณ์ป้องกันสาหรับการปฏิบัติงานท่ีไม่เก่ียวกับความร้อน โดยท่ัวไปใช้ถุงมือผ้าป้องกันอันตรายจากครีบโลหะ วัสดุมีคมต่างๆ รวมไปถึงการป้องกันมือเป้ือนใน การหยบิ จบั ชนิ้ งาน รปู ที่ 1.9 ลักษณะถุงมือผ้า 1.1.2.5 หน้ากากเช่ือม เปน็ อุปกรณ์ป้องกันในขณะปฏิบัติงานเชื่อม เพื่อป้องกันรังสีท่ีเกิด จากการเช่ือมท่ีเป็นอันตรายต่อดวงตาและใบหน้า หน้ากากเชื่อม ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ตัวหน้ากากซึ่งใช้ป้องกันส่วนของใบหน้าและกระจกกรองแสงใช้ป้องกันดวงตา ประกอบอยู่ท่ีช่อง สาหรับมองการเชอ่ื ม หน้ากากเชือ่ มมี 2 แบบ คอื แบบมอื ถอื และแบบสวมศรี ษะ ดงั น้ี 1) หน้ากากแบบมือถือ การเช่ือมอาร์กโลหะแก๊สคลุมไม่ค่อยนิยมใช้ เพราะการใช้มือ ในการถือหน้ากากเชื่อม ทาให้การเช่ือมไม่ค่อยถนัดมือและการป้องกันอันตรายจากรังสี แสงและเม็ด โลหะเช่อื มไม่ดีพอ อย่างไรก็ตามผู้ปฏิบัติงานเช่ือมก็สามารถเลือกใช้หน้ากากแบบมือตามความจาเป็น ในบางโอกาส
9 รูปท่ี 1.10 ลกั ษณะหน้ากากแบบมือถือ 2) หน้ากากแบบสวมศีรษะ เหมาะสมสาหรับการใช้เช่ือมอาร์กโลหะแก๊สคลุม ซ่ึงผู้ปฏิบัติงานเชื่อมสามารถใช้มือทั้งสองในการจับหัวเช่ือมทาให้การเดินแนวเชื่อมมีความม่ันคง ตาแหน่งแม่นยา ไม่ต้องใช้มือในการถือหน้ากากเชื่อม หน้ากากแบบสวมศีรษะมีท้ังแบบธรรมดาและ แบบออโตเ้ ลนซ์ แบบสวมศีรษะ แบบออโต้เลนซ์ รูปที่ 1.11 ลักษณะหนา้ กากแบบสวมหัวและแบบออโตเ้ ลนซ์ หน้ากากเชื่อมทั้งแบบมือถือและแบบสวมศีรษะ จะมีส่วนประกอบที่สาคัญคือ กระจก กรองแสง เพ่ือลดความเข้มของรังสีและแสงขณะผู้ปฏิบัติงานทาการเชื่อม ทาให้มองเห็นการเช่ือมได้ อย่างชัดเจน ความเข้มของกระจกกรองแสงสาหรับการเช่ือมอาร์กโลหะแก๊สคลุม แบ่งเป็นนัมเบอร์ การเลือกใชข้ น้ึ อยู่กับความสูงตา่ ของกระแสไฟที่ใชเ้ ชอ่ื ม ดังตารางท่ี 1.1
10 ตารางท่ี 1.1 แสดงการเลอื กใช้นัมเบอรก์ ระจกกรองแสง กระแสไฟฟา้ (Amp) นัมเบอรค์ วามเข้มตา่ สุด นมั เบอรค์ วามเข้มของกระจกกรอง แสงท่เี หมาะสม ตา่ กว่า 60 7 - 60 - 160 10 11 160 - 250 10 12 250 - 500 10 14 1.1.2.6 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากเสียง ในการปฏิบัติงานเชื่อมก็อาจจะเกิดเสียง ซงึ่ เปน็ อันตรายตอ่ แกว้ หูได้ อาจเกดิ เสยี งดงั รนุ แรง หรอื ดังเปน็ เวลายาวนาน ทาให้ระบบการรับฟังของ ผู้ปฏิบัติงานเช่ือมเส่ือมลงได้ ท่ีมาของเสียงเช่น เสียงจากการสกัดหรือเคาะช้ินงาน เสียงจากการใช้ เคร่ืองเจียระไน เสียงจากการเช่ือม เป็นต้น อุปกรณ์ท่ีใช้ในการป้องกันเสียงมี 2 แบบคือแบบอุดหู (Ear pluge) และแบบครอบหู (Ear muffs) a) ท่ีครอบหู b) ทอี่ ดุ หู รูปที่ 1.12 ลกั ษณะอปุ กรณค์ รอบหแู ละอุดหู 1.1.2.7 หน้ากากสาหรับปิดปากปิดจมูก ในการปฏิบัติงานทั้งการเตรียมงานและ การเช่ือม จะเกิดฝุ่นละอองและควันจากการอาร์ก เป็นอันตรายต่อระบบหายใจ ทาให้เกิดโรคต่างๆ แม้วา่ จะมรี ะบบระบายอากาศหรือไม่ก็ตาม เพอื่ ความปลอดภัยจะต้องใชห้ นา้ กากหรือผ้าปดิ ปากปิดจมูก รูปที่ 1.13 ลกั ษณะผา้ ปิดปากปิดจมูก
11 1.1.2.8 รองเท้าหนัง เป็นอุปกรณ์ป้องกันท่ีสาคัญยิ่งโดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมท่ี เก่ียวข้องกับงานโลหะ จึงเป็นอุปกรณ์สาหรับป้องกันเศษวัสดุแหลมคมท่ีวางอยู่ภายในโรงงาน อตุ สาหกรรมและปอ้ งกนั สะเกด็ โลหะรอ้ นตกใสเ่ ท้าขณะปฏบิ ตั ิงานเช่อื ม รปู ที่ 1.14 ลักษณะรองเทา้ หนงั
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: