Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์แปลกใต้ท้องทะเลลึก

สัตว์แปลกใต้ท้องทะเลลึก

Published by Suraphat Thongkum, 2023-03-10 04:16:55

Description: International Childre's Book Day (Flyer)

Search

Read the Text Version

ปลาน้ำแข็งจระเข้ ปลาน้ำแข็งจระเข้ หรือ ปลาเลื อดขาว เป็นปลาที่อาศั ยอยู่ในน้ำ เย็น บริเวณแอนตาร์คติก้าและทางใต้ของอเมริกาใต้ พวกมันมี ร่างกายใสและมีเลื อดที่ใสเหมือนน้ำ เนื่ องจากเลื อดของมันไม่มี ฮีโมโกลบินหรือไม่มีเม็ดเลื อดแดง เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลั ง เพียงชนิดเดียวในโลกที่ไม่มีฮีโมโกลบิน ปลาน้ำแข็งจระเข้กิน เคย โคพีพอดส์ แพลงก์ตอน และปลาเป็นอาหาร พวกมันมี ระบบเผาผลาญที่อาศั ยเพียง ออกซิเจนที่ละลายในเลื อดใสๆของ พวกมัน ที่มีความเชื่ อว่า ออกซิเจน จากน้ำถูกดูดซึมเข้าทาง ผิ ว ห นั ง ข อ ง ป ล า โ ด ย ต ร ง ( ทั่ ว ไ ป ป ล า จ ะ ดู ด ซึ ม อ อ ก ซิ เ จ น ผ่ า น เหงื อก)

หอยเบี้ยลิ้นเฟมมิงโก้ ที่เราเห็นสีส้ม เหลื อง ดำ ที่ดูสดใสบนตัวของเจ้าหอย เบี้ยลิ้ นเฟมมิงโก้นั้น แต่จริงๆแล้ วมันไม่ได้เป็นส่วนนึง ของตัวมันเอง แต่เป็นเสมือนเสื้ อผ้าที่ปกคลุมมันอยู่ ขนาดตัวของมันเฉลี่ ยอยู่ที่ประมาณ 0.98-1.38 นิ้ว เท่านั้นเอง อาศั ยอยู่ในน่านน้ำเขตร้อนของมหาสมุ ทร แ อ ต แ ล น ติ ก ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น ต ก จ า ก น อ ร์ท แ ค โ ร ไ ล น า ไ ป ยั ง ชายฝั่ งทางตอนเหนือของบราซิล รวมทั้งเบอร์มิวดา, ทะเลแคริบเบียน อ่ าวเม็กซิโกและแอนทิลเลสเบี้ยน

มังกรทะเลใบไม้ มังกรทะเลใบไม้ เป็นปลาทะเลกระดูกแข็งชนิดหนึ่ ง เป็นวงศ์ เดียวกัน กับม้าน้ำ มีความยาวเต็มที่ได้ประมาณ 35 เซนติเมตร พบทางตอน ใต้และตะวันตกของทวีปออสเตรเลี ย ถือเป็นปลาเฉพาะถิ่น มักอาศั ย อยู่ในกระแสน้ำอุ่ นในความลึ กตั้งแต่ 3-50 เมตร มีจุ ดเด่นตรงที่มี ครีบต่าง ๆ ลั กษณะคล้ ายใบไม้หรือสาหร่ายทะเล ทำให้ได้ชื่ อว่าเป็น ปลาที่มีความสวยงามที่สุดในโลก ซึ่งครีบเหล่ านี้ไม่ได้มีไว้ว่ายน้ำแต่ใช้ สำหรับอำพรางตัวจากศั ตรูและยังใช้หาอาหารอี กด้วย กินอาหารจำพวก แพลงก์ตอน, กุ้งและครัสเทเชียนขนาดเล็ กๆ การผสมพันธุ์และวางไข่ เนื่ องจากมังกรทะเลใบไม้ไม่มีถุงหน้าท้องเหมือนม้าน้ำ แต่ตัวเมียมีไข่ ติดอยู่กับใกล้ ส่วนหางซึ่งเต็มไปด้วยเส้นเลื อดที่มีอยู่มากมายซึ่งพัฒนา ขึ้ นมาเฉพาะตัวผู้ในช่วงผสมพันธุ์เท่านั้น เมื่ อผสมพันธุ์กันตัวเมียจะ วางไข่บริเวณหางของตัวผู้ซึ่งจะม้วนงอเข้า ปริมาณไข่ราว 100-200 ฟอง หรือเต็มที่ 250 ฟอง ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 4-6 สัปดาห์

หมึกแก้ว ห มึ ก แ ก้ ว เ ป็ น ป ล า ห มึ ก ต า โ ต ข น า ด ใ ห ญ่ และลั กษณะของตาจะแตกต่างกันออกไปแล้ วแต่ ชนิดของมัน รูปร่างบวมกลมยาวเหมือนซิการ์ หนวดเล็ ก ขนาดตั้งแต่ 10 เซนติเมตรไปจนถึง 3 เมตร จุ ดเด่นคือตัวมันใสมากๆ จนเห็นภายใน เลยก็ว่าได้ ทำให้มันสามารถพรางตาหลบสัตรูหรือ หาอาหารก็ได้ พบอยู่ในทะเลลึ กเกือบทั่วโลก อ า ห า ร ข อ ง มั น คื อ แ พ ล ง ก์ ต อ น

หมีน้ำ หมีน้ำ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก เมื่ อโตเต็มที่มีขนาดเพียง 1.5 มิลลิเมตร ส่วนตัวที่เล็ กที่สุดมีขนาดเพียง 0.1 มิลลิ เมตร มันมีมากกว่า 1000 สายพันธุ์ โดยมากเป็นพวกกินพืช ส่วนน้อยกินแบคทีเรีย และกินสัตว์ สามารถพบได้ทั่วโลก ตั้งแต่ที่ยอดเขาหิมาลั ยที่ความ สูงกว่า 6,000 เมตร จนถึงในทะเลลึ กถึง 4,000 เมตร ไม่ว่า จะเป็นที่ขั้วโลกหรือในบริเวณเส้นศู นย์สูตร มันอยู่ได้ในที่ที่มีแรงดัน สูงถึง 6,000 ATM ซึ่งแรงดันปกติที่มนุษย์อยู่ทุกวันนี้คือแรง ดันบรรยากาศ มีค่าเท่ากับ 1 ATM เท่านั้น หมีน้ำได้ขึ้ นชื่ อว่าเป็น สัตว์ที่ทรหดที่สุดในโลก มันสามารถมีชีวิตอยู่ได้ในที่มีอุ ณหภูมิต่ำ กว่า -272.8°C (ได้ประมาณ 1 นาที ) และที่ -200°C ( อยู่ ได้ประมาณ 1 วัน ) สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในที่มีอุ ณหภูมิสูงกว่า 151 °C ทนรังสีได้มากกว่ามนุษย์ถึง 1,000 เท่า

แมงกินลิ้น แมงกินลิ้น เป็นปรสิตจำพวกกุ้ง กั้ง ปู มีความยาวตั้งแต่ 3-4 เซนติเมตร แมงกินลิ้ นจะเข้าไปในปากของปลาทางเหงื อกและเกาะ ที่ลิ้ นของปลา แมงกินลิ้ นจะใช้ก้ามที่ขาสามคู่หน้าหนีบลิ้ นของปลาไว้ ทำให้เลื อดออก ยิ่งแมงกินลิ้ นตัวโตขึ้ น ลิ้ นของปลาก็จะมีเลื อดไหล เวียนได้น้อยลงเรื่ อยๆ จนกระทั่งลิ้ นนั่นฝ่ อเนื่ องจากขาดเลื อด จาก นั้นแมงกินลิ้ นจะเอาตัวเองติดกับกล้ ามเนื้ อลิ้ น ซึ่งปลาจะใช้แมงกิน ลิ้ นได้เหมือนลิ้ นปกติ แมงกินลิ้ นจะดูดเลื อดหรือไม่ก็กินเนื้ อเยื่ อของ ของปลาเป็นอาหาร โดยไม่ได้กินเศษอาหารของปลาแต่อย่างใด ได้ มีการพบปลาที่ถูกแมงกินลิ้ นเกาะในสหราชอาณาจักร ซึ่งปกติแล้ ว จะพบแมงกินลิ้ นในแถบชายฝั่ งของรัฐแคลิ ฟอร์เนียทำให้มีการคาด เดาว่าแมงกินลิ้ นอาจจะเพิ่มถิ่นหากินมากขึ้ น แต่ก็เป็นไปได้ว่าแมง กินลิ้ นตัวนี้อาจจะเพียงแต่ติดไปกับปลาซึ่งว่ายน้ำไปจากอ่ าว แคลิ ฟอร์เนียเพียงตัวเดียว

ซาล์ป ซาล์ ป เป็นสัตว์ทะเลชนิดหนึ่ ง ตัวของมันจะโปร่งใส ยาวประมาณ 1-10 เซนติเมตร ลั กษณะกลม ตรงกลาง ป่อง และมักต่อเป็นลูกโซ่เคลื่ อนตัวตามกระแสน้ำ กิน สาหร่าย โดยการอ้ าปากรับน้ำทะเข้าไปแล้ วก็กรองน้ำออก เก็บส่วนที่เป็นอาหารไว้ ซาล์ ปถือว่าเป็นสัตว์ที่ช่วยลดโลก ร้อนได้ เพราะเวลาซาล์ ปกินสาหร่ายเข้าไป ก๊าซ ค า ร์บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ ที่ อ ยู่ ใ น ส า ห ร่า ย ก็ จ ะ ถู ก ขั บ อ อ ก ม า ใ น รู ป ของเสียแล้ วก็จมลงสู่พื้ นทะเล จึงทำให้ระดับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ผิวน้ำลดลง มักพบได้ในเขตน่านน้ำ ต่างๆ ของประเทศออสเตรเลี ย

แมงป่องทะเล แมงป่องทะเล เป็นสัตว์ขาปล้องที่เคยมีชีวิตอยู่เมื่ อ 470 ล้ านปี ถึง 370 ล้ านปีที่แล้ ว ปัจจุ บันสูญพันธุ์ ไปหมดแล้ ว ลั กษณะทั่วไปของมันก็ตามชื่ อเลย คือ มี ก้ามหน้าเป็นคีมใหญ่ๆ สองอั น และมีหางยื่ นออกไป ยาวๆ เหมือนแมงป่อง ปลายหางอาจเป็นหนามแหลม หรือแผ่นแบนก็ได้ แมงป่องทะเลบางชนิดอาจมีความ ยาวสูงสุดได้ถึง 2.5 เมตร ตัวอย่างได้แก่เจ้าของ ฟอสซิลก้ามที่ถูกขุ ดพบในปี 2007 ถือว่าเป็นสัตว์ขา ปล้ องที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีชีวิตบนโลกนี้

หวีวุ้น หวีวุ้น เป็นสัตว์ที่มีลั กษณะคล้ ายกับแมงกะพรุน มีลำตัว ใส เป็นทรงกลม มีแผ่นหวีที่ช่วยให้หวีวุ้นเคลื่ อนที่ไปมา ได้อย่างมีประสิทธิภาพในทะเล หวีวุ้นเป็นนักล่ าที่ดุร้าย โดยใช้แส้เส้นยาวๆ 2 เส้น เป็นเครื่ องมือจับเหยื่ อส่ง เข้าปาก บนแส้ทั้งสองมีกาวที่มีคุณสมบัติเป็นเลิ ศซึ่ง สามารถดักจับเหยื่ อ คล้ ายกับทำให้เกิดอาการชาและติด แน่นบนแส้ ลำตัวหวีวุ้นประกอบด้วยเซลล์ ที่เปล่ งแสง เรืองอย่างสวยงามในยามค่ำคืน ซึ่งเป็นคุณสมบัติอี กข้อ หนึ่ ง ที่ช่วยล่ อเหยื่ อให้ติดกับได้

แบล็ค สวอลโลว์ แบล็ ค สวอลโลว์ เป็นปลาทะเลน้ำลึ ก มี ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 25 เซนติเมตร ซึ่ง สามารถขยายท้องตัวเองได้ 3 - 4 เท่า ของขนาดตัวปกติ และมีขากรรไกรที่กว้าง ดังนั้นมันจึงสามารถกลื นปลาที่มีขนาดใหญ่ กว่ามันได้ ปลาชนิดนี้จะอยู่ใต้ทะเลลึ ก ประมาณ 700-2,745 เมตร พบได้ใน เ ข ต ร้อ น ทั่ ว โ ล ก

หนอนบอบบิท หนอนบอบบิท เป็นสัตว์ที่อาศั ยอยู่ใต้ทะเล โตเต็มที่มีความยาวถึง 3 เมตร มันมีอาวุ ธ และวิธีมากมายที่จะใช้ฆ่าเหยื่ อของมัน นั่น รวมไปถึงเขี้ยวของมันที่จะตัดเหยื่ อขาดเป็น สองท่อน หรือแม้กระทั่งพ่นพิษใส่เหยื่ อเพื่ อที่ จะได้กินง่ ายๆ พวกมันสามารถพบได้ทั่วไปใน เขตน้ำอุ่ นที่ความลึ กประมาณ 150 เมตร และยังพบได้ทั่วโลกอี กด้วย

ปลาฉลามกอบลิน ฉลามก็อบลิ น เป็นปลาฉลามน้ำลึ กที่พบเห็นตัวได้ยาก เป็น เพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวในวงศ์ และสกุลเดียวกันนี้ก็ยังดำรงเผ่าพันธุ์ มาจนถึงปัจจุ บัน ถือได้ว่าเป็น \"ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต\" มีความยาว เต็มที่ 3 - 4 เมตร ปลาฉลามกอบลิ นมีลั กษณะเด่น คือ บริเวณ ส่วนหัวด้านบนที่มีส่วนกระดูกที่ยื่ นแหลมออกไปข้างหน้าเหนือกรามบน ในปากเต็มไปด้วยฟันที่แหลมคม ซึ่งส่วนหัวที่ยื่ นยาวออกไปนั้น ด้าน ล่ างประกอบไปด้วยอวัยวะเล็ ก ๆ หลายร้อยอั นที่ทำหน้าที่เหมือน เซนเซอร์ตรวจจับคลื่ นไฟฟ้าของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เพื่ ออาหารซึ่งได้แก่ ปู หรือสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ ที่หลบซ่อนตัวลงในพื้ นโคลนใต้ทะเล ซึ่ง เป็นสถานที่หาอาหารได้ยากยิ่ง อี กทั้งกรามยังสามารถขยายออกมา เพื่ อพุ่งงั บเหยื่ อมิให้หลุดไปได้อี กด้วย ฉลามก็อบลิ นอาศั ยอยู่ในเขตน้ำ ลึ กได้มากกว่า 100 เมตร ซึ่งอาศั ยอยู่ในทะเลน้ำลึ กแถบมหาสมุ ทร แปซิฟิคตอนใต้ไล่ ไปจนถึงมหาสมุ ทรแอตแลนติคและมหาสมุ ทรอิ นเดีย ต อ น ใ ต้

ปลาบร็อบ ป ล า บ ร็อ บ ส า ม า ร ถ พ บ เ จ อ ไ ด้ ใ น ก้ น ท ะ เ ล ซึ่ ง มี ค ว า ม ก ด อากาศมากกว่าระดับทะเลทั่วไป ถึง 12 เท่า โดยปกติ แล้ วความกดอากาศมากขนาดนี้จะทำให้ประสิทธิภาพของ กระเพาะปลาลดต่ำลง แต่ปลาบร็อบมีหนังเป็นแพวุ้นหุ้ม หนาแน่นยิ่งกว่าท้องน้ำ จึงลอยตัวอยู่เหนือพื้ นทะเลได้ โดยไม่หมดกำลั ง ใช้พลั งงานน้อยที่สุด จึงทำให้ปลาบร็ อบไม่จำเป็นต้องมีกล้ ามเนื้ อ และข้อดีอย่างแรกก็คือมัน สามารถทิ้งตัวลงมาจับเหยื่ อจากด้านบนจึงเป็นการดี กว่าจะเข้าจู่โจมจากด้านหน้า เพราะอาจจะได้รับอั นตราย จากการที่เหยื่ อต่อสู้ได้ ปลาบร็อบอาศั ยในน้ำลึ กนอก ชายฝั่ งออสเตรเลี ยแผ่นดินใหญ่และในแทสแมเนีย

หมึกดัมโบ หมึกดัมโบเป็นหมึกตระกูล “GRIMPOTEUTHIS” แต่ที่เรียกว่า หมึกดัมโบ้ เนื่ องจากหมึกสายพันธุ์นี้มีครีบที่เหมือนใบหูบนหัว คล้ าย กับช้างน้อยบินได้ชื่ อ “ดัมโบ” จากการ์ตูนดังของวอลต์ ดิสนีย์ ครีบนี้ ช่วยให้มันว่ายน้ำได้สะดวก โดย หมึกดัมโบจะเคลื่ อนที่ด้วยแรงดันน้ำ จากน้ำที่ดูดเข้าไป ทรงตัวด้วยแขนและครีบซึ่งกระพือ มองดูคล้ าย พวกมันบินอยู่ใต้ท้องน้ำลึ ก หมึกดัมโบว่ายน้ำลอยเหนือพื้ นทะเลได้เล็ ก น้อย ขณะมองหาเหยื่ อ เช่น หนอนทะเล ปลาตัวเล็ ก ดัมโบมีร่างกาย อ่ อนนุ่ม และกึ่ งโปล่ งใส มีครีบขนาดใหญ่ สองอั นบนร่างกาย พังผืด ยึดระหว่างหนวด อาศั ยอยู่ในทุกมหาสมุ ทรที่ระดับน้ำลึ กตั้งแต่ 3,000-7,000 เมตร ซึ่งลึ กเกินกว่าหมึกสายพันธุ์อื่ นจะมีชีวิตอยู่ได้ ปกติหมึกดัมโบมีขนาดราว 20 เซนติเมตร แต่เท่าที่เคยมีการบันทึก ไว้หมึกดัมโบสายพันธุ์ใหญ่ที่สุดมีขนาดราว 1.8 เมตร และหนักถึง 5.9 กิโลกรัม อี กทั้งยังสามารถเปลี่ ยนสีผิวเพื่ อพรางตัวได้ด้วย

ปักเป้ากล่องเหลืองจุดดำ ปลาปักเป้ากล่องเหลืองจุ ดดำ หรือ ปลาปักเป้ากล่องจุ ดเหลือง เป็นปลาปักเป้าชนิดหนึ่ งในวงศ์ ปลาปักเป้ากล่ อง (OSTRACIIDAE) ลำตัวมีเกราะหุ้มเป็นรูปสี่เหลี่ ยมคางหมู ในแนวตัดขวาง ปากมีขนาดใหญ่และมีฟันซี่เล็ ก ๆ ครีบหาง ใหญ่ แต่ครีบอื่ น ๆ เล็ ก เหมือนปลาปักเป้าชนิดอื่ นทั่วไป ลำ ตัวเป็นสีเหลื องและมีจุ ดกลม ๆ เล็ ก ๆ สีดำประค่อนข้างมาก โดยเฉพาะที่ส่วนหัว มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 35 เซนติเมตร เป็นปลาที่หากินอยู่ตามลำพัง โดยว่ายน้ำช้า ๆ ในแนวปะการัง ใกล้ ชายฝั่ ง กินอาหารซึ่งเป็นสัตว์น้ำขนาดเล็ ก ๆ ตามโพรงหิน ของปะการัง ปลาขนาดใหญ่ พบกระจายพันธุ์ในมหาสมุ ทร แปซิฟิก และมหาสมุ ทรอิ นเดีย ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้ง 2 ฝั่ ง จั ด เ ป็ น ป ล า ที่ พ บ บ่ อ ย

แอกโซลอเติล แอกโซลอเติล เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในอั นดับซาลาแมนเดอร์ชนิด หนึ่ ง เป็นซาลาแมนเดอร์ขนาดเล็ ก ที่มีถิ่นที่อยู่ค่อนข้างจำกัด โดยจะ พบได้เฉพาะทะเลสาบหรือพื้ นที่ชุ่มน้ำใกล้ กับกรุงเม็กซิโกซิตี ประเทศ เม็กซิโกเท่านั้น จุ ดเด่นของแอกโซลอเติลก็คือ มีพู่เหงื อกสีแดงสดซึ่ง เป็นอวัยวะช่วยในการหายใจซึ่งติดตัวมาตั้งแต่ฟักออกจากไข่ โดยที่ไม่ หายไปเหมือนกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำจำพวกอื่ น เช่น กบหรือซาลาแมน เดอร์ชนิดอื่ น ซึ่งที่ถือได้ว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์อี กประการหนึ่ งของแอก โซลอเติล คือ เมื่ ออวัยวะไม่ว่าส่วนใดของร่างกายขาดหายไปจะ สามารถซ่อมแซมตัวเองได้ ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะภายนอกหรืออวัยวะ สำคัญภายในร่างกาย เช่น หัวใจ ปอด แอกโซลอเติลยังเป็นสัตว์ที่ ไม่มีเปลื อกตา และของเหลวที่ขับออกมาเป็นของเสียออกจากร่างกาย ก็ไม่ใช่ปัสสาวะ แต่เป็นน้ำที่ผ่านเหงื่ อ อี กทั้งยังมีสีผิวแตกต่างกัน หลากหลายด้วย เช่น สีน้ำตาลเข้ม สีดำ สีส้ม สีขาวตาดำ

มังกรทะเลใบหญ้า มังกรทะเลใบหญ้า เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ ง ในวงศ์ ปลาจิ้มฟันจระเข้ และม้าน้ำ มีลั กษณะทั่วไปคล้ ายกับมังกรทะเลใบไม้ ซึ่งเป็นปลาชนิดที่ ใกล้ เคียงมากที่สุด เพียงแต่มังกรทะเลใบหญ้ามีระยางค์ต่าง ๆ น้อย กว่า มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 45 เซนติเมตร แต่ขนาดโดยทั่วไป ประมาณ 30 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์เฉพาะตอนใต้ของ ออสเตรเลี ยเท่านั้น และเกาะทัสมาเนีย เหมือนกับมังกรทะเลใบไม้ โดยอาศั ยอยู่ตามกองหินและแนวปะการัง หรือกอสาหร่าย พบได้ใน ระดับความลึ กถึง 50 เมตร เป็นปลาที่มีพฤติกรรมการขยายพันธุ์ เช่นเดียวกับปลาชนิดอื่ นในวงศ์ เดียวกัน คือ ตัวผู้เป็นฝ่ ายอุ้ มท้อง ตัวเมียจะวางไข่ได้ครั้งละประมาณ 1,200 ฟองในหน้าท้องของตัวผู้ ไข่ใช้เวลาประมาณ 1 เดือนถึงจะฟักเป็นตัว ตัวอ่ อนเมื่ อฟักออกมา แล้ วจะกินอาหารได้เลยทันทีและว่ายน้ำเป็นอิ สระ

แตงกวาทะเล แตงกวาทะเล เป็นสัตว์ที่พึ่ งถูกค้นพบ ได้ไม่นานในอ่ าวเม็กซิโกตอนเหนือที่ ความลึ ก 2,750 เมตร ลั กษณะตัว ของมันมีสีแดง โปร่งใสมองจนเห็น ระบบย่อยอาหาร มันกินเศษซาก ตะกอนที่อุ ดมสมบู รณ์เป็นอาหาร

ดาวขนนก ดาวขนนก เป็นสัตว์จำพวกเดียวกับดาวทะเล หรือที่คนทั่วไป นิยมเรียกกันว่า ปลาดาว ซึ่งความจริงแล้ วมันไม่ใช่ปลาและไม่ ได้มีส่วนคล้ ายกับปลาเลย โดยส่วนใหญ่สัตว์ทะเลกลุ่ มนี้จะคืบ คลานหากินอยู่บนพื้ นทรายใต้ท้องทะเล แต่ดาวขนนกแตกต่าง จ า ก พ ว ก นั้ น เ พ ร า ะ มั น ช อ บ เ ก า ะ อ ยู่ บ น โ ข ด ป ะ ก า รัง ห รือ ย อ ด หิ น บริเวณที่มีกระแสน้ำไหลผ่าน ยิ่งน้ำไหลแรงมันยิ่งชอบ เพราะ เจ้าดาวขนนกนั้นจะคลี่ รยางค์แขนจำนวนมากออกไปเพื่ อดักจับ อ า ห า ร ที่ ล อ ย ม า กั บ ก ร ะ แ ส น้ำ ส่ ง เ ข้ า ไ ป ท า ง ช่ อ ง ป า ก ที่ อ ยู่ ต ร ง ศู นย์กลางลำตัวด้านล่ าง มันมีอวัยวะยึดเกาะที่อยู่ด้านล่ าง ลั กษณะคล้ ายรากของต้นโกงกาง คอยเกาะจับเกาะกับพื้ น ป ะ ก า รัง อ ย่ า ง มั่ น ค ง ไ ม่ ว่ า ก ร ะ แ ส น้ำ จ ะ ไ ห ล แ ร ง เ พี ย ง ใ ด

หมูทะเล หมู ทะเล เป็นสัตว์ที่จัดอยู่ในกลุ่ มปลิ งทะเลน้ำ ลึ ก มีลั กษณะอ้ วนกลม ผิวสีชมพู มีปากที่ คล้ ายจมู กหมู จึงไม่แปลกที่พวกมันจะถูก เรียกว่า \"หมู ทะเล\" กินอาหารพวกเศษซาก พืช ซากสัตว์ ที่ปะปนอยู่ในโคลนของพื้ นทะเล พบได้ในมหาสมุ ทรแอตแลนติก แปซิฟิกและ มหาสมุ ทรอิ นเดีย ที่ความลึ กมากกว่า 1,000 เมตร

ดาวตะกร้า ดาวตะกร้า เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเลจำพวกหนึ่ ง เป็นสัตว์ทะเลที่มีวิวัฒนาการน้อยที่สุดในกลุ่ มสัตว์ไฟลั มเอ ไคโนดอร์มาทา (ECHINODERMATA) โดยถือกำเนิด มาจากยุ คคอร์บอนิฟอรัส มีลั กษณะคล้ ายดาวเปราะ ทั่วไปอาศั ยอยู่ตามพื้ นทะเล มีแขนหลายแขน มีอายุ ยืน เต็มที่ได้ถึง 35 ปี และมีน้ำหนัก 5 กิโลกรัม เหมือนกับ สัตว์จำพวกอื่ นในไฟลั มเดียวกัน คือ แลกเปลี่ ยนแก๊สและ ระบบไหลเวียนโลหิตตามท่อลำเลี ยง เป็นสัตว์ที่มีขนาด ใหญ่ที่สุดในไฟลั มเอไคโนดอร์มาทา มีความยาวได้ถึง 70 เซนติเมตร เส้นผ่าศู นย์กลางลำตัว 14 เซนติเมตร

ปลานกฮูก ปลานกฮู ก เป็นปลาขนาดราวๆ 20 เซ็นติ เมตร มีดวงตากลมโต ผิวหนังปกคลุมด้วย เกล็ ดเล็ กๆ เลื่ อมทอง เขียวและน้ำเงิ นสดใส สองข้างตัวเป็นครีบขนาดใหญ่คล้ ายกับปีกที่ กึ่ งโปร่งใส พบได้ในเขตอุ่ นของมหาสมุ ทร แอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อ่ าวเม็กซิโก ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มหาสมุ ทรอิ นเดีย และมหาสมุ ทรแปซิฟิก

ปลากบ ปลากบ เป็นปลาที่อยู่ในกลุ่ มของปลานักตกเบ็ด (ANGLERFISH) ซึ่งมีญาติ ๆ รวมกันราว 300 ชนิด ตัว โตเต็มที่ที่มีขนาดประมาณ 22 เซนติเมตร ลั กษณะเด่นของ ปลาในกลุ่ มนี้ก็คือ จะมีก้านครีบด้านบนหัวที่พัฒนาขึ้ นมาเป็น ก้านเล็ ก ๆ ยาวใสคล้ าย ๆ คันเบ็ด และที่ปลายก้านครีบนี้จะมี พู่เล็ ก ๆ ที่มองดูเหมือนเหยื่ อตกปลาติดอยู่ส่วนบนของหัว โดยก้านครีบเล็ ก ๆ บนหัวที่คล้ ายเป็นคันเบ็ดประจำตัวนี้จะพับ ไว้บนหัว หรือยื่ นตรงออกมา แล้ วส่ายไปมา เพื่ อให้ปลาที่เป็น เหยื่ อหลงกล คิดว่าพู่เล็ ก ๆ ที่ปลายคันเบ็ดนั้นเป็นเหยื่ อ จำพวกกุ้ง หรือปลาตัวเล็ ก ๆ เมื่ อปลาที่สนใจว่ายเข้ามาใกล้ หมายจะจับกินเหยื่ อเล็ ก ๆ นั้นเป็นอาหาร ก็จะถูกปลากบ หรือ ปลานักตกเบ็ดใช้ปากที่กว้างใหญ่ฮุ บกินเป็นอาหาร

ปลาขวาน ปลาขวาน เป็นปลาน้ำลึกที่อาศั ยอยู่ในทะเลเขต ร้อน มีขนาดเล็กไม่เกิน 5 นิ้ว พวกมันอาศั ยอยู่ ในน้ำลึ กประมาณ 650-3,000 ฟุ ต มันกิน สัตว์น้ำลึ กที่ตัวเล็ กกว่ามันเป็นอาหาร ตัวของ สามารถผลิ ตสารเรืองแสงได้เช่นเดียวกับหิ่งห้อย ปลาขวานจึงสามารถปรับแสงในตัวเองได้ ทั้งนี้ ด้านนักผิวของมันจะสะท้อนน้ำคล้ ายกระจก เมื่ อ ลึ กลงไปในน้ำ จึงมองเห็นตัวของมันได้ยาก ถึง น่ า ต า ข อ ง มั น จ ะ ดู โ ห ด ร้า ย แ ต่ มั น เ ป็ น ป ล า ที่ ไ ม่ มี อั นตราย

ปลาเเลมป์เพรย์ ปลาแลมเพรย์เป็นปลาไหลชนิดหนึ่ ง ลำตัวด้านหลังมัก จะเป็นสีดำ มีครีบหลั งและครีบหาง แต่ไม่มีครีบคู่ ไม่มี เกล็ ด ปากจะอยู่ค่อนลงมาทางด้านท้อง มีลั กษณะ คล้ ายแว่นใช้สำหรับดูด ปากกลมซึ่งไม่จำเป็นต้องมี กล้ ามเนื้ อขนาดใหญ่ขึ้ นมาบังคับขากรรไกรให้อ้ าและหุบ แบบปัจจุ บัน พวกมันต้องการเพียงปากที่มีตะขอสำหรับ เกาะเหยื่ อเพื่ อดูดเลื อดสัตว์อื่ นเป็นอาหาร และดำรงชีพ เป็นปรสิตเมื่ อดูดเลื อดของเหยื่ อจนตัวเหยื่ อแห้งก็จะ ปล่ อยแล้ วหาเหยื่ อใหม่ แลมเพรย์มีหลายชนิด บาง ชนิดไม่จำเป็นต้องดำรงแบบปรสิต มีทั้งในน้ำจืดและน้ำ ทะเล และมีกระจายอยู่ทั่วโลก

แฟงค์ทูธ แฟงค์ทูธ เป็นปลาที่อาศั ยอยู่ในทะเลน้ำลึก และถึงแม้ว่ารูป ร่า ง ข อ ง มั น นั้ น จ ะ มี รู ป ร่า ง เ ห มื อ น กั น อ ย่ า ง กั บ สั ต ว์ ป ร ะ ห ล า ด นั้ น แต่ว่าเมื่ อมันมีการโตเต็มวัยนั้นมันก็จะมีความยาวเพียงแค่ 6 นิ้ว เท่านั้น และลำตัวนั้นจะสั้นแต่ว่าจะมีหัวที่มีขนาดใหญ่ เป็น ปลาที่มีฟันที่แหลมคมและยาว เหมือนกับเขี้ยวที่เรียงตัวกันอยู่ ในปากที่มีขนาดใหญ่นั่นเอง แฟงค์ทูธอาศั ยอยู่ในใต้ทะเลน้ำลึ ก ลงไปถึง 16,000 ฟุ ต และด้วยความลึ กขนาดนี้นั้นก็จะทำให้ แ ร ง ดั น น้ำ นั้ น มี ร ะ ดั บ ที่ สู ง แ ล ะ เ ย็ น ม า ก จ น แ ท บ ที่ จ ะ เ ป็ น น้ำ แ ข็ ง เลยทีเดียว และในเรื่ องของอาหารของแฟงค์ทูธนั้นก็จะหาได้ ยาก มันจึงทำให้แฟงค์ทูธนั้นกินทุกอย่างที่ขว้างหน้าที่หากินได้ และสำหรับอาหารส่วนใหญ่แล้ วนั้นก็จะตกลงมาจากทะเลด้าน บน เจ้าแฟงค์ทูธสามารถพบได้ในเขตอบอุ่ นและร้อนชื้ นทั่วโลก รวมไปถึงทวีปออสเตรเลี ย

ปลาค้างคาวปากแดง ปลาค้างคาวปากแดง พวกมันเป็นสิ่งมีชีวิตบนโลก มี ลั กษณะเด่นคือ ริมฝี ปากสีแดงสด พวกมันไม่ได้เป็นนัก ว่ายน้ำที่ดี เลยต้องปรับตัวโดยมีครีบแข็งบริเวณใต้ท้อง ข อ ง มั น ที่ ทำ ห น้ า ที่ เ ห มื อ น กั บ ข า ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ค ล า น ห รือ เ ดิ น บนพื้ นมหาสมุ ทร พบได้ทั่วหมู่เกาะกาลาปากอสที่ระดับ ความลึ ก 30 เมตรหรือมากกว่า ปลาค้างคาวปากแดง (RED-LIPPED BATFISH) มีความสัมพันธุ์ใกล้ ชิด กับ ปลาค้างคาวปากสีดอกกุหลาบ (ROSY- LIPPED BATFISH) ซึ่งจะพบอยู่แถวเกาะโคโคส บริเวณนอกชายฝั่ งของประเทศคอสตาริกา

ปลาไหลริบบิ้น ปลาไหลริบบิ้น เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ ง อยู่ในวงศ์ ปลาไหลม อเรย์ มีขนาดเล็ ก มีสีสันสดใส และสามารถเปลี่ ยนเพศได้ตาม วัย นั้นคือเมื่ อยังเล็ ก ลำตัวเป็นสีดำ โดยที่ไม่สามารถรู้ได้ว่า เป็นตัวผู้หรือตัวเมีย แต่เมื่ อโตขึ้ นลำตัวเป็นสีน้ำเงิ นและเป็น ตัวผู้และเมื่ อมีอายุ มากขึ้ นอี กลำตัวเป็นสีเหลื องและกลายเป็นตัว เมีย กินสัตว์น้ำขนาดเล็ กเป็นอาหาร โดยปลาไหลจะยืดตัวออก จากรูเพื่ อหาอาหาร โดยปกติจะซ่อนตัวอยู่ในรูตามพื้ นทะเล ซึ่ง เป็นทราย มีขนาดความยาวเต็มที่ประมาณ 1 เมตร เป็นปลาที่ พบได้น้อย กระจายพันธุ์อยู่ในมหาสมุ ทรอิ นเดียและแปซิฟิก ใน น่านน้ำไทยก็พบได้น้อย โดยพบได้ทั้งทางฝั่ งทะเลอั นดามันและ อ่ าวไทย เช่น เกาะเต่า, หมู่เกาะสิมิลั น เป็นต้น

ปลาบาร์เรลอาย ปลาบาร์เรลอาย เป็นปลาน้ำลึ กที่ถูกค้นพบ อาศั ย อยู่ในน้ำลึ กมากกว่า 2000 ฟุ ต (600 เมตร) บริเวณเขตน่านน้ำ แคริฟอร์เนียกลาง ซึ่ง เ ป็ น ก า ร ค้ น พ บ ส า ย พั น ธ์ ใ ห ม่ ข อ ง ป ล า ที่ มี หั ว เ ป็ น โดมโปร่งใส มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 6 นิ้ว (15 เซ็นติเมตร) บริเวณส่วนหน้าที่เห็น 2 จุ ด เล็ กนั้นไม่ใช่ ตาแต่เป็น อวัยวะรับกลิ่ น และที่เห็น เ ป็ น โ ด ม สี เ ขี ย ว นั้ น คื อ ตั ว ก ร อ ง แ ส ง อ า ทิ ต ย์ จ า ก ด้านบน และมีดวงตาเป็นจุ ดเล็ กๆ เหนือรูรับ กลิ่ น

หมึกหิงห้อย หมึกหิ่งห้อย คือหมึกเรืองแสง ขนาดโตเต็มที่ 3 นิ้ว หมึกพันธุ์นี้ผลิ ตแสงได้เพราะมีอวัยวะพิเศษที่เรียกว่า PHOTOPHORES รวมพลั งกันขับลำแสงสีฟ้าระยิบ ระยับยามค่ำคืน หมึกหิ่งห้อยอาศั ยอยู่ใต้ทะเลที่ลึ ก ประมาณ 1,200 ฟุ ต และถูกแรงดันจากคลื่ นซัดขึ้ นมา เรืองแสงอยู่บนผิวน้ำ โดยฤดูวางไข่ของหมึกหิ่งห้อยจะ รวมตัวกันผสมพันธุ์และวางไข่ที่ อ่ าวโทมายะ ซึ่งถือ เป็นสถานที่ซึ่งงดงามไปด้วยหมึกหิ่งห้อย และมีนักท่อง เที่ยวให้ความสนใจมากที่สุด ทั้งในเรื่ องรูปลั กษณ์และ รสชาติ ซึ่งถือเป็นหนึ่ งอาหารอั นโอชะของประเทศญี่ปุ่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook