อาจารย์ผูส้ อน อติโรจน์ วงษ์วชั รศกั ดิ์ คณะบริหารศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ มหาวิทยาลยั เฉลิมกาญจนา
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวรร์ ะบบหรือระบบปฏิบัตกิ าร ทาหน้าที่ควบคมุ ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละอานวยความ สะดวกให้กับผู้ใช้ในการโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งาน นอกจากน้ี ระบบปฏิบัตกิ ารยังช่วย ในการบูตเคร่อื งเพ่อื นาไปส่กู ารเปิดโปรแกรมประยกุ ต์ตา่ งๆ 2. ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ หมายถึง โปรแกรมต่างๆ ทีช่ ว่ ยให้เราสามารถทางานทางด้านต่างๆ บน เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ เช่น การพมิ พจ์ ดหมาย การนาเสนองาน การท่องเวบ็ การฟังเพลง การ เล่นเกม การเตรียมใบแจ้งหนี้ การตรวจสอบสินค้าคงคลัง การเตรียมเอกสารทางการเงิน การ ออกแบบงานสถาปัตยกรรม ฯลฯ 2
ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System : OS) หรือเรียกสนั้ ๆ วา่ “โอเอส” เป็นโปรแกรม ระบบที่ทาหน้าท่ีควบคุมดูแลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และยังจัดการงานบริการพื้นฐานให้กับ โปรแกรมประยุกต์ตา่ งๆ ด้วย จึงกล่าวได้วา่ ระบบปฏิบตั ิการจะทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ โดยจุดประสงค์ของระบบปฏิบัติการคือ การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมให้กบั ผใู้ ช้ เพ่ือสามารถประมวลผลโปรแกรมได้อยา่ งสะดวกและมปี ระสิทธภิ าพ 3
Hardware Operating System Application Program Users ระบบปฏบิ ตั กิ ารอานวยความสะดวกต่อผใู้ ช้งานดว้ ยการเปน็ ตวั กลางในการอนิ เตอร์เฟซระหวา่ งซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตก์ ับฮาร์ดแวร์ 4
ความหมายของระบบปฏบิ ัติการในภาพรวม ระบบปฏิบัติการ คือโปรแกรมระบบที่นามาใช้ควบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (ฮาร์ดแวร์) และโปรแกรมประยุกต์ตา่ งๆ ให้สามารถดาเนินการไดอ้ ยา่ งราบร่ืน เพ่ือตอบสนอง งานแก่ผ้ใู ช้ใหบ้ รรลตุ ามความตอ้ งการได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 5
ความหมายของระบบปฏิบัติการในมมุ มองของระบบงาน เปน็ คานยิ ามที่เกย่ี วขอ้ งกบั สิ่งต่อไปน้ี การจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocator) หมายถึง ระบบปฏิบัติการจะรับหน้าท่ี เป็นผู้จัดการท่ีคอยจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ท่ีมีอยู่ในระบบ (ซ่ึงมีอยู่จากัด) ด้วยวิธีการอัน เหมาะสมต่อการใช้งานอุปกรณ์เหล่านั้น รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรให้แก่โปรแกรมและผู้ใช้ ต่างๆ ตามความจาเป็น ในขณะเดียวกัน หากระบบเกิดข้อขัดแย้งในการแย่งชิงทรัพยากรใน การทางาน ระบบปฏิบตั กิ ารต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาต่างๆ ใหผ้ ่านไปได้ด้วยดี 6
โปรแกรมควบคมุ (Control Program) หมายถึง ระบบปฏบิ ัตกิ ารจะเปน็ ผู้ท่ีคอยควบคุม การประมวลผลของโปรแกรมผ้ใู ช้ รวมถงึ ควบคุมการทางานของอุปกรณ์รับสง่ ขอ้ มูลทัง้ หลา จัดระบบการทางานระดับพ้ืนฐาน (Kernel) เคอร์เนลถือเป็นศูนย์กลางของ ระบบปฏิบตั ิการในการใหบ้ รกิ ารพืน้ ฐาน ซง่ึ งานบรกิ ารพนื้ ฐานเหล่านี้จะทางานอยู่เสมอและยัง คอยสนับสนุนการทางานของผู้ใช้อยู่ตลอดเวลา ส่วนโปรแกรมอ่ืนๆ เป็นเพียงโปรแกรม ประกอบเทา่ นน้ั 7
1) การปฏสิ ัมพันธ์กบั ผู้ใช้ 2) เพือ่ บตู เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ 3) การกาหนดค่าให้กับอุปกรณ์ 4) การจัดการการเช่ือมตอ่ เครือขา่ ย 5) การจัดสรรทรพั ยากร 6) การจัดการระบบแฟ้มขอ้ มลู 7) การจัดการงานประมวลผล 8) การรกั ษาความปลอดภยั 8
1) การปฏิสัมพันธ์กบั ผใู้ ช้ (Interfacing with Users) เป็นอินเตอร์เฟซเพ่ือให้ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับระบบ เพ่ือสั่งงานได้อย่างสะดวก เช่น ระบบปฏิบัติการดอส (Disk Operating System : DOS) ใช้อินเตอร์เฟซแบบคาส่ัง (Command Line) ที่มุ่งเน้นการโต้ตอบกับระบบผ่านการป้อนคาส่ังทางแป้นพิมพ์ ส่วน ระบบปฏบิ ัติการวนิ โวส์ (Windows) ใชอ้ ินเตอร์เฟซแบบกราฟิก (Graphics User Interface) หรอื GUI ซ่ึงมรี ูปลักษณ์สวยงาม ทาให้ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกบั ระบบได้สะดวกขึ้น 9
DOS Windows เปรียบเทยี บอินเตอรเ์ ฟซระหวา่ งระบบปฏิบัตกิ ารดอสกับระบบปฏิบตั กิ ารวนิ โดวส์ 10
2) เพ่ือบูตเครื่องคอมพวิ เตอร์ (Booting The Computer) การบูตก็คือ ข้ันตอนการเริ่มต้นการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์จากการโหลด โปรแกรมระบบปฏิบัติการเข้ามาเก็บไว้ในหน่วยความจา โดยมีวิธีการคือ ชุดคาส่ังโปรแกรม ขนาดเล็กท่ีเรียกว่า Bootstrap Loader ที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจารอม จะถูกกระตุ้นให้ โหลดโปรแกรมระบบปฏบิ ัติการเข้าสู่หน่วยความจา ซึ่งโปรแกรม Bootstrap Loader จะต้อง รู้ว่าระบบปฏิบัติการอยู่ที่ไหน จึงสามารถเข้าไปโหลดขึ้นมาเพ่ือนาไปสู่การบูตเคร่ือง คอมพิวเตอร์ไดใ้ นที่สดุ 11
3) การกาหนดค่าใหก้ บั อุปกรณ์ (Configuring Devices) ระบบปฏิบัติการยังทาหน้าท่ีกาหนดค่า (คอนฟิก) ให้กับอุปกรณ์ท้ังหมดท่ีเช่ือมต่อเข้า กบั คอมพวิ เตอร์ผ่านโปรแกรมขนาดเล็กที่เรียกวา่ “ดีไวซ์ไดรฟ์เวอร์ (Device Driver)” หรือ ที่เรียกส้ันๆ ว่า ไดรฟ์เวอร์ ซึ่งก็คือโปรแกรมท่ีใช้สาหรับติดต่อส่ือสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เคร่ืองพิมพ์ เป็นต้น ระบบปฏบิ ัติการในปจั จุบันมักบรรจุไดรฟ์เวอร์ของ อุปกรณ์ต่างๆ เท่าที่จาเป็นไว้ เม่ือนาอุปกรณ์มาต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เหล่าน้ันจะ สามารถใช้งานได้ทันที ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า Plug and Play โดยระบบปฏิบัติการจะ ตรวจจบั อุปกรณ์และติดตั้งไดรฟ์เวอร์ให้กบั อุปกรณเ์ หลา่ น้นั โดยอัตโนมัติ 12
4) การจัดการการเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ย (Managing Network Connections) ระบบปฏิบัติการยังมีหน้าที่เช่ือมต่อเครือข่ายให้กับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการ เช่ือมตอ่ เครือข่ายแบบมีสายหรือแบบไร้สายก็ตาม เช่น ทันทีที่เคล่ือนที่ไปยังพ้ืนท่ีท่ีมีสัญญาณ เครือข่ายไร้สายครอบคลุมอยู่ ระบบปฏิบัติการก็จะแจ้งเตือนให้ทราบถึงเครือข่ายไร้สายแห่ง ใหม่พร้อมทางานและพร้อมเช่ือมต่อ หากการเชื่อมต่อล้มเหลว ระบบปฏิบัติการจะพยายาม แก้ไข หากเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายท่ีมีระบบรักษาความปลอดภัย ระบบปฏิบัติการจะให้ กรอกรหัสผ่านเพ่ือเข้าสู่การใช้งาน ในกรณีการเชื่อมต่อเกิดความล้มเหลวด้วยสาเหตุใดก็ตาม ระบบปฏิบัติการจะแจ้งข่าวสารไปยังผู้ใช้ให้รับโดยทันที รวมถึงการให้คาแนะนาเพิ่มเติมกับ การแก้ไขปัญหาดงั กลา่ ว 13
5) การจัดสรรทรพั ยากร (Resource Allocation) ระบบปฏิบัติการจะทาหน้าท่ีจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีอยู่อย่าง จากัด เพื่อบริการแก่โปรเซสต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากในการทางานของระบบ คอมพวิ เตอร์ ไมว่ ่าจะเป็นจะเปน็ ซีพยี ู หน่วยความจา อปุ กรณ์ I/O รวมถึงโปรแกรมตา่ งๆ ล้วน ต้องการทรัพยากรในการทางาน หากมีการแย่งชิงทรัพยากร อาจทาให้เกิดภาวะติดตายหรือ วงจรอับ (Deadlocks) ซึ่งจะส่งผลให้โปรแกรมไม่สามารถทางานต่อไปได้ หรือ อาการเครื่อง แฮงก์ น่ันเอง 14
6) การจดั การระบบแฟม้ ข้อมูล (File System Management) การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลในรูปแบบของไดเร็กทอรี หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า โฟลเดอร์ จะเร่ิมต้นจากไดเร็กทอรีระดับบนสุดที่เรียกว่า Root Directory ส่วนไดเร็กทอรีที่สร้างขึ้นใน ระดบั ลกึ ลงไปเป็นชน้ั ๆ จะเรียกว่าไดเรก็ ทอรียอ่ ย (Subdirectory) ในขณะเดยี วกนั ไดเร็กทอรี ย่อยก็สามารถสร้างไดเร็กทอรีย่อยลงไปได้อีก ทั้งนี้ไดเร็กทอรีท่ีอยู่เหนือถัดจากไดเร็กทอรีย่อย ข้ึนไป จะเรียกว่าไดเร็กทอรีพ่อ (Parent Directory) และในการค้นหาแฟ้มข้อมูลใดๆ บนส่ือ ระบบแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการจะอ้างอิงเกี่ยวกับ “พาธ (Path)” ซึ่งก็คือ เส้นทางที่ ประกอบดว้ ย ชือ่ ไดรฟ์ ไดเร็กทอรี จนกระท่ังสนิ้ สดุ ทต่ี ัวไฟล์ เชน่ C:\\Documents\\Letters\\ann.doc 15
ลาดับโครงสรา้ งไดเร็กทอรีและเสน้ ทาง (Path) การจัดเก็บแฟม้ ขอ้ มลู 16
ประเภทแฟ้มขอ้ มูล นามสกุล ข้อความ (Text) .txt .dat .rtf .doc (Word 2003) .docx (Word 2007) โปรแกรม (Programs) .com .exe .dmg (Mac) ไฟลส์ นบั สนนุ โปรแกรม .ocx .vbx .vbs .dll รูปภาพ (Graphics) .bmp .jpg .tif .gif .png .pcx .eps .ai (Illustrator) เสยี ง (Audio) .wav .mid .mp3 .mp4 .aac .au .midi .ra (RealAudio) วดิ ีโอ (Animation/Video) .mpg .mp4 .mov .avi .rm .wmv เวบ็ เพจ (Web Page) .htm .html .asp .vrml .php ไฟล์บบี อดั (Compress) .zip .rar ตวั อยา่ งประเภทแฟ้มข้อมูล ท่ีถูกจดั แบ่งตามสกุลไฟล์ชนดิ ต่างๆ 17
7) การจัดการงานประมวลผล (Task Management) ทาสก์ (Task) คือ การปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องกับงานด้านการจัดเก็บข้อมูล การดึง ข้อมูล การส่ังพิมพ์ และการคานวณ ระบบปฏิบัติการในปัจจุบันมีความสามารถในการรองรับ งานได้มากกว่าหนึ่งงาน เช่น ผู้ใช้ได้โหลดโปรแกรม MS-Word, MS-Excel และ Media Player เพอ่ื ทางานและฟังเพลงไปพรอ้ มๆ กนั ซ่ึงเปน็ การประมวลผลหลายงานพรอ้ มกัน 18
7.1 ระบบมลั ติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming) หรือเรียกอกี ชื่อหนึ่งว่า มลั ติยูส เซอร์ (Multiuser) เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อให้คอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงๆ สามารถรองรับงานบริการแก่ผู้ใช้หลายๆ คนได้ในขณะเดียวกัน โดยซีพียูจะใช้เวลาส้ันๆ ที่ แนน่ อนในการประมวลผลโปรแกรมของผู้ใช้แตล่ ะคนจนครบทกุ คน 7.2 ระบบมัลติโปรเซสซ่ิง (Multiprocessing) หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมี โปรเซสเซอร์ตั้งแต่สองตัวข้ึนไป เพ่ือรองรับงานการประมวลผลจากผู้ใช้หนึ่งคนหรือมากกว่า โดยตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะหน่วยประมวลผลหรือซีพยี ูมากกว่าหน่ึงตวั ช่วยกันประมวลผลไป พรอ้ มๆ กนั ซง่ึ เป็นการประมวลผลแบบคู่ขนาน 19
7.3 ระบบมัลติทาสก้ิง (Multitasking) หรือรู้จักกันอีกชื่อหน่ึงว่า ไทม์แชร์ร่ิง (Time Sharing) โดยระบบมลั ตทิ าสก้ิงจะอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถรันโปรแกรมได้มากกว่าหน่ึง โปรแกรมในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันได้ โดยระบบจะใช้หลักการสลับการประมวลผลไปมา อย่างรวดเร็ว 20
8) การรกั ษาความปลอดภยั (Security) ระบบปฏบิ ตั ิการของคอมพิวเตอร์ ยังมีการนารหัสผ่านและขั้นตอนความปลอดภัยอืน่ ๆ มาใช้เพื่อป้องกันการเข้าถึงทรัพยากรระบบจากบุคคลภายนอก โดยผู้มีสิทธิ์จะต้องมีบัญชีผู้ใช้ และรหัสผ่านเท่านั้น จึงสามารถเข้าสู่ระบบได้ และผู้ใช้ที่มีสิทธิ์แต่ละคน ก็จะมีระดับสิทธิ์ใน การเข้าใช้ทรัพยากรระบบที่แตกต่างกัน นอกจากน้ี ระบบปฏิบัติการโดยส่วนใหญ่ ยังผนวก คุณสมบัติความปลอดภัยทางด้านอ่ืนๆ เพิ่มเติมเข้าไป เช่น “ไฟร์วอลล์ (Firewall)” เพื่อ ป้องกนั การบกุ รุกจากภายนอก 21
1) อนิ เตอร์เฟซของระบบปฏิบตั กิ าร การออกแบบอินเตอร์เฟซระบบปฏิบัติการ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์เป็นสาคัญ เชน่ หาก เป้าหมายของระบบปฏิบัติการคือ ผู้ใช้ท่ัวๆ ไป การเลือกใช้อินเตอร์เฟซแบบกราฟิก (GUI) ย่อมเป็นทางเลือกที่ดีกว่า เพราะช่วยอานวยความสะดวกในการโต้ตอบการใช้งานกับระบบได้ ง่ายข้ึน แต่ถ้าเป้าหมายคือกลุ่มผู้ใช้งานระดับผู้ชานาญการท่ีมีทักษะความรู้พิเศษ เช่น ผู้ดูแล ระบบ (Admin) การเลือกใชอ้ ินเตอรเ์ ฟซแบบคาสง่ั ทผ่ี ้ใู ช้ต้องปอ้ นคาสั่งเองผ่านคีย์บอร์ด ย่อม มคี วามเหมาะสมกว่า และยังประหยดั ทรัพยากรระบบด้วย 22
2) ชนดิ ของระบบปฏบิ ัตกิ าร ระบบปฏิบัติการ ยังมีแบบที่ใช้งานบนเคร่ืองพีซีท่ัวไป เช่น ระบบปฏบิ ัติการ Windows XP, Windows 7 และ Windows 8 หรืออาจเป็นระบบปฏิบัติการเครือข่าย ที่รองรับการเชื่อมต่อ คอมพวิ เตอร์หลายๆ เคร่ืองเข้าด้วยกัน โดยมีศูนย์บรกิ ารท่เี รยี กวา่ เซริ ฟ์ เวอร์ท่ีใช้เป็นเคร่ืองแม่ข่ายทา หน้าที่คอยรับใช้งานบริการต่างๆ จากเคร่าองลูกข่ายที่มีการร้องขอเข้ามา ตัวอย่างระบบปฏิบัติการ เครือขา่ ย เชน่ Windows Server, Novell Netware, และ Unix เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยังมีระบบปฏิบัติการสาหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ ท่ีออกแบบใช้งานบน โทรศัพท์เคล่ือนที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาอ่ืนๆ รวมถึงระบบปฏิบัติการแบบฝังตัว ท่ี ตดิ ต้ังไว้กับตู้บรกิ ารคิออส (Kiosks), เครอ่ื งบันทกึ เงินสด, รถยนต์ และอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสอ์ ืน่ ๆ 23
3) ชนิดของซีพียูที่สนับสนนุ การพัฒนาระบบปฏิบัติการ จะต้องได้รับการออกแบบให้ใช้งานบนพีซียูประเภทใด ประเภทหน่ึง ไม่ว่าจะเป็นซีพียูท่ีใช้งานบนเคร่ืองเดสก์ท็อป เซิร์ฟเวอร์ หรืออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์แบบพกพา นอกจากน้ี ในปจั จุบนั ยังมีระบบปฏิบัตกิ ารแบบ 32 บติ และ 64 บิต ให้เลือกใช้ เช่น ระบบปฏบิ ัติการ Windows 32 บิต และ 64 บิต ซึ่งจะต้องใชง้ านควบคู่กับ ฮารด์ แวร์ที่เข้ากนั ดว้ ย สภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในระบบคอมพิวเตอร์หน่ึงๆ อาจมีความ แตกต่างกันในเรื่องสถาปัตยกรรมซีพียูและระบบปฏิบัติการ ส่ิงเหล่านี้เรียกว่า “แพลตพอร์ม (Platform)” 24
3.1 ซีพียู CISC (Complex Instruction Set Computing) สถาปัตยกรรมบนพื้นฐานซีพียูแบบ CISC น้ัน ประกอบไปด้วยชุดคาสั่งภายใน จานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นชุดคาสั่งพ้ืนฐานและชุดคาส่ังท่ีมีความซับซ้อน การเขียนโปรแกรมบน CISC ทาได้ง่ายและสั้นกว่า เพราะซีพียูรู้จักคาส่ังต่างๆ มากมาย แต่ก็มีข้อเสียคือ การบรรจุ ชุดคาสัง่ ต่างๆ มากมายถึง 200 ถึง 300 ชดุ คาส่ังลงในซีพยี ู ย่อมส่งผลต่อขนาดของตัวซีพียู ใช้ พลังงานมาก จึงทาให้เกิดความร้อนสูง ชุดคาสั่งบางมากมายท่ีบรรจุอยู่ในซีพียู อาจไม่ได้ถูก เรียกใชง้ านท้ังหมด ซีพยี ูท่ีใช้สถาปัตยกรรม CISC เช่น ชิปตระกูล Intel และ AMD ซึ่งใชง้ าน อยูบ่ นเคร่ืองพซี ีทว่ั ไปน่ันเอง 25
3.2 ซพี ียู RISC (Reduced Instruction Set Computing) สถาปัตยกรรมบนพื้นฐานซีพียูแบบ RISC จะมีแนวคิดตรงกันข้ามกับ CISC อย่าง ส้ินเชิง โดยพยายามลดชุดคาส่ังภายในซีพียู (โดยท่ัวไปจะมีไม่เกิน 18 คาสั่ง) ภายในบรรจุ ชุดคาส่ังพ้ืนฐานง่ายๆ ท่ีใช้งานอยู่เป็นประจา ทาให้ถอดรหัสอย่างรวดเร็ว คาสั่งที่มีความ ซับซ้อนก็จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการในการนาคาสั่งพื้นฐานที่มีอยู่มาประกอบ เข้าด้วยกัน ส่งผลให้ซีพียูมีขนาดเล็กกว่ามาก ใช้พลังงานน้อยกว่า ตัวอย่างซีพียูท่ีใช้ สถาปัตยกรรม RISC เช่น ชิปตระกูล Power PC, Silicon Graphics และ DEC Alpha เป็น ต้น 26
ชนิดซีพยี ู ข้อดี ขอ้ เสีย CISC 1. เครือ่ งพซี จี านวนมากในปจั จบุ นั ใช้ 1. กระบวนการผลิตค่อนข้างย่งุ ยาก และ RISC สถาปัตยกรรมแบบ CISC ซบั ซอ้ น ทาให้เกิดขอ้ ผิดพลาดได้ง่าย 2. มโี ปรแกรมมากมายทอ่ี อกแบบมาเพอื่ 2. โปรแกรมกราฟกิ และมลั ติมีเดีย เมอื่ รนั บน ทางานกบั ซีพียูชนิดน้ี โดยเฉพาะบริษทั ซีพียู CISC จะชา้ กว่า RISC ไมโครซอฟต์ 1. การออกแบบซพี ยี จู ะง่ายกว่า และประหยัด 1. ด้วยเหตุผลทางการตลาด จึงทาใหผ้ ผู้ ลิต พลงั งานไฟฟ้า ซอฟตแ์ วรส์ ่วนใหญ่พัฒนาโปรแกรมบน 2. โปรแกรมกราฟกิ และมัลตมิ เี ดยี เมือ่ รนั บน พ้นื ฐานซพี ียู CISC มากกว่า ซพี ียแู บบ RISC จะทางานได้รวดเรว็ กว่า 2. ตลาดซีพียูส่วนใหญเ่ ปน็ ของอินเทล ทาให้ CISC ซีพยี ู RISC ไม่เติบโตเทา่ ทีค่ วร แมว้ ่า RISC จะดีกวา่ ในหลายๆ ด้าน 27
1) ดอส (DOS) ระบบปฏบิ ัติการดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นระบบปฏบิ ัติการที่มีใช้ และได้รับความนิยมในช่วงปี ค.ศ. 1980 – 1990 เป็นระบบท่ีอนิ เตอร์เฟซแบบคาสั่งที่เรียกวา่ Command Prompt ปัจจบุ ันไม่ได้รับความนยิ มในการใช้งานแลว้ 28
2) วินโดวส์ (Windows) ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ มีจุดเด่นคือ เป็นระบบปฏิบัติการท่ีมีแอพพลิเคชั่นสนับสนุน อยู่มากมาย นยิ มใชง้ านตามภาคธุรกจิ ภาครฐั สถาบันการศกึ ษา และผใู้ ช้งานตามบา้ นทว่ั ไป การพัฒนารุ่นตา่ งๆ ของวินโดวส์ ค.ศ. 1985 Windows 1.0 ค.ศ. 1988 Windows 2.0 ค.ศ. 1990 Windows 3.0 ค.ศ. 1992 Windows 3.11 ค.ศ. 1995 Windows 95 29
การพัฒนารนุ่ ต่างๆ ของวนิ โดวส์ (ต่อ) ค.ศ. 1998 Windows 98 ค.ศ. 1999 Windows 98SE (Second Edition) ค.ศ. 2000 Windows 2000 ค.ศ. 2000 Windows ME (Millennium Edition) ค.ศ. 2001 Windows XP ค.ศ. 2006 Windows Vista ค.ศ. 2009 Windows 7 ค.ศ. 2012 Windows 8 ค.ศ. 2013 Windows 8.1 30
Windows Server เป็นระบบปฏบิ ัตกิ ารท่ีถูกออกแบบให้ใชง้ านบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดยเฉพาะ มักติดต้งั ใช้งาน ตามองคก์ รท่ัวไป การพฒั นาร่นุ ต่างๆ ของวนิ โดวส์เซริ ์ฟเวอร์ ค.ศ. 1993 Windows NT 3.11 ค.ศ. 1994 Windows NT 3.5 ค.ศ. 1995 Windows NT 3.51 ค.ศ. 1996 Windows NT 4.0 31
การพฒั นารุ่นต่างๆ ของวนิ โดวสเ์ ซิร์ฟเวอร์ (ตอ่ ) ค.ศ. 2000 Windows 2000 Sever, Advanced Server ค.ศ. 2003 Windows Server 2003 ค.ศ. 2007 Windows Server 2008 ค.ศ. 2009 Windows Server 2008 R2 ค.ศ. 2012 Windows Server 2012 32
3) แมคโอเอส (Mac-OS) ระบบปฏิบัติการแมค เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานบนเคร่ืองแมคอินทอชจากค่ายแอปเป้ิล เป็นระบบปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาข้ึนจากพ้ืนฐานของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ อีกทั้งยังเป็น ตน้ แบบอินเตอร์เฟซแบบกราฟกิ (GUI) อกี ดว้ ย รุ่นตา่ งๆ ของ Mac OS X Mac OS X 10.0 Cheetah Mac OS X 10.1 Puma Mac OS X 10.2 Jaguar Mac OS X 10.3 Panther 33
ร่นุ ตา่ งๆ ของ Mac OS X (ต่อ) Mac OS X 10.4 Tiger Mac OS X 10.5 Leopard Mac OS X 10.6 Snow Leopard Mac OS X 10.7 Lion Mac OS X 10.8 Mountain Lion Mac OS X 10.9 Mavericks Mac OS X 10.10 Yosemite 34
4) ยูนกิ ซ์ (Unix) ต้นกาเนิดของระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกเมื่อปลายปี ค.ศ. 1960 ที่ ห้องปฏิบตั ิการ Bell Laps (AT&T) โดยถูกออกแบบมาใช้งานบนเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ระดับกลาง และตอบสนองการใช้งานในรูปแบบมัลตยิ สู เซอรแ์ ละมลั ตทิ าสกิ้ง 5) ลีนกุ ซ์ (Linux) ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ ถูกพฒั นาขึ้นโดย Linus Torvalds เมื่อปี ค.ศ. 1991 มีจุดเดน่ คือ เป็นระบบปฏิบัติการที่คล้ายกับยูนิกซ์ หรืออาจกล่าวได้ว่า ลีนุกซ์เป็นสายพันธุ์หนึ่งของ ยูนิกซ์ก็ได้ และยังเป็นระบบเปิดท่ีเปิดโอกาสให้นักพัฒนานาไปปรับปรุงเพื่อแบ่งปันใช้งานบน อนิ เทอรเ์ น็ต 35
1. Windows Phone 2. Android 3. iOS 4. BlackBerry OS / BlackBerry Tablet OS 5. HP webOS 6. Symbian OS 36
โปรแกรมยทู ิลิต้ี (Utilities Program) หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ ถูกสร้างขึ้นเพ่ือปฏิบัติ กับงานค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ซ่ึงปกติมักเก่ียวข้องกับการจัดการระบบ และงานบารุงรักษา ระบบคอมพิวเตอร์ ในทนี่ ไ้ี ด้มกี ารจัดหมวดหมโู่ ปรแกรมยูทลิ ติ ้ไี ว้ 7 ประเภทดว้ ยกนั คือ 1. โปรแกรมจดั การไฟล์ (File Management Programs) 2. เคร่ืองมอื คน้ หา (Search Tools) 3. โปรแกรมวนิ ิจฉัยและจดั การดิสก์ (Diagnostic and Disk Management programs) 4. โปรแกรมถอนการติดตงั้ และทาความสะอาด (Uninstall and Cleanup Programs) 5. โปรแกรมบบี อัดไฟล์ (File Compression Programs) 6. โปรแกรมสารองและกู้คืนไฟล์ (Backup and Recovery Programs) 7. โปรแกรมป้องกนั ไวรสั (Antivirus Programs) 37
Search
Read the Text Version
- 1 - 37
Pages: