Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best ปฐมวัย ด้านบริหาร 2563

best ปฐมวัย ด้านบริหาร 2563

Published by ภัทราวลัย ลิ้นโป, 2022-11-11 21:44:19

Description: best ปฐมวัย ด้านบริหาร 2563

Search

Read the Text Version

ชอื่ ผลงานการบรหิ ารแบบ SATI MODEL เพอื่ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ระดับปฐมวัยใหเ้ หมาะสมตามวยั โรงเรียนวัดเขานางเภา ชื่อผเู้ สนอผลงาน นางสาวภทั ราวลยั ลิ้นโป ตำแหน่งผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดเขานางเภา โทรศัพท์๐๗๗-๔๕๒๓๘๑ E-mail : [email protected] ผลงานวธิ ีการปฏิบัติท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) โรงเรียนวดั เขานางเภา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ก

คำนำ การบริหารแบบ SATI MODEL เพื่อพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย โรงเรียน วัดเขานางเภา เป็นการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เรียนระดับปฐมวัยให้มีพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัย ท้ังด้าน รา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์และจิตใจ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กเกิดการเรียนรู้ มีทักษะชวี ิตที่ จำเป็น อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข ในการดำเนินการให้บรรลุตามจุดหมาย ภายใต้กระบวนการจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมตามวัย (SARP) อันจะส่งผลให้เด็กอยู่ ร่วมกนั อยา่ งมคี วามสุขในสงั คมและประเทศชาติตอ่ ไป ขอขอบคณุ คณะครู ผู้ปกครองรวมถึงนักเรียนชน้ั อนุบาล ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นวัดเขานางเภา ที่ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ สนับสนุนการทำงานจนประสบผลสำเร็จ หวังว่าการนำเสนอ การบริหารแบบ SATI MODEL เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ด้านการจัดการศกึ ษา แกค่ รแู ละผ้ปู กครองตอ่ ไป ภทั ราวลยั ลน้ิ โป ผลงานวิธกี ารปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรยี นวัดเขานางเภา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ก

สารบัญ คำนำ หน้า สารบญั ก ความสำคัญของผลงานหรือนวตั กรรมทีน่ ำเสนอ.................................................................... ข จดุ ประสงค์ และเปา้ หมาย ของการดำเนนิ งาน.................................................................... ๑ ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน กระบวนการผลิตผลงาน รูปแบบวธิ กี ารในการพัฒนาสถานศกึ ษาสู่ ๒ ความเปน็ เลิศ.................................................................................................................... ผลการดำเนนิ การ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั .................................................................. ๒ ปัจจัยความสำเร็จ.............................................................................................................. ๕ บทเรียนท่ไี ด้รับ (Lesson Learned).................................................................................. ๖ การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรับ/รางวัลทไี่ ด้รับ................................................................ ๗ ๗ ผลงานวิธกี ารปฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ (Best Practice) โรงเรยี นวัดเขานางเภา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ข

แบบการนำเสนอสถานศกึ ษาทม่ี ีวิธปี ฏิบัตทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practices) ดา้ นการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ระดับจังหวดั ประจำปี 2563 1. ชือ่ ผลงาน : การบริหารแบบ SATI MODEL เพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดบั ปฐมวยั ให้เหมาะสมตามวัย โรงเรียนวัดเขานางเภา 2. ช่อื ผูน้ ำเสนอผลงาน : นางสาวภัทราวลัย ลนิ้ โป ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นวดั เขานางเภา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต ๑ ตำบลกรดู อำเภอกาญจนดษิ ฐ์ จังหวดั สุราษฎรธ์ านี รหัสไปรษณีย์๘๔๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๗๗-๔๕๒๓๘๑ E-mail : [email protected] เวบ็ ไซต์โรงเรยี น - 3. ความสำคญั ของผลงานหรือนวตั กรรมที่นำเสนอ จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ และ(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๖ กล่าววา่ การจัดการศึกษาต้องเปน็ ไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข ซึง่ การจัดการเรียนการสอนเป็นกลไกสำคญั ในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนซ่ึงจะบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษาในปัจจุบัน การจัดการเรียนการสอนท่ียอมรับกันว่า ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง เปน็ การจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ซึง่ เน้นท่ี การปฏิบัติ (active learning) เพ่ือให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และการปฏิบัติท่ีนำไปสู่การเรียนรู้ที่ ลกึ ซ้งึ และคงทน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กำหนดปรัชญาการศึกษาปฐมวัยว่า การศึกษา ปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปีบริบูรณ์ บนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูและการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บรบิ ทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยูด่ ้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพ่ือ สร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เดก็ พัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ จากความสำคัญดังกล่าว จึงจำเป็นจะต้องจัดการศึกษาให้เด็กปฐมวัยตามหลักจิตวิทยา พฒั นาการเดก็ ในชว่ งอายุ ๓-๖ ปี จะเรยี นรู้ซึมซบั ลักษณะ พฤติกรรมจากบุคคลใกลช้ ดิ และสง่ิ แวดลอ้ มจนเกิด เป็นคุณลักษณะท่ีถาวร หากเด็กได้รับการเล้ียงดูท่ีดี ได้รับความรักความอบอุ่นจะทำให้เด็กเป็นคนสดช่ืน แจม่ ใส มองโลกในในแง่ดีรู้จักรกั คนอน่ื มคี วามสมบูรณ์ท้ังร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา ความรู้และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งข้ึนอยู่กับ สงิ่ แวดล้อม การดูแลเอาใจใส่และการจัดการศกึ ษาอย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมของสถานศึกษาปฐมวยั ทีจ่ ะส่งเสริม ให้เด็กเติบโตเป็นเด็กยุคใหม่ท่ีมีความสามารถ ตัดสินใจถูกต้อง พร้อมท่ีจะแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือเป็นการวางรากฐานที่ดีให้เด็กตั้งแต่ปฐมวัยซึ่งจะทำให้เด็กเติบโตเป็น พลเมอื งทีม่ ีคณุ ภาพของประเทศชาติต่อไปในอนาคต จากการติดตามผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาระดับปฐมวยั ท่ีผ่านมา พบว่าสถานศึกษามีปัญหา ด้านการจดั ระบบการศึกษาปฐมวัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผู้เรยี น โรงเรียนท่ีจัดการศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยยังไม่สามารถจัดบริการได้ครอบคลุมทั่วถึงทั้งในเชิงปรมิ าณและคุณภาพ ในด้านการบริหาร ผลงานวธิ ีการปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรียนวัดเขานางเภา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑

จัดการและระบบการจัดการเรียนรู้ด้านต่างๆ เช่น การให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองยังไม่ทั่วถึง ขาดการ ฝึกอบรมบุคลากรที่เก่ียวข้องอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ผู้บริหารจัดการเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย ส่วนใหญ่ขาด ความเข้าใจเร่ือง ปรัชญา จิตวิทยาและพัฒนาการของเด็ก และปญั หาสำคัญ คอื วิธีการจัดการเรียนร้ใู ห้กบั เด็ก ไม่ถูกต้องและขาดประสิทธิภาพ ครูผู้สอนส่วนใหญ่ไม่ได้จัดประสบการณ์เพื่อส่งเสรมิ พัฒนาการให้แก่เด็กเป็น องค์รวมอย่างแทจ้ รงิ ตลอดจนมีปัญหาความไม่พรอ้ มในสภาพแวดล้อม อาคารสถานท่ี ส่ือและวสั ดอุ ปุ กรณ์ ใน เช่นเดียวกับนักเรียนโรงเรียนวัดเขานางเภา ที่ยังขาดทักษะการเรียนรู้ ความกล้าแสดงออก ไม่สามารถนำ ความรู้ท่ีได้จากการเรียนไปใช้ในการประยุกต์แก้ปัญหาที่เกิดข้ึนในชีวิตประจำของตนเองได้ ตลอดจนการ จัดการเรยี นการสอนเพื่อเสรมิ ประสบการณ์เรียนรสู้ ำหรับเดก็ ปฐมวัยยงั ไมเ่ ต็มท่เี ทา่ ท่ีควร จากเหตผุ ลดงั กล่าวโรงเรียนวดั เขานางเภา จึงไดอ้ อกแบบรปู แบบการบรหิ ารจดั การศึกษาปฐมวัยโดย ใช้การบริหารแบบ SATI MODEL เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย โรงเรียนวัด เขานางเภา เพ่ือให้ผู้เรียนระดับปฐมวยั ให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และจิตใจ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กเกิดการเรียนรู้ มีทักษะชีวิตที่จำเป็น อยู่ร่วมกับสังคมได้ อยา่ งมีความสุข ในการดำเนินการให้บรรลุตามจุดหมาย ภายใตก้ ระบวนการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์การ เรยี นรู้เพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมตามวยั (SARP) อันจะส่งผลให้เด็กอยู่ร่วมกนั อย่างมีความสขุ ในสังคมและ ประเทศชาติตอ่ ไป ๔. จดุ ประสงค์ และเปา้ หมาย ของการดำเนนิ งาน จุดประสงค์ ๑. เพื่อศกึ ษาสภาพการบริหารสถานศึกษาแบบ SATI MODEL เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนระดับ ปฐมวยั ใหเ้ หมาะสมตามวยั โรงเรียนวัดเขานางเภา ๒. เพอื่ พฒั นาการบรหิ ารสถานศกึ ษาแบบ SATI MODEL ในการบริหารจดั กานของผู้บริหาร ครู ใน การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรียนรู้เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย โรงเรยี น วดั เขานางเภา ๓. เพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียนระดับปฐมวยั ใหม้ ีพัฒนาการทีเ่ หมาะสมตามวยั โรงเรียนวดั เขานางเภา เป้าหมาย ๑. SATI MODEL มคี วามเหมาะสมในการบรหิ ารจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นระดบั ปฐมวัย ให้เหมาะสมตามวัย โรงเรยี นวัดเขานางเภา ๒. ครูผูส้ อนมคี วามรู้ ทกั ษะและกระบวนการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณเ์ รยี นรูเ้ พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น ใหเ้ หมาะสมตามวยั อยา่ งน้อยละ ๙๐ ๓. ผู้เรยี นมีพัฒนาการตามวัยท้งั ด้านรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม อยา่ งน้อยรอ้ ยละ ๘๐ 5. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน กระบวนการผลติ ผลงาน รูปแบบวิธีการในการพฒั นาสถานศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลิศ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดเขานางเภา ยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนรว่ ม เนน้ การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงได้คิดค้นนวัตกรรม การบริหารแบบ SATI MODEL เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดบั ปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย โรงเรียนวดั เขานางเภา มาใช้ในการบริหารจัดการศกึ ษาปฐมวัย ซ่ึงส่งผลตาม โครงการที่ระบุไวใ้ นแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของโรงเรียน ผลงานวธิ กี ารปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) โรงเรยี นวดั เขานางเภา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒

การบริหารแบบ SATI MODEL เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย โรงเรียน วัดเขานางเภา เป็นการดำเนนิ การบริหารงานเพื่อส่งเสริม สนับสนนุ ในการพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการ สอน การจัดประสบการณ์เรียนรู้ของครูสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและ เป้าประสงค์ของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และจิตใจ ด้วย กิจกรรมการเรยี นรู้ที่หลากหลาย เด็กเกิดการเรียนรู้ มที ักษะชีวติ ท่ีจำเป็น อยู่รว่ มกับสังคมได้อย่างมีความสุข ในการดำเนินการให้บรรลุตามจุดหมาย ภายใต้กระบวนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อ พฒั นาผู้เรียนให้เหมาะสมตามวยั (SARP) รายละเอียด ซงึ่ มรี ายละเอียดในการพัฒนานวัตกรรมดังน้ี กรอบแนวคิดนวตั กรรม SATI MODEL S : STRIVE I : INTEGRITY รูปแบบการจดั กิจกรรมเสริมประสบการณ์ มุง่ มนั่ เพือ่ ยึดม่นั ในคุณธรรม เรียนรู้เพือ่ พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ หมาะสมตามวัย เปา้ หมาย S : Stimulation (การกระตุน้ ) A : Active Learning (การเรียนรู้จากการ A : ACADEMIC T: TECHNOLOGY ส่งเสรมิ วิชาการ ก้าวทันเทคโนโลยี ปฏิบัติ) R : Reflection (การสะทอ้ นผล) P : Presentation (การนำเสนอผลงาน) คุณภาพผู้เรยี นระดบั ปฐมวัยโรงเรียนวัดเขานางเภา ทเี่ หมาะสมตามวยั ผลงานวธิ ีการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรยี นวัดเขานางเภา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๓

รายละเอียดในการพัฒนานวตั กรรม S : STRIVE มุง่ ม่นั เพ่อื เป้าหมาย ดำเนนิ การบรหิ าร สถานศกึ ษาให้บรรลวุ ิสยั ทัศน์และเป้าหมายของสถานศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี นระดบั ปฐมวัยใหเ้ หมาะสมตามวัย และ สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาของชาติ ภายใต้กระบวนการ บรหิ ารแบบ SARP A : ACADEMICสง่ เสรมิ วิชาการ ดำเนินการบรหิ ารงาน โดยพัฒนาคุณภาพของผ้เู รียนระดับปฐมวัย ตลอดจนคณุ ภาพชีวิต ของผู้เรยี น ให้เหมาะสมตามวัยใน ๔ ด้าน คือ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ทั้งในด้านวิชาการ ศิลปะ ดนตรี และกีฬา โดย สง่ เสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามความสนใจและความถนัดของผู้เรียน นอกเหนือการจัดการเรียนการสอนในหอ้ งเรียน T : TECHNOLOGY ก้าวทันเทคโนโลยี ส่งเสริมให้ สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ก้าวทันเทคโนโลยีใน ปัจจุบัน ครูผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนใน ระดบั ปฐมวัยผา่ นระบบเทคโนโลยไี ดอ้ ย่างทว่ั ถึง I : INTEGRITY ยึดมั่นในคุณ ธรรม โดยส่งเสริมให้ ผู้เรียนระดับปฐมวัยเป็นคนดี มีคุณธรรม ภายใต้ค่านิยม 12 ประการ เป็นหลักในการดำเนินชีวิตทั้งในสถานศกึ ษาและในสังคม ซึ่งนักเรียนจะต้องมีคุณธรรม จริยธรรมพ้ืนฐานสำคัญ อันได้แก่ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การมีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มี ความสามัคคี ความละอายและเกรงกลัวในการกระทำชั่ว เพื่อ ปลูกฝังให้ผู้เรียนระดับปฐมวัยเป็นผลผลิตท่ีมีคุณภาพและเป็น สมาชกิ ของสังคมท่ีเป็นทงั้ คนเกง่ และคนดี สรุป “SATI MODEL” เป็นรูปแบบการบริหารจัดการ เน้นการมีสว่ นร่วมท่ีผู้รว่ มงาน ตระหนักและ เต็มใจทำงาน เพ่ือนำไปส่กู ารประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ์การ เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมตามวัย (SARP) (S : Stimulation (การกระตุ้น) A : Active Learning (การเรียนรู้จากการปฏิบัติ) R : Reflection (การสะท้อนผล) P : Presentation (การนำเสนอผลงาน)) และ ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์และจุดหมายของหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนวัดเขานางเภา ผลงานวิธกี ารปฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรยี นวัดเขานางเภา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๔

6. ผลการดำเนินการ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั ผลการดำเนินการ/ผลสัมฤทธ์ิส่งผลต่อพัฒนาการด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม ดังผลการ ประเมินพัฒนาการท้ัง ๔ ด้านของเด็กชั้นอนุบาลปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จำนวน ๑ ห้องเรียน จำนวนเด็ก ๑๓ คน ตามแบบรายงานผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ดังน้ี มีพัฒนาการด้าน รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาอยู่ในเกณฑ์ดี คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๖๒ และพัฒนาการด้านสังคม อยู่ใน เกณฑด์ ี คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๒.๓๑ ซง่ึ สงู กวา่ เป้าหมายทตี่ ัง้ ไว้ ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั ๑. สง่ ผลตอ่ เด็ก (๑) พัฒนาการด้านร่างกาย เดก็ ไดป้ ฏิบัติกิจกรรมและเคลื่อนไหวสว่ นตา่ งๆของ รา่ งกายด้วย การหยิบ จับวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ได้เคล่ือนไหว การประสานสัมพันธ์กันระหว่างมือกับตา สามารถทำงานได้ คล่องแคล่วขน้ึ ผ่านกจิ กรรมเขา้ จงั หวะ กจิ กรรมการทดลอง กระบวนการคิดทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นต้น (๒) พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ เดก็ สนใจกระตือรือรน้ ที่ไดท้ ำกจิ กรรม เด็กมีความพงึ พอใจ ในความสามารถของตนเองและผ้อู ่ืน มีความสนใจ สนกุ สนาน มคี วามสุขกับการทำกิจกรรม ท้งั ด้านศิลปะ ดนตรี มีความม่นั ใจในตนเองและกล้าแสดงออกมากขน้ึ (๓) พัฒนาการดา้ นสังคม เดก็ มีความสนใจในการทำกจิ กรรม มปี ฏิสัมพนั ธ์ร่วมกันกับเพื่อน และผอู้ น่ื เดก็ ได้เรียนรูก้ ระบวนการเรยี นรู้ การทำงานรว่ มกับผู้อื่น ใหค้ วามชว่ ยเหลือ แบ่งปนั ซ่ึงกันและกนั ร้จู กั มคี วามรบั ผิดชอบและอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ (๔) พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กสามารถรว่ มสนทนาโต้ตอบ ฟัง อ่านและพูด เลา่ เรือ่ งราว จากผลงาน ข้อความง่ายๆ จากการวาดภาพตามความคิด จินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงาน รู้จักสังเกต ส่ิงตา่ งๆ รอบตัว สามารถจำแนกแยกแยะ เปรียบเทยี บ จดั หมวดหมู่ รูจ้ ักวางแผน ตัดสินใจเลอื กและแก้ปญั หา ในการทำงาน สามารถนำความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้เหมาะสมตามวัย ๒. สง่ ผลตอ่ ครู (๑) ครมู เี อกสาร คู่มือและแผนการจดั ประสบการณเ์ พื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนระดับปฐมวยั ให้เหมาะสมตามวัย เปน็ แบบอยา่ งเผยแพร่แก่ครู บุคคลากรทจี่ ัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย (๒) ครูมีเคร่ืองมอื ในการสง่ เสริมพัฒนาเด็ก สร้างความมน่ั ใจให้กบั ครู (๓) ครไู ดก้ ระตนุ้ ให้เดก็ ได้เรียนรจู้ ากความสนใจของเดก็ สามารถเรียนรู้กระบวนการ เรยี นรู้ ร่วมกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งมคี วามสขุ ๓. สง่ ผลตอ่ สถานศกึ ษา (๑) สถานศกึ ษามเี อกสารคมู่ ือในการเยย่ี มชมและนิเทศการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย (๒) สถานศึกษาเป็นแบบอย่างและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาร่วมกับเครือข่าย และ หน่วยงานอ่นื ๆกับการสร้างเจตคติทด่ี ใี ห้เด็ก ๔. สง่ ผลต่อผปู้ กครอง (๑) ผปู้ กครองมคี วามพึงพอใจ ชน่ื ชมในความสามารถและพฒั นาการของบตุ รหลาน (๒) ผปู้ กครองใหก้ ารสนบั สนุนจดั หาวัสดอุ ปุ กรณ์และรว่ มกิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรียนท่ีจดั ขึ้น ด้วยความพึงพอใจ ผลงานวธิ กี ารปฏบิ ัติทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) โรงเรียนวัดเขานางเภา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๕

๕. ส่งผลตอ่ ชุมชน (๑) ชุมชนได้มสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาโดยสร้างจิตสำนกึ ทด่ี ีต่อผ้เู รียน 7. ปัจจัยความสำเรจ็ ผู้มสี ่วนร่วมในความสำเรจ็ โรงเรียนวัดเขานางเภา ได้ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยการทำร่วมกัน เป็นทีม คุณภาพการบริหารจัดการศึกษาเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรในโรงเรียน โดยมีบุคคลภายนอก และหน่วยงานต่างๆ ให้การสนับสนุน เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ โดยมีผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชมุ ชน บริหารจัดการศึกษาร่วมกัน เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์กบั คณุ ภาพของ ผู้เรยี น โรงเรยี นและขยายผลสู่ชมุ ชนตอ่ ไป การใชร้ ปู แบบการบรหิ ารแบบ SATI MODEL เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นระดับปฐมวัยใหเ้ หมาะสมตาม วัย โรงเรียนวัดเขานางเภา ประสบความสำเรจ็ ดงั น้ี ๑. เด็กมีโอกาสได้รับการจัดประสบการณ์ตามความสนใจ ได้เรียนรู้กระบวนการของตนเองและ ผู้อ่ืน ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม ตลอดจนการนำเสนอผลงานและการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ร่วมกัน ตลอดจนความกลา้ แสดงออกของเดก็ ผลงานวธิ กี ารปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรยี นวดั เขานางเภา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๖

๒. ครู ผู้ปกครอง และชมุ ชน มีสว่ นรว่ มในการจัดเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ ให้กบั เด็กสำหรับการเรียนรู้ และประสบการณท์ ีห่ ลากหลาย ๓. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษานำนโยบายจากต้นสังกดั มานเิ ทศติดตามการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับ เด็กปฐมวัย เน้นให้การครูจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สนับสนุนงบประมาณสำหรับการจัดการ เรยี นรู้ ตลอดจนสร้างขวญั และกำลังใจให้กับครูผ้สู อนอยา่ งสม่ำเสมอ ๔. จดั แหลง่ เรยี นรใู้ ห้เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รยี นและมีความปลอดภยั ท้งั ภายในและภายนอก 8. บทเรียนที่ไดร้ ับ (Lesson Learned) ผลดีตอ่ การบริหารจดั การศึกษาปฐมวยั ของโรงเรียนวดั เขานางเภา มุ่งจัดการศกึ ษาปฐมวยั เพ่ือพัฒนา เดก็ อายุ ๔-๖ ปี ให้ไดร้ ับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สงั คมและสติปญั ญาเป็นองค์รวม ด้วยกิจกรรม เสริมประสบการณ์เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมตามวัยท่ีหลากหลาย ผ่านสื่อกระบวนการเรียนรู้และ เทคโนโลยี ให้เด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตที่จำเป็นและดำรงชีวิตประจำวันอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนและทุกฝ่ายทีเ่ ก่ียวข้องบนพื้นฐานของประเพณีวฒั นธรรมไทยภายใต้ การบริหารแบบมีสว่ นร่วม การดำเนินงานไปส่กู ารปฏบิ ัตดิ ้วยการกำหนดโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติการ ประจำปี มีการรายงานผลการดำเนินโครงการทุกกิจกรรมเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจหรือสิ้นปีการศึกษา นำผลการ ประเมนิ ขอ้ เสนอแนะไปปรบั ปรงุ การปฏิบัตงิ านตามแผน ทำให้เกิดผลการพัฒนาอย่างรอบด้าน ท้ังด้านผเู้ รียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษาและชมุ ชน ประโยชน์และคุณค่าจากบทเรียนท่ีได้รับจากการบริหารแบบ SATI MODEL เพ่ือพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย ส่งผลต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดับปฐมวัยให้เหมาะสมตามวัย คือเด็กมีพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม ทำให้เด็กมีพัฒนาการตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ซึ่งเป็นประโยชน์และมี คณุ คา่ ตอ่ ไป 9. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ/รางวลั ที่ไดร้ บั (๑) ได้รับการยอมรับใหเ้ ผยแพรแ่ ละขยายผลงานใหก้ บั ผู้มาศกึ ษาดูงาน ท้ังภายในและภายนอก สถานศกึ ษา (๒) ไดร้ บั การยอมรบั ใหเ้ ผยแพรแ่ ละขยายผลงานใหก้ บั บคุ คลกรหน่วยงานต่างๆ โดยการจัด นทิ รรศการแสดงผลงาน (๓) ได้รบั การยอมรบั ให้เผยแพรผ่ ลงานทางอนิ เทอรเ์ น็ต (ลงชอ่ื ) ผู้รายงาน (นางสาวภทั ราวลัย ลิน้ โป) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวัดเขานางเภา ผลงานวธิ ีการปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) โรงเรียนวดั เขานางเภา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๗

ผลงานวธิ ีการปฏิบตั ิท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) โรงเรียนวดั เขานางเภา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook