Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครั้งที่-12 สัญลักษณ์พื้นฐานในงานเชื่อม

ครั้งที่-12 สัญลักษณ์พื้นฐานในงานเชื่อม

Published by sm.yaosaeng, 2020-04-15 11:27:22

Description: ครั้งที่-12 สัญลักษณ์พื้นฐานในงานเชื่อม

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 4 ตาแหน่งการเช่ือมและสัญลักษณ์พนื้ ฐานในงานเช่ือม สัญลักษณ์พนื้ ฐานในงานเช่ือม วชิ า งานเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลุม 1 ครูสมหมาย เยาว์แสง

1 ใบเนอ้ื หา รหัสวิชา 2103-2006 วชิ างานเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลมุ 1 สอนครัง้ ที่ 12 ช่ือหนว่ ย ตาแหนง่ การเชอื่ มและสญั ลักษณ์พน้ื ฐานในงานเช่ือม เวลา 1 ชัว่ โมง ช่อื เรอ่ื ง สญั ลกั ษณ์พ้นื ฐานในงานเช่อื ม 4.2 สัญลกั ษณ์พืน้ ฐานในงานเช่ือม สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเชื่อมเป็นการใช้เคร่ืองหมายและตัวอักษรกาหนดลงในแบบงานเชื่อม แสดงให้รู้ถึงรายละเอียดของการเชื่อม เช่น วิธีการเช่ือม ขนาดแนวเชื่อมและรายละเอียดอ่ืนๆ ซึ่งสามารถแสดงให้เชอ่ื มชิ้นงานไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ มาตรฐานท่ีใช้ในการกาหนดสัญลักษณ์งานเชื่อมน้ันมี หลายสถาบัน ในหน่วยเรียนน้ีจะกล่าวถึงสัญลักษณ์งานเช่ือมตามมาตรฐาน AWS ของสมาคมการ เชื่อมของประเทศสหรัฐอเมรกิ า และมาตรฐานตาม ISO ของประเทศเยอรมัน ดงั น้ี 4.2.1 สัญลักษณ์งานเชื่อมตามมาตรฐาน AWS 4.2.1.1 สว่ นตา่ งๆ ของสญั ลกั ษณ์ ตามมาตรฐาน AWS สัญลักษณท์ ่ีใช้กาหนดขนาดในงานเช่ือม ตาม AWS ประกอบไปด้วยสว่ นต่าง ๆ 8 สว่ น ดังน้ี รูปท่ี 4.19 สว่ นต่างๆ ของสัญลกั ษณ์ ตามมาตรฐาน AWS (ท่มี า : จรูญ พรมสุทธิ์, 2547)

2 จากรูปที่ 4.10 ส่วนประกอบของสัญลักษณ์ในงานเชอ่ื ม มีดงั น้ี 1. ลกู ศร (Arrow) 2. เส้นอา้ งอิง (Reference Line) 3. สญั ลกั ษณ์พืน้ ฐานของงานเช่ือม (Basic Weld Symbols) 4. สว่ นหาง (Tail) 5. ขนาดและข้อมูลอื่น ๆ (Dimensions and Other Data) 6. สัญลกั ษณร์ ะบรุ ายละเอียดเพ่ิมเตมิ (Supplementary Symbols) 7. สญั ลกั ษณ์การตกแตง่ ผิวสาเรจ็ (Finish Symbols) 8. ส่วนทร่ี ะบุกระบวนการเชือ่ มอ่นื หรือข้ออ้างอิงอื่น ๆ 4.2.1.2 รายละเอยี ดของสัญลักษณ์ ตามมาตรฐาน AWS 1) ลูกศร (Arrow) สัญลักษณ์ลูกศรจะชี้แสดงไปที่ตาแหน่งรอยต่อของชิ้นงานเช่ือม โดยท่ีส่วนปลายของลูกศรจะสัมผัสกับเส้นรอยต่อในแบบสั่งงาน ลูกศรจะประกอบไปด้วย ส่วนหัว และเสน้ ชน้ี า ดงั แสดงในรปู ท่ี 4.20 รปู ท่ี 4.20 การกาหนดสญั ลักษณล์ ูกศรในแบบสง่ั งาน (ท่ีมา : จรญู พรมสุทธ,์ิ 2547) 2) เส้นอ้างอิง (Reference Line) สัญลักษณ์เส้นอ้างอิง จะใช้แสดงทางด้านข้าง ของรอยต่อชนิ้ งานเชอ่ื ม เส้นอ้างอิงนี้จะเขียนในแนวระดับและลากต่อจากเส้นช้ีนาของลูกศร ด้านบน และด้านล่างของเส้นอ้างอิง จะระบุรายละเอียดท่ีเกี่ยวกับชนิดของรอยต่อ รายละเอียดท่ีอยู่ด้านบน ของเส้นอ้างอิง จะเป็นข้อมูลของงานเชื่อม ซ่ึงเกิดขึ้นท่ีด้านตรงข้ามกับลูกศรช้ี ส่วนด้านล่างของเส้น อ้างอิง จะเป็นขอ้ มลู ของงานเชอื่ มด้านเดยี วกับหวั ลกู ศร ดังแสดงในรูปที่ 4.21

3 รปู ท่ี 4.21 การกาหนดเส้นอ้างอิงสัญลกั ษณ์ในงานเชื่อม (ทม่ี า : จรูญ พรมสทุ ธิ์, 2547) 3) สัญลักษณ์พ้ืนฐานของรอยเช่ือม (Basic Weld Symbols) สัญลักษณ์พื้นฐาน ของรอยเชื่อม จะเขียนไว้ท่ีด้านบนหรือด้านล่างของเส้นอ้างอิง ถ้าสัญลักษณ์ปรากฏอยู่ด้านบนของ เส้นอ้างอิง หมายความว่า รอยเชื่อมจะต้องอยู่ท่ีด้านตรงข้ามกับหัวลูกศร ถ้าสัญลักษณ์ปรากฏอยู่ ด้านล่างของเสน้ อา้ งอิง หมายความว่า รอยเช่อื มจะตอ้ งอย่ทู ่ีดา้ นเดียวกับหัวลกู ศร ดงั ตารางที่ 4.2 ตารางท่ี 4.2 แสดงการใช้สญั ลกั ษณ์พ้ืนฐานของรอยเช่ือม เช่ือม ตาแหน่ง เชือ่ ม ปลก๊ั เชอื่ ม เชอ่ื ม เชอื่ ม เชื่อม เชอ่ื ม เชอ่ื ม เช่อื ม ฟิลเลท และ จุด สลัก ตะเข็บ ปดิ หลัง พอกผวิ มมุ ขอบ สลอ๊ ต ด้านหนา้ ลูกศรชี้ ตรงขา้ ม -- กับหัว ลูกศรชี้ สองด้าน - - - - - --- ไมร่ ะบุ - - - - --- ดา้ น

4 ตารางท่ี 4.2 (ต่อ) การใชส้ ัญลักษณพ์ ื้นฐานของรอยเชอ่ื ม ขอบโคง้ ขอบโค้ง เชื่อมทาบ ร่องบาก สองด้าน ดา้ น แนว ตาแหนง่ ต่อชน บากร่อง บากร่อง บากรอ่ ง บากร่อง เดยี ว หน้า ตวั วี เอยี ง ตัวยู ตวั เจ ขนาน ดา้ นหนา้ ลกู ศรช้ี ตรงขา้ มกัน หัวลกู ศรชี้ สองด้าน ไมร่ ะบุด้าน ------- (ทม่ี า : จรญู พรมสุทธิ,์ 2547) 4) ส่วนหางของสัญลักษณ์ (Tail) ส่วนหางของสัญลักษณ์นี้ จะเขียนเพ่ิมเติมขึ้น เพื่อใช้สาหรับกาหนดกระบวนการเช่ือมที่ใช้ หรือกาหนดรายละเอียดเพิ่มขึ้น เก่ียวกับวิธีเชื่อมใน ตาแหน่งนั้น ๆ ดงั รูปที่ 4.22 รปู ที่ 4.22 สัญลักษณก์ ระบวนการเชอ่ื มหรือรายละเอียดเพิม่ เติม 1) การกาหนดขนาดและขอ้ มลู อืน่ ๆ (Dimensions and Other Data) การกาหนดขนาดและขอ้ มูลอ่นื ๆ ของสญั ลกั ษณ์งานเชื่อม ในส่วนของเส้นอ้างอิงน้ี จะใช้กาหนดขนาดและข้อมลู อนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั รอยเช่ือม เช่น มุมบากของรอยต่อการเว้นระยะห่าง ระหว่างชิ้นงาน ความยาวของรอยเชื่อม เปน็ ตน้ ดังแสดงในรปู ที่ 4.23

5 รูปท่ี 4.23 สญั ลกั ษณ์กาหนดขนาดต่าง ๆ ของรอยเช่อื มและขอ้ มลู อืน่ ๆ (ทีม่ า : ประทปี ระงับทกุ ข์, 2549) 6) สญั ลักษณ์ระบรุ ายละเอียดเพิ่มเติม (Supplementary Symbols) สัญลักษณ์ระบุรายละเอียดเพิ่มเติม หมายถึง สัญลักษณ์ท่ีใช้กาหนดรายละเอียดท่ี เก่ียวกับการปฏิบัติงานเช่ือม เพ่ือต้องการให้รอยเช่ือมมีความสมบูรณ์มากข้ึนประกอบไปด้วย สัญลักษณ์งานเชื่อมรอบช้ินงาน สัญลักษณ์งานเชื่อมหน้างาน สัญลักษณ์งานเช่ือมปิดด้านหลัง สัญลักษณ์งานเช่ือมหลอมทะลุ สัญลักษณ์งานเช่ือมโดยใช้แผ่นก้ันระหว่างรอยต่อ และสัญลักษณ์ กาหนดรปู รา่ งของรอยเชือ่ ม การใช้สัญลกั ษณร์ ะบุรายละเอียดเพิ่มเติม ดังตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.3 แสดงสัญลกั ษณ์ระบุรายละเอียดเพิ่มเตมิ เช่อื ม การเชื่อม เช่ือม เช่อื มโดย เชื่อมปดิ หลัง กรรมวธิ ีการตกแต่งผวิ รอบ หน้างาน หลอมทะลุ แทรกวสั ดุ โดยใช้แผน่ ผวิ ผวิ โคง้ ผวิ โค้ง เรียบ นูน เว้า เสรมิ กน้ั

6 รูปที่ 4.24 การใช้สญั ลักษณ์ระบุรายละเอยี ดเพิ่มเติม (ท่มี า : ประทีป ระงบั ทุกข์, 2549) 7) สญั ลักษณ์การตกแต่งผิวสาเรจ็ รอยเช่ือม (Finish Symbols) สัญลักษณ์การตกแต่งผิวสาเร็จรอยเช่ือม หมายถึง สัญลักษณ์ท่ีใช้กาหนดกรรมวิธี การตกแต่งผิวสาเร็จของรอยเชื่อม หลังการเชื่อมส้ินสุดลง นอกเหนือจากการทาความสะอาดปกติ โดยเขียนเปน็ อักษรยอ่ ดังต่อไปน้ี อักษร G หมายถงึ การเจียระไน อักษร M หมายถึง การตดั แต่งดว้ ยเครื่องมอื กล อักษร C หมายถงึ การสกัด อักษร H หมายถึง การใชค้ ้อนเคาะ อกั ษร R หมายถงึ การรีด อกั ษร U หมายถึง ไม่ระบุ การใช้สญั ลักษณ์การตกแต่งผิวสาเรจ็ ดังแสดงในรปู ที่ 4.25 รูปท่ี 4.25 การใชส้ ัญลกั ษณ์การตกแตง่ ผวิ สาเรจ็ ของรอยเชอื่ ม (ทีม่ า : ประทปี ระงบั ทุกข์, 2549)

7 8) ส่วนท่ีระบุกระบวนการเชอื่ มอน่ื หรือข้ออ้างอิงอนื่ ๆ (Specification Process or Other References) หมายถึง ส่วนที่ใช้ในการกาหนดกระบวนการเชื่อม หรือข้อกาหนด หรือข้ออ้างอิงอื่น ๆ ลงในสัญลกั ษณ์ โดยใช้วธิ กี ารเขยี นตัวอกั ษรย่อของกระบวนการเช่ือม หรือข้ออ้างอิงที่กล่าวถึงเอาไว้ท่ี ส่วนหางของสัญลักษณ์การใช้สัญลักษณ์ส่วนที่ระบุกระบวนการเช่ือมอ่ืนหรือข้ออ้างอิงอื่น ๆ ดังแสดงในรปู ท่ี 4.26 รูปท่ี 4.26 สญั ลักษณส์ ่วนทรี่ ะบุกระบวนการเชอื่ มอ่นื หรือข้ออ้างอิงอ่ืน ๆ (ทม่ี า : ประทีป ระงบั ทกุ ข์, 2549) การระบกุ ระบวนการเชอื่ มและวธิ เี ชอ่ื มอื่น หรือข้ออ้างอิงอื่น ๆ ในส่วนหางของเส้นอ้างอิง จะกาหนดโดยใชต้ วั อักษรเป็นสัญลกั ษณ์ ดังแสดงในตารางท่ี 4.4 และตารางที่ 4.5 ตารางท่ี 4.4 แสดงตวั อย่างการกาหนดกระบวนการเชอื่ ม และกระบวนการตดั โลหะ กลุ่มกระบวน ชื่อกระบวนการเชือ่ ม อักษรย่อ การเชอ่ื ม และกระบวนการตัด การเชอ่ื มสตัด(Stud Welding) SW การเช่อื มใตฟ้ ลักซ์ (Submerged Arc Welding) SAW การเชื่อมมกิ (Gas Metal Arc Welding) GMAW การเชือ่ มอาร์ก การเชื่อมทกิ (Gas Tungsten Arc Welding) GTAW Arc Welding การเชือ่ มอาร์กด้วยพลาสมา (Plasma Arc Welding) PAW การเชอ่ื มอาร์กด้วยลวดเชื่อมไส้ฟลักซ์ (Flux Core Arc FCAW Welding) การเชื่อมอาร์คภายใต้แก๊สปกคลมุ ( Shielded Metal Arc SMAW Welding) การเช่อื มแบบอิเลกโตรสแลก (Electroslag Welding) ESW

8 ตารางที่ 4.4 (ต่อ) ตวั อย่างการกาหนดกระบวนการเช่อื ม และกระบวนการตัดโลหะ การเชื่อมแกส๊ การเช่ือมดว้ ยแก๊สออกซีอะเซทลิ ีน (Oxyacetylene OAW Gas Welding Welding) TB FB การบดั กรีแขง็ การบดั กรแี ข็งดว้ ยหวั บัดกรี (Torch Brazing) IB AC Brazing การบดั กรีแขง็ ภายในเตา (Brazing) ACC MAC การบดั กรีแขง็ ดว้ ยการเหนีย่ วนา (Induction Brazing) PAC OAC การตัดโดยการอาร์ก (Arc Cutting) การตดั โลหะ การตัดดว้ ยแอร์คาร์บอนอาร์ก (Air carbon Arc Cutting) Cutting การตัดโดยการอาร์กโลหะ (Metal Arc Cutting) การตัดด้วยพลาสมา (Plasma Are Cutting) การตดั ด้วยแก๊สออกซีอะเซทิลนี (Oxyacetylene Cutting) ตารางท่ี 4.5 แสดงวิธกี ารเช่อื ม อกั ษรย่อ กรรมวิธกี ารเชอื่ ม MA SA การเชอ่ื มด้วยมือ (Manual Welding) AU การเชื่อมกึง่ อัตโนมัติ (Semi - Automatic Welding) ME การเช่ือมอตั โนมัติ (Automatic Welding) การเชอื่ มด้วยเครื่องจักร (Mechanic Welding) 4.2.2 สญั ลกั ษณ์งานเชอ่ื มตามมาตรฐาน ISO 4.2.2.1 สว่ นประกอบของสญั ลกั ษณ์ ตามมาตรฐาน ISO สัญลกั ษณ์ ตามมาตรฐาน ISO มสี ่วนประกอบหลัก 3 สว่ น ดังนี้ 1) หัวลกู ศร (Arrow) 2) เสน้ อา้ งอิง (Reference Line) ประกอบดว้ ยเสน้ ขนานสองเส้น คือเส้นตอ่ เน่ือง และเสน้ ประ (เส้นอ้างอิงท่เี ป็นเสน้ ประจะอยบู่ นหรอื ล่างเส้นต่อเนอื่ งก็ได้ ) 3) หางลกู ศร (Tail)

9 1 คอื หัวลกู ศร (Arrow ) 2a คือ เส้นอา้ งองิ (เส้นต่อเน่ือง ) 2b คือ เสน้ อ้างอิง (เส้นประ) 3 คือ สญั ลกั ษณ์แนวเชอื่ ม 4 คือ หางลูกศร (Tail) รปู ท่ี 4.27 ส่วนประกอบของลกู ศรและสญั ลักษณ์ 4.2.2.2 การอ่านสญั ลกั ษณ์ สัญลักษณส์ ามารถวางบนหรือล่างของเสน้ อ้างอิง โดยยดึ ถือกฎดังนี้ 1) เม่ือสญั ลกั ษณ์วางติดกับเส้นอ้างองิ เสน้ ทบึ หมายถึง ทาการเช่อื มด้านลูกศรช้ี 2) เมือ่ สญั ลกั ษณว์ างตดิ กับเสน้ อ้างองิ เส้นประ หมายถงึ ทาการเช่อื มด้านตรงข้าม ลกู ศรชี้ a) b) รปู ท่ี 4.28 การวางสญั ลกั ษณ์บนและล่างเส้นอ้างอิง a) สัญลักษณ์เช่ือมดา้ นลูกศรชี้ b) สญั ลักษณเ์ ชื่อมดา้ นตรงข้ามลกู ศรช้ี

10 4.2.2.3 การกาหนดขนาดของแนวเช่ือมฉาก (Fillet) - กาหนดเป็นตัวอักษร a คือ ระยะลึกหรือโทรดของแนวเชือ่ ม (Throat) - กาหนดเปน็ ตัวอักษร z คอื ระยะขาของแนวเช่ือม (Leg) รปู ที่ 4.29 แสดงการกาหนดขนาดของแนวเชื่อมฉาก (Fillet) 4.2.2.4 การกาหนดสัญลกั ษณก์ ระบวนการเช่อื ม การกาหนดสัญลักษณ์กระบวนการเช่ือม จะกาหนดเป็นตัวเลขแทนสัญลักษณ์ วางไวท้ ี่หางลกู ศร เชน่ การเช่ือมด้วยลวดเชื่อมท่มี ีสารพอกห้มุ สญั ลกั ษณ์ คือ 111 การเชื่อมอาร์กโลหะแกส๊ คลุม สญั ลกั ษณ์ คือ 131 การเช่อื มทกิ สัญลกั ษณ์ คือ 141 การเชอื่ มพลาสม่า สัญลกั ษณ์ คือ 151 การเช่ือม Flux Core Wire สญั ลกั ษณ์ คือ 114 การเชอ่ื มแก๊สออกซิอะเซทิลนี สญั ลักษณ์ คือ 311 ตัวอย่างการใชส้ ัญลักษณ์ตามมาตรฐานสากล ( ISO ) a) ดา้ นตรงขา้ มลกู ศรชี้ b) ดา้ นลูกศรชี้ รปู ท่ี 4.30 สญั ลักษณ์การเชอ่ื มงานตอ่ ตัวที

11 รูปที่ 4.31 การใชส้ ัญลกั ษณ์การเช่ือมและกาหนดขนาดของแนวเชือ่ มต่อตัวที จากรูป 4.31เปน็ การเช่ือม Fillet ดา้ นลูกศรชี้ ตาแหน่งท่าราบดว้ ยการเช่ือมอารก์ โลหะแกส๊ คลุม ขาแนวเช่อื มโต 5 (Leg = 5)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook