44 กิจกรรมทที่ าํ วัตถปุ ระสงค การวางแผน 1. การวางแผน “การวางแผนเปนจดุ เริม่ ตนของการทาํ งานตามนโยบาย เพ่อื บรรลุวตั ถปุ ระสงคขององคกร โดยกําหนดกิจกรรมไวชัดเจนวา จะใหใครทําอะไร ท่ีไหน เม่ือใด เพราะอะไร ดวยวิธีใด เมื่อพบ ปญหาและอุปสรรคทีค่ าดวา จะมีจะเกิดอยางน้ันอยางน้ีแลว จะแกไขอยางไร ในชวงเวลาขางหนา ของการดาํ เนินการภายใตง บประมาณท่ีตง้ั ไว” นอกจากความหมายดงั กลาวขา งตน สามารถแสดงองคป ระกอบของการวางแผนงานไดดงั นี้ 1. การวางแผนเปนจุดเร่ิมตนของการลงมือทํางาน เปนรากฐานหรือหนาที่ประการแรก ของกระบวนการการจัดการ 2. แผนงานตองสอดคลองหรือรับใชนโยบาย ซึ่งนโยบายสนองตอบวัตถุประสงค ขององคกร 3. ในแผนงานประกอบดวยกิจกรรมตาง ๆ ตามลําดับความสําคัญและวิธีการทํางาน อยางเปนข้ันตอน 4. ทุกขัน้ ตอนของแตล ะกิจกรรม สามารถตอบคําถามได ดงั นี้ 4.1 ใคร (ตามหนาท่ีและความรบั ผดิ ชอบที่ไดร ับมอบหมายใหทํา) 4.2 ทําอะไร เรือ่ งอะไร (ตามภาระงาน) 4.3 ทําทีไ่ หน จุดที่ทํางานหนว ยงานท่ีทํา 4.4 ทาํ เมอื่ ใด คอื เรม่ิ ตนทาํ ตามกจิ กรรมท่มี อบหมายเม่อื ใด จะส้นิ สุดลงเมื่อใด 4.5 แสดงเหตผุ ลวาทําเชนน้ี (กจิ กรรม) เพราะอะไร จะไดผลอยา งไร 4.6 กําหนดวิธีทํางานในแตละขั้นตอนเอาไวชัดเจนพรอมกับแสดงปญหาและ อุปสรรคท่คี าดวา เมอื่ ทําถงึ ข้ันตอนนน้ั แลวอาจเกิดอะไรข้ึนบางและจะไดดีตองกําหนดหรือแสดง วธิ ีการแกปญ หาและวธิ หี ลีกเลย่ี งอปุ สรรคน้นั ๆ เอาไวด ว ย 5. ตองกําหนดชว งเวลาของแผนไวต ามลกั ษณะหรือชนดิ ของแผนงานนนั้
45 6. ในทกุ กจิ กรรมจะตอ งใชทรพั ยากรหรืองบประมาณเทาใดกํากับไวดวยจะยิ่งดี เม่ือรวม แลวจะทราบวาแผนงานนี้จะตอ งใชงบประมาณเทาใด ความสาํ คญั ของการวางแผน การวางแผน เปนการกาํ หนดแนวทางวา จะทําอะไร เม่อื ใด อยางไร โดยใชท รพั ยากรตาง ๆ ขององคก ร ทาํ ใหเห็นถึงความชดั เจนทีจ่ ะดําเนนิ ไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตองการ หาก การดาํ เนินการใดปราศจากการวางแผนจะกอ ใหเกิดปญหาตาง ๆ ขึ้นดังนี้ 1. เกดิ ความสบั สนวา จะตองทําอะไร ทําเม่อื ใด ทาํ อยา งไร 2. เกิดความเส่ียงตอความสําเรจ็ เพราะไมทราบแนวทางวาจะมโี อกาสสําเร็จตามวัตถุประสงค ไดอ ยางไร 3. เกดิ ความสูญเสียในการใชท รัพยากรตาง ๆ ซึ่งนาํ มาใชอ ยา งไมเหมาะสมไมมีประสิทธิภาพ สูงสุดและการสูญเสยี เวลา 4. เกดิ การทํางานทห่ี ลงทศิ ทาง เบ่ยี งเบนออกจากวัตถุประสงคเดิม 5. ไมสามารถติดตามความกา วหนา ของงานและไมสามารถประเมินผลงานได การวางแผนจึงมีความสําคัญท่ีชว ยใหผ ปู ฏิบัติงานไมเกิดความสับสนวาจะตอ งทาํ งานอะไร ทําเมอ่ื ใด งานใดทํากอน งานใดทําหลัง และทํางานโดยวิธีอยางไร เมื่อทํางานแลวสามารถติดตาม ความกา วหนาของงานวา สาํ เร็จมากนอ ยเพียงใด มีโอกาสดําเนินงานถึงผลสําเร็จตามวัตถุประสงค หรือไมแ ละสามารถประเมนิ ผลงานไดวา มีความสําเรจ็ เพียงใด ประเภทของแผนงาน การแบง ประเภทของแผน มีการแบง ในหลายลกั ษณะ ดังน้ี 1. แบง การวางแผนตามระยะเวลา แบง ได 3 ประเภท 1.1 แผนระยะส้ัน เปนแผนงานทีเ่ กย่ี วขอ งกับกิจกรรมเฉพาะอยาง หรือกิจกรรมที่ มีระยะเวลาดําเนินการไมนาน โดยปกติมักจะมีระยะเวลาดําเนินการไมเกิน 1 ป เชน แผนงาน ประจําป แผนงบประมาณ แผนงานเฉพาะกิจ เปนตน 1.2 แผนระยะปานกลาง เปนแผนงานท่ีมีระยะเวลาดําเนินการยาวนานกวา 1 ป สว นใหญจะมรี ะยะเวลา 3-5 ป กลา วคือ มีระยะเวลาไมส้ันจนไมสามารถเห็นความสําเร็จ แตก็ไม ยาวนานเกินไป เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนโครงการกอสรางรถไฟฟา แผนการสรา งเขอ่ื นเก็บกักนา้ํ เปนตน 1.3 แผนระยะยาว เปน แผนงานท่มี รี ะยะเวลาดําเนนิ การยาวนานกวา 5 ป ประมาณ 5-10 ป เชน แผนรณรงคใหคนไทยรูหนังสือไทย 100 % แผนการพัฒนาทุกหมูบานปลอดฝุน แผนการบรกิ ารใหท กุ หมบู า นมีโทรศัพทใช แผนการขยายไฟฟาท่วั ทกุ หมบู า น เปนตน แผนระยะยาว สว นใหญจะเปนแผนการจัดบริการของทางราชการ สวนทางดานธุรกิจเอกชนอาจมีบางในธุรกิจ
46 ขนาดใหญหรือธุรกิจขามชาติ เชน แผนการขยายสาขามินิมารทท่ัวทุกจังหวัด แผนการขยาย ขอบขา ยบรกิ ารสัญญาณโทรศพั ทมือถอื ครอบคลุมทุกพ้นื ที่ของประเทศไทย เปนตน 2. แบง การวางแผนตามขอบเขตของการวางแผน เปนการจัดแบงโดยพิจารณาเนื้อหาของ แผนวา มีขอบเขตครอบคลุมเพยี งใด มี 5 ประเภท คอื 2.1 แผนแมบท เปนแผนหลักท่ีครอบคลุมแผนระดับรองลงมาท้ังหมดโดย แผนระดบั รองตองมคี วามสอดคลอ งกับแผนแมบท 2.2 แผนกลุมหนาที่หรือกลุมงาน เปนแผนกวาง ๆ ที่ครอบคลุมขอบเขตของ กลมุ หนา ท่ี เชน แผนงานขาย แผนการเงนิ แผนการตลาด แผนการผลิต เปน ตน 2.3 โครงการ เปน แผนงานเฉพาะกิจที่เก่ยี วขอ งกบั หนวยงานใหญ ๆ มากกวาหนึ่ง ข้นึ ไป เชน โครงการสง เสริมการขายในฤดูรอน โครงการจัดแสดงสินคา โครงการจัดงานกาชาด ประจําป เปน ตน 2.4 แผนสรุป เปนแผนทจ่ี ัดทาํ ข้ึนเพอ่ื สรปุ รวมแผนกลุมหนา ท่ีหรอื โครงการตาง ๆ เขาดว ยกันเปน หมวดหมู เชน แผนการศกึ ษา แผนสาธารณสุข แผนการเกษตร เปนตน 2.5 แผนกิจกรรม เปนแผนทแี่ สดงกจิ กรรมตาง ๆ ของแตละสวนงาน เปนแผนใน ระดบั แผนขององคก ร มีรายละเอียดในการปฏบิ ตั ิงาน ซง่ึ ถือวา เปนแผนในระดับลางขององคกร 3. แบง การวางแผนตามลักษณะของการใช 3.1 แผนงานที่ใชประจํา เปนแผนท่ีใชในการปฏิบัติงานท่ีมีการทําซ้ํา ๆ หรือใช สาํ หรบั การแกป ญ หาที่เกดิ ขึ้นเปน ประจาํ เชน ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติงาน กฎ เปน ตน 3.2 แผนงานทีใ่ ชค รัง้ เดยี ว เปน แผนที่กําหนดขน้ึ เพอ่ื การปฏิบตั งิ านเฉพาะครงั้ หรอื ใชเพียงคร้งั เดยี ว เชน แผนเฉพาะกิจ โครงการ งบประมาณ เปน ตน 4. แบง การวางแผนตามขอบขายของการใชแผน 4.1 แผนกลยุทธ เปนแผนท่ีมีขอบขายกวาง ครอบคลุมทุกสวนขององคกรเปน แผนระยะยาวที่กําหนดแนวทางของการใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพสูงสุดภายใตสภาวะ แวดลอ มทง้ั ภายในและภายนอกองคกร 4.2 แผนกลวิธี เปนแผนที่มีขอบขายที่แคบ กําหนดเฉพาะรายละเอียดของการ ปฏิบัติงานวาควรทําอยางไรเพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเปนแผนที่มี ระยะเวลาสัน้ 1-5 ป ลกั ษณะของแผนทด่ี ี ลกั ษณะของแผนทดี่ คี วรประกอบดว ยลกั ษณะดงั ตอไปนี้ 1. มวี ัตถุประสงคห รอื เปาหมายทีช่ ัดเจน เขา ใจงาย วัตถุประสงคหรือเปาหมายตองไมมาก จนไมส ามารถกําหนดแผนงานทรี่ ัดกุมได
47 2. ตอ งครอบคลมุ รายละเอยี ดอยางเพียงพอท่ีจะสามารถปฏิบัติใหสําเร็จตามวัตถุประสงค หรอื เปา หมาย 3. มีความยืดหยนุ พอสมควร สามารถปรับใชก ับสถานการณทเี่ ปลย่ี นแปลงไปได 4. มีระยะเวลาการดาํ เนินการทแ่ี นน อน 5. มกี ารกําหนดบทบาทหนา ทขี่ องผูปฏิบตั ติ ามแผนชดั เจน 6. ผูทเี่ ก่ียวของกบั แผนมีสวนรว มในการวางแผนชดั เจน 7. ใชขอมลู เปน พ้นื ฐานในการตดั สินใจทุกข้ันตอน เทคนิคการวางแผนทดี่ ี 1. กําหนดวัตถปุ ระสงคหรอื เปา หมายใหชัดเจน 1.1 วัตถปุ ระสงค หมายถึง สง่ิ ท่ตี องการใหเกิดขน้ึ ในอนาคต วตั ถปุ ระสงคของการ วางแผนของแตละระดับ การจัดการจะมีลักษณะท่ีแตกตางกันตามบทบาทหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ วัตถปุ ระสงคข ององคก รยอมตองรบั ผดิ ชอบความสําเร็จในภาพรวมขององคกร วัตถุประสงคของ กลมุ หนาที่รบั ผิดชอบตอความสาํ เรจ็ ในภาระหนาท่ีหนึ่ง วัตถุประสงคของกิจกรรมรับผิดชอบตอ ความสําเรจ็ ในกจิ กรรมหน่งึ 1.2 เปาหมาย เปนสิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้นในอนาคตเชนกัน แตจะมีลักษณะ เฉพาะเจาะจงกวา วัตถปุ ระสงค มกั ระบเุ ปน เลขทชี่ ัดเจน เชน ตอ งการสรา งผลกําไรปล ะ 10,000,000 บาท ตอ งการผลิตใหไดปละ 500 คนั ตอ งการทํายอดขายใหไดปล ะ 30,000,000 บาท อยางไรก็ตาม การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรจะตองมีความ สอดคลอ งกับกลยทุ ธและนโยบายขององคกรดวย 2. กําหนดกิจกรรมเปนแนวทางหรือรองรับการปฏิบัติงานใหเกิดความสําเร็จตาม วตั ถปุ ระสงค ดังน้ี 2.1 วิเคราะหก จิ กรรมทต่ี อ งการ 2.2 กาํ หนดผูรับผดิ ชอบแตล ะกิจกรรม 2.3 กําหนดระยะเวลาดําเนินการของแตละกิจกรรม ตลอดจนความสัมพันธ ระหวา งกจิ กรรม 2.4 กาํ หนดงบประมาณของแตละกิจกรรม 3. วิเคราะหหรือตรวจสอบความเปน ไปไดข องแผน แผนงานตา งๆ ทถ่ี กู เขยี นขนึ้ จากความรู ความสามารถของผูบรหิ ารทแ่ี ตกตางกนั อาจไมมคี วามสมบูรณห รืออาจเปนไปไมไดในทางปฏิบัติ
48 จําเปน ตองมกี ารวเิ คราะหห รอื ตรวจสอบวา แผนทเ่ี ขยี นข้ึน มีความเปนไปไดมากนอ ยเพยี งใด อาจมี การปรบั ปรุงแผนใหม คี วามสมบูรณย ่ิงข้นึ เปน การทบทวนแผนกอนท่ีจะนาํ ไปปฏบิ ตั จิ ริง เชน 3.1 กจิ กรรมทกี่ ําหนดขึ้นไมส อดคลอ งตอความสาํ เร็จตามวัตถุประสงค 3.2 กจิ กรรมไมค รบถวนทจ่ี ะทําใหส าํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค 3.3 ผูรับผดิ ชอบทรี่ ะบุไวใ นแผนอาจไมเหมาะสมไมสามารถปฏิบัตงิ านตามแผน ใหบรรลผุ ลได 3.4 ระยะเวลาในแผนไมเ หมาะสม 3.5 งบประมาณทต่ี ํ่าเกนิ ไปจนไมสามารถปฏิบตั ติ ามแผนได หรืออาจสงู เกินไป ทําใหสน้ิ เปลอื งคา ใชจ ายในการดําเนนิ การ 4. การกําหนดรายละเอียดของแผน มักจะเก่ียวของกับการตัดสินใจเลือกวิธีการวาควร ทาํ อยางไร หลกั ในการพิจารณาตดั สินใจเลอื กมี 4 ข้ันตอน ดงั น้ี 4.1 กาํ หนดประเดน็ ปญหาใหช ดั เจน 4.2 กําหนดทางเลอื กตา ง ๆ ที่สามารถแกป ญ หานน้ั ไดหลาย ๆ ทางเลอื ก 4.3 ประเมนิ ขอดี ขอเสยี ของทางเลือกแตละทางเลอื กวามอี ยางไร 4.4 ตดั สินใจเลอื กทางเลือกท่ีดที ีส่ ุด ภายใตสภาวะแวดลอ มภายในและภายนอก องคก ร ประเดน็ ปญ หา ทางเลอื ก 1 พิจารณาขอ ดี ทางเลอื กที่ดที สี่ ดุ ทางเลือก 2 ขอ เสยี ทางเลอื ก 3 แตละทางเลือก ภายใตส ภาวะ แวดลอมภายใน และภายนอก องคกร ดังน้ัน ผูจัดการฝายผลิตจะตองตัดสินใจเลือกวิธีท่ี 1 ซึ่งจะใหโรงงานมีผลกําไรเพ่ิม 1,690,000 บาท กระบวนการวางแผน การวิเคราะหกจิ กรรม เปนการกําหนดกิจกรรมที่จะตองทําในแผน ผูที่ทําหนาที่วิเคราะห จะตองมคี วามรูเกยี่ วกบั เร่ืองที่จะทําอยางดี จึงจะสามารถระบุกิจกรรมท่ีตองทําไดถูกตองครบทุก
49 กจิ กรรมและเขียนความสมั พันธข องกจิ กรรมตาง ๆ ได ตลอดจนการกาํ หนดระยะเวลาของกิจกรรม และการกําหนดงบประมาณท่ตี องใชไดถูกตอง การวเิ คราะหก ิจกรรมโดยการวเิ คราะหกระบวนการของภาระงานท่ที าํ ถือวาภาระงานหน่ึง ๆ สามารถแยกเปน งานยอยหลาย ๆ งาน ซึง่ มคี วามเชอ่ื มโยงกัน มีการลําดับทํากอ นและหลัง ดงั น้ี 1. ภาระงานหน่งึ สามารถแยกเปน งานยอยไดห ลาย ๆ งาน 2. งานยอ ยแตล ะงานมคี วามเชอ่ื มโยงกนั 2.1 งานยอยเช่ือมโยงในแนวนอน งานยอย งานยอย งานยอ ย งานยอย 2.2 งานยอ ยเชื่อมโยงในแนวต้ัง งานยอย งาน งานยอ ย ประกอบ งานยอย รวมกนั 2.3 งานเช่ือมโยงในลกั ษณะผสม งานยอ ย งานยอย งานยอย งานยอย งานยอ ย งานยอย 3. งานยอยแตละงานมลี าํ ดับการทํากอ นและทําหลัง หรือบางงานอาจทาํ พรอมกัน
50 ตัวอยางการวเิ คราะหงานของรา นอาหารตามสัง่ วัตถปุ ระสงคข องราน ปรงุ อาหารตามสั่งจําหนายลกู คา รายการอาหาร จัดซือ้ จัดเตรียม จัดปรงุ จดั บรกิ าร ลกู คา จัดเก็บ ทล่ี กู คา สงั่ วตั ถดุ ิบ วัตถุดิบ อาหาร ลกู คา ภาชนะเพ่ือ นําไปลา ง จัดเก็บเงนิ ตัวอยางนี้จะพบวา การขายอาหารตามส่ังซึ่งเปนภาระงานของรานอาหารสามารถแยก ออกเปนงานยอยไดหลายงาน เชน งานจัดซ้ือวัตถุดิบ งานจัดปรุงอาหารตามสั่ง งานบริการลูกคา งานจัดเก็บเงิน งานจัดเกบ็ ภาชนะไปทาํ ความสะอาด ซง่ึ งานยอยเหลานี้มีลําดับการทํางานกอนหลัง และเชือ่ มโยงท้งั ในแนวนอนและแนวตัง้ ตวั อยางการวเิ คราะหง านของธุรกิจโรงพิมพใ นระบบออฟเซท็ วัตถุประสงค เพ่อื จดั พิมพงานตามที่ลูกคาสงั่ พมิ พ รบั คําสั่งพมิ พ ออกแบบส่ังพมิ พ จดั ทาํ แมพิมพ จดั บรกิ าร งานจากลกู คา จัดซื้อกระดาษ การ จัดสง พมิ พ ลกู คา
ตวั อยางการวเิ คราะหงานของฝา ยสนิ เช่อื ของธนาคารพาณชิ ย 51 สมุหบญั ชี อนุมตั ิ จายเงิน เงนิ กู ทกี่ ู ลูกคา งาน งาน งาน งานขอ นําหลักทรพั ย แสดง ตรวจสอบ ประเมนิ ความจาํ นง เอกสาร หลกั ทรัพย วเิ คราะห อนุมตั ิ ลกู คา ไป ขอกเู งิน หลกั ฐาน สนิ เชื่อ เงินกู จาํ นอง ขัน้ ตน จากงานยอยตาง ๆ ท่ผี า นการวิเคราะหไ ดแ ลวนํามาจดั ทาํ เปน แผนอยางครา ว ๆ หรอื เปน แผนในรายละเอยี ดเพอื่ นาํ ไปปฏิบตั ิแลว แตก รณี ดงั นี้ จากตวั อยา ง ระยะเวลา ผูรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ ลกั ษณะงานยอ ย ดําเนนิ การ 1. งานจดั ซอ้ื วัตถุดบิ 2. งานจดั เตรยี มวตั ถดุ บิ 3. งานจดั ปรุงอาหาร 4. งานจดั บรกิ ารลกู คา 5. งานจดั เกบ็ เงนิ 6. งานจัดเกบ็ ภาชนะไปลาง จากตวั อยา ง ระยะเวลา ผูร บั ผดิ ชอบ งบประมาณ ลักษณะงานยอ ย ดําเนนิ การ 1. ออกแบบสิ่งพิมพ 2. จดั ซอ้ื กระดาษ 3. จัดทําแมพ ิมพ 4. จัดการพมิ พ 5. จดั สงลกู คา
จากตวั อยาง ระยะเวลา 52 ลกั ษณะงานยอ ย ดาํ เนนิ การ ผูร บั ผดิ ชอบ งบประมาณ 1. งานตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน ข้นั ตน 2. งานประเมินหลกั ทรพั ย 3. งานวเิ คราะหส นิ เชื่อ 4. งานขออนมุ ัติเงนิ กู 5. นาํ หลักทรพั ยล ูกคาไปจํานอง 6. จายเงนิ กู แผนงานท่ีไดผานการทําขึ้นแลว ควรจะไดตรวจสอบถึงข้ันตอนตาง ๆ วาครบถวนเพียงพอ ทีจ่ ะดาํ เนนิ การไปสคู วามสําเรจ็ ตามแผนได ตรวจสอบระยะเวลาวาสามารถดําเนินการใหแลวเสร็จได ตามแผนหรือไม ตรวจสอบผูรับผิดชอบวามีความสามารถท่ีจะดําเนินการใหเสร็จตามแผนได ตลอดจนการตรวจสอบงบประมาณทใี่ ชวาเพียงพอหรือเหมาะสมตอ การดาํ เนินการตามแผน การดาํ เนนิ งานตามแผนในระยะเวลาหนึ่ง อาจจะพบวาแผนยังมีความบกพรอ ง ซึ่งจะทราบได กต็ อเมอ่ื ตองมกี ารปฏบิ ตั จิ รงิ เมือ่ พบความบกพรองจะตองมกี ารปรับปรงุ แผนใหดีขึ้นตามหลักการ วางแผนท่ีวาการวางแผนจะตองมีความยืดหยุนพอสมควรที่ทําการปรับปรุงแผนงานตาม สภาพการณทีเ่ ปลี่ยนไป กิจกรรม ใหผ เู รยี นกาํ หนดสนิ คา ที่จะออกสตู ลาดมา 1 ชนดิ และวางแผนการตลาด อธิบายมาพอเขา ใจ 2. การจดั ทาํ โครงการ แนวคดิ สาํ คญั โครงการเปนงานลักษณะหน่ึงท่ีนิยมนํามาใชในการดําเนินกิจกรรมอยางใดอยางหน่ึง ลักษณะของงานโครงการเปนงานท่ีมีกําหนดเวลาแลวเสร็จที่แนนอน มีการประเมินผลสําเร็จ เมื่อส้ินสุดโครงการเปนลักษณะงานที่ไมเหมาะที่จะจัดดําเนินการในระยะยาวหรืองานประจํา การจัดการงานโครงการจึงมีลักษณะของการจัดการท่ีแตกตางจากการดําเนินงานประจํา ความสําคัญของงานโครงการก็คือ การควบคุมเวลาใหโครงการมีการดําเนินการใหเสร็จสิ้น ในระยะเวลาท่ีกําหนดที่สั้นที่สุด เพื่อสามารถควบคุมตนทุนรายจายใหตํ่าสุด ซึ่งตนทุนรายจาย เหลานีจ้ ะแปรตามระยะเวลาของโครงการหากโครงการมีการเสร็จทล่ี าชา ออกไป
53 โครงการเปนสง่ิ ท่พี บเหน็ ไดเสมอในการจดั การองคกรท่วั ไป มีการแบงแยกงานในองคกร มาบริหารในรปู ของโครงการ ไมว าจะเปน หนว ยงานของรัฐหรอื หนว ยงานเอกชน และไมวาจะเปน องคก รขนาดใหญหรือองคก รขนาดเล็กกต็ าม การจดั การงานโครงการก็เปนท่ีนิยมอยางแพรหลาย การทาํ ความเขาใจเก่ียวกบั การจดั การงานโครงการเปนส่ิงท่ีนาสนใจท่ีสามารถนําไปใชประโยชน ไดสาํ หรับนกั บรหิ ารโดยท่ัวไป ความหมายของโครงการ 1. โครงการหมายถึง งานทม่ี กี ารดําเนนิ การในขอบเขตท่ีจาํ กดั โดยมุงหวังความสาํ เรจ็ ของงาน เปนสาํ คญั 2. จากความหมายขา งตน มสี าระสําคญั ดังนี้ 2.1 เปน งานทมี่ ขี อบเขตจาํ กดั ไดแก 2.1.1 ปริมาณงานทีจ่ ํากัด งานโครงการจะเปนงานท่ีมีเนื้องานจํากัด เชน โครงการจดั งานฉลองปใ หม โครงการกอ สรางสะพาน โครงการรณรงคงดสูบบุหรี่ในท่ีสาธารณะ โครงการขยายตลาดสนิ คา ในภาคอสี าน โครงการปรบั ปรุงประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน เปน ตน 2.1.2 มีเวลาท่ีจํากัด โครงการจะมีการจํากัดเวลาการดําเนินการ เพื่อให เห็นความสําเรจ็ ในเวลาทแ่ี นนอน เชน 1 สัปดาห 3 เดือน 1 ป เปน ตน 2.2 เปน งานท่ีตอ งการเหน็ ความสําเรจ็ ท่ชี ัดเจน จะมีการประเมินผลงานเม่ือส้ินสุด โครงการเพื่อวัดผลงานวามคี วามสําเร็จมากนอยเพียงใด ลกั ษณะของโครงการ ในเรื่องของการวดั ความสําเร็จของงานจะแตกตางจากการ ดําเนนิ งานปกติทว่ั ไป งานโครงการตองการวดั ความสําเร็จของงานในเนื้องานโครงการเทาน้ันวามี ความสําเร็จมากนอยเพียงใด สวนการวัดความสําเร็จของงานทั่วไปจะวัดความสําเร็จของงานใน ระยะเวลาหนึง่ วา มคี วามสําเรจ็ เพียงใด และยงั มกี ารดําเนินการตอ ไป ซง่ึ เมื่อครบระยะเวลาหนึ่งก็จะ มีการวดั ผลงานเปน ชว ง ๆ ตอ ไป เชน กําหนดวดั ผลงานเดอื นละครัง้ หรอื วดั ผลงานเปนรายไตรมาส หรือเปน รายป เปนตน ความสําคญั ของโครงการ การดําเนินโครงการมีการใชทรัพยากรตา ง ๆ ขององคกร ซึ่งเกย่ี วพนั กับคาใชจายท่ีเกิดข้ึน จากการใชท รัพยากร การกําหนดงานโครงการมีการจัดทาํ งบประมาณทต่ี องใชตลอดโครงการและ กําหนดระยะเวลาส้ินสุดของโครงการ หากการดําเนินโครงการเสร็จส้ินตามระยะเวลาที่กําหนด จะมกี ารใชเงินตามงบประมาณ แตหากการดําเนินงานโครงการมีการเล่ือนกําหนดเวลาแลวเสร็จ ออกไปจะมีผลทําใหตองเพิ่มงบประมาณคาใชจาย การดําเนินงานโครงการจึงตองมีการควบคุม เวลาใหแลวเสร็จตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด เพ่ือควบคุมตนทุนคาใชจายและผลกระทบตาง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ได
54 ลักษณะของงานโครงการ 1. งานโครงการเปน งานท่ีมกี ําหนดระยะเวลาท่ีแนนอน มีระยะเวลาเร่ิมตนและระยะเวลา สิ้นสดุ ซง่ึ แตกตางจากการดําเนินการประจํา จะมรี ะยะเวลาเรมิ่ ตน แตจะมีการกําหนดเวลาสิ้นสุดท่ี แนนอน ระยะเวลาการดําเนินการของโครงการมีระยะเวลาแตกตางกันตามลักษณะของเนื้องาน โครงการบางลักษณะมีระยะเวลาสั้นต้ังแต 1 สัปดาห ถึง 1 ป เชนโครงการจัดงานคอนเสิรต หารายได โครงการสรา งสะพานลอยสําหรับคนขามถนน 2. งานโครงการมีการบริหารแยกออกจากงานประจํา ลักษณะของงานโครงการจะมีการ จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรแยกออกจากหนวยงานประจํา บางโครงการมีการแยกจาก หนว ยงานประจาํ อยา งเดนชดั ไดแ ก งานโครงการพิเศษ ซ่ึงจะมีงบประมาณของโครงการโดยตรง มกี ารจัดสรรทรัพยากรเพอื่ ใชในโครงการโดยตรง สว นบางโครงการอาจจะมีการแยกจากหนวยงาน เปนบางสวนและดําเนินการควบคูก ับหนวยงานประจํา โครงการลักษณะนจี้ ะมีงบประมาณที่ใชใน โครงการเทาที่จําเปนและทรัพยากรสวนหนึ่งจะใชรวมกับหนวยงานประจํา ไดแก แผนงาน โครงการตาง ๆ 3. งานโครงการจะมีผูบริหารโครงการรับผิดชอบงานโครงการโดยตรง เพื่อใหการ ดาํ เนินงานโครงการมีความเดนชัด มีผูทําหนาที่จัดการและตัดสินใจโดยตรง ทาํ ใหงาน มีความกาวหนาตามลาํ ดับ หากงานโครงการไมเ ปน ไปตามแผนงานก็สามารถระบุผรู ับผดิ ชอบได 4. งานโครงการมีการประเมินผลงานท้ังโครงการเม่ือสิ้นสุดโครงการ งานโครงการจะ เกย่ี วขอ งกบั รายรบั และรายจายทีเ่ กิดข้นึ ในการดําเนินการ เม่ือส้ินสุดโครงการจะมีการประเมินถึง ผลงานที่ไดรับวาเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการหรือไม และมีรายรับรายจายเปนอยางไร เพอื่ ประเมินวาโครงการมีความสําเร็จมากนอ ยเพียงใด แตกตางจากการดําเนินงานประจําจะมีการ ประเมนิ ผลตามระยะเวลาชวงหน่งึ เชน 1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ป เปนการวัดผลสําเร็จในชวงเวลา หนง่ึ เทานัน้ ไมใ ชก ารวดั ผลสําเร็จตลอดอายุของการดําเนนิ การ
55 ตวั อยางการจดั งานรปู โครงการของบรษิ ทั รับเหมากอ สรา งแหง หนง่ึ เปน ดงั นี้ บริษัทรับเหมา กอสราง ฝา ยวางแผนงาน ฝา ยการตลาด ฝายบุคลากร ฝา ยวิศวกรรม ฝายกอสรา ง ฝายจดั ซ้อื วสั ดุ ฝายบญั ชี และการขาย และสถาปต ย อุปกรณ และ การเงิน กรรม โครงการ ฝายการตลาด ฝา ยบคุ ลากร ฝายวิศวกรรม ฝายกอสรา ง ฝายจดั ซอ้ื วสั ดุ ฝายบญั ชี กอสราง และการขาย และสถาปต ย อุปกรณ และ สะพานขาม การเงนิ แมน า้ํ กรรม โครงการ ฝายการตลาด ฝายบุคลากร ฝายวศิ วกรรม ฝา ยกอสรา ง ฝายจดั ซอ้ื วสั ดุ ฝา ยบญั ชี กอ สรางศนู ย และการขาย และสถาปตย อุปกรณ และ การเงนิ ราชการ กรรม จังหวัด โครงการสราง ฝายการตลาด ฝา ยบุคลากร ฝา ยวศิ วกรรม ฝายจัดซอื้ วสั ดุ ฝายบัญชี เข่ือน และการขาย และสถาปตย อุปกรณ และการเงิน ฝายกอ สรา ง กรรม
56 เทคนคิ การบริหารงานโครงการ 1. เทคนิคการดําเนินงานโครงการ การดําเนินงานโครงการมีลักษณะคลายการจัดการ องคกรโดยเริ่มจากการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการใหชัดเจนวาตองการทําอะไร จาก วตั ถปุ ระสงคจ ะนํามาวางแผนของโครงการ ดงั นี้ วตั ถุประสงคของโครงการ แผนงานของโครงการ การวางแผนงานของโครงการก็เหมือนการวางแผนโดยทั่วไปวาจะใหใครทําอะไร ที่ไหน และอยา งไร ซึง่ เปนการกําหนดกิจกรรมท่ีทําและกําหนดการใชทรัพยากรตาง ๆ ท้ังคน เงิน วัสดุ อุปกรณ ตลอดจนวิธีการ ทรัพยากรเหลานี้จะถูกตีมูลคามาเปนงบประมาณที่ใช หรือแผนงาน โครงการไดรับการอนุมัตใิ หดาํ เนินการแลว จะมีการจัดโครงสรางองคกร จัดบุคลากรเขาทาํ งาน มกี ารอํานวยการและการควบคุมงานเชนเดยี วกบั การจดั องคก ร วตั ถปุ ระสงค ของ โครงการ แผนการ จดั โครงสรา ง จดั บคุ ลากร อํานวยการ ควบคมุ ของ องคกรของ เขาทํางาน งาน โครงการ โครงการ การวางแผนงานของโครงการเพื่อกําหนดแนวทางปฏิบัติใหสามารถดําเนินการโครงการ สําเร็จไดต ามวตั ถปุ ระสงคท ีต่ อ งการ การจดั โครงสรางองคกรของโครงการเพือ่ ใหเ หน็ ภาพท่ชี ัดเจน ในการปฏิบตั งิ านรองรับแผนงานของโครงการ การจัดบคุ ลากรเขาทํางานตามโครงสรา งองคก รของ
57 โครงการเพือ่ ใหม ีบุคลากรท่จี ะปฏิบตั ิงานตามแผนงานของโครงการ ตลอดจนมีการอํานวยการและ ควบคมุ งานเพื่อใหง านมีการปฏิบัตติ ามขั้นตอนของแผน เกิดความสําเร็จตามแผนได 2. เทคนคิ การจดั การทรพั ยากรในงานโครงการ 2.1 เทคนิคการจัดการบุคลากร เนื่องจากงานโครงการเปนงานท่ีมีกําหนดเวลา โดยเฉพาะโครงการที่มีกําหนดเวลาสั้น การจัดหาบุคลากรเขาทํางาน ควรจัดหาบุคคลท่ีมีความรู ความสามารถท่เี หมาะสมเขา ทํางานในโครงการ โดยไมต องมกี ระบวนการพัฒนาบุคลากรกอนเขา ทํางาน ตลอดจนในระหวางการดําเนินงานโครงการก็จะไมมีข้ันตอนการพัฒนาบุคลากรเชนกัน สาํ หรับโครงการทมี่ รี ะยะเวลาดาํ เนินการยาวนานหลายป อาจมีการพัฒนาบุคลากรกอนเขาทํางาน หรือพัฒนาบุคลากรในระหวางดําเนินการก็ไดแตจะพัฒนาบุคลากรเทาที่จําเปนตอการดําเนินงาน โครงการใหเ สรจ็ สนิ้ 2.2 เทคนคิ การจดั หาวัสดุอุปกรณและเครื่องจักร การจัดหาวัสดุในงานโครงการ ควรจดั หาเทาทจี่ ะตอ งใชในงานโครงการเทานัน้ ไมจําเปน ตองมีวสั ดคุ งเหลือเหมอื นการดําเนินงาน ประจํา เพราะหากมีสินคาคงเหลืออาจไมมีประโยชนท่ีจะใชไดตอไป สวนการจัดหาอุปกรณท่ีมี มูลคา ไมสูงนัก ก็จัดซื้อเทาที่จําเปนตองใช สําหรับอุปกรณที่มีราคาสูงหรือเคร่ืองจักรที่มีราคาสูง ควรใชวิธีการเชาซึ่งจะทําใหตนทุนรวมมีคาตํ่ากวา และเมื่อสิ้นสุดโครงการก็จะไมตองเหลือ อปุ กรณห รือเคร่อื งจกั รเกา ท่จี ะเปน ภาระแกโ ครงการ 2.3 เทคนิคการจัดสรรการเงิน การจัดสรรการเงินในงานโครงการจะเนนการใช เงนิ ทนุ หมนุ เวียนเปน หลัก การลงทุนในสินทรัพยถาวรควรจะใหมนี อยทีส่ ดุ เทา ทจี่ าํ เปน หรอื อาจไม ควรมสี ําหรับงานโครงการที่จําเปน ตองใชสินทรัพยท ี่มรี าคาสงู เชน ทด่ี ิน อาคาร เครือ่ งจกั ร ควรใช วิธกี ารเชา เพอ่ื ลดการใชเงนิ ทนุ ถาวรซึง่ เปนเงินทุนระยะยาว และเมื่อส้ินสุดโครงการก็จะไมตองมี ภาระกับสนิ ทรัพยถาวรเหลาน้ี อีกทง้ั ยังทําใหตน ทุนรวมในการลงทุนตํ่ากวาดวย 3. เทคนคิ การบรหิ ารเวลาในงานโครงการ เวลาในการดําเนินงานโครงการเปนส่งิ สําคญั หากโครงการลาชาออกไปจากแผนงานจะมี ผลตอ คาใชจา ยทสี่ ูงข้นึ การดาํ เนนิ งานโครงการจึงตองมีการควบคุมเรื่องเวลาเพื่อใหงานเสร็จส้ิน ตามแผนงาน โดยปกติงานโครงการหนึ่ง ๆยอ มแบงออกเปนกิจกรรมยอย ๆ หลาย ๆ กิจกรรม แตละกิจกรรม มีความสมั พันธทสี่ ามารถเขยี นเปน แผนผงั แสดงความสัมพนั ธกันไดใ นลักษณะของโครงขา ยงาน กจิ กรรม ใหผูเรยี นเขยี นโครงการอาชพี ของตนเองมา 1 อาชีพ
58 3. การใชว สั ดอุ ุปกรณ เคร่ืองมือ หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ท่ีมนุษยคิดคนข้ึนหรือประดิษฐขึ้นมาใชเพ่ือความสะดวก รวดเรว็ ประหยัดเวลาและแรงงาน วสั ดุ หมายถึง สิ่งที่ใชแลวสิ้นเปลืองและหมดไป เชน เน้ือ สารใหสี เกลือ ขาว กระเทียม พรกิ ข้หี นู อุปกรณ หมายถึง สิง่ ทใ่ี ชแลว ยังคงเหลือ สามารถใชไดอ กี เชน เคร่ืองบดเนื้อ เครื่องอัดไส เครอ่ื งช่ังชนิดละเอียดและชนิดหยาบ อปุ กรณเครือ่ งครวั ตาง ๆ ไดแก มีด เขียง ถาด กะละมัง หมอ เตา ยกตวั อยา ง การทาํ แหนม การทําแหนม การท่จี ะทาํ แหนมใหมีคุณภาพดี จําเปนตองรูจักเลือกใชวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ ท่ีใช ทําแหนมอยางเหมาะสม ผูบริโภคหรือผูประกอบการเกี่ยวกับการใชเนื้อ เพื่อนําไปแปรรูป ทําผลิตภัณฑแ หนมควรจะทราบถงึ ส่งิ ตาง ๆ ท่ีมีผลตอ คณุ ภาพของผลิตภัณฑแหนมท่ีตองการ และ ส่งิ สาํ คญั อันดับแรกทจ่ี ะตอ งคาํ นงึ ถึงกค็ อื คุณภาพของวตั ถุดิบท่จี ะใช เพราะวาคุณภาพของผลิตภัณฑ ขน้ั สุดทา ยจะดไี ปไมไ ดถ า วตั ถดุ บิ คณุ ภาพดอ ย ฉะนั้นควรทจ่ี ะรจู ักกับวัตถุดบิ ตาง ๆ ในการทําแหนม ไดแ ก 1. เนือ้ หมายถึง เน้อื ทีไ่ ดจ ากสตั วเพื่อนํามาใชเปนอาหาร ซึ่งรวมถึงกลามเนื้อ และอวัยวะ ตาง ๆ เชน ตบั หัวใจ และสวนอื่น ๆ ที่บริโภคได เนื้อจากสัตวชนิดตาง ๆ ไดแก โค กระบือ สุกร แพะ แกะ เปนตน เน้ือสัตวจะมีสวนประกอบทางเคมีแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับสภาพของสัตว แตละชนิดหรืออายุตางกัน โดยท่ัวไปกลามเนื้อของสัตวจะมีสวนประกอบทางเคมี ไดแก น้ํา โปรตนี ไขมัน คารโ บไฮเดรต วิตามนิ เอน็ ไซม สี และแรธาตุตาง ๆ เปนตน 2. สารใหสี การทําแหนมในระดับชาวบาน มักมีการเติมดินประสิวลงไปดวยเล็กนอย เพือ่ ใหเกดิ สแี ดงสวย โดยปรมิ าณที่ใชเตมิ นั้นไมไ ดมกี ารชั่ง ตวง วดั ใชประมาณเองตามความชํานาญ ท่ีปฏิบัติมา ซ่ึงนับวาเปนอันตรายตอผูบริโภค เพราะสารใหสีดังกลาวจัดเปนวัตถุเจือปนอาหาร พวกไนเตรทและไนไตรท ซ่ึงมกี ฏหมายควบคุมกําหนดปรมิ าณการใช โดยอนญุ าตใหใชไดไมเกิน 200 - 500 มิลลิกรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ซึ่งตองคํานวณในรูปโซเดียมไนเตรท และโซเดียม ไนไตรทตามลาํ ดบั ปจ จุบนั การใชไนเตรทและไนไตรท ผสมกับอาหารมีวตั ถุประสงค 3 ประการ คอื 2.1 เพื่อชวยใหอ าหารโดยเฉพาะเนอื้ สตั วมีสีแดงคงทน ไมเสอ่ื มสลายไป ขณะหงุ ตม 2.2 ทาํ ใหอ าหารมีรสชาติและกลิน่ เฉพาะ 2.3 ทาํ ใหเ ก็บอาหารไวไ ดนาน ไนเตรท ไนไตรท จะทําหนาท่ีเปนสารกันเสีย ปองกันการ เจริญเติบโตของจุลนิ ทรีย โดยเฉพาะพวกทีท่ ําหนา ท่ีใหเ กดิ การบดู และพวกทีส่ รางสารพิษ สารใหสีท่ี ขอแนะนําใหใช คือ ผงเพรก ผงเพรกเปนสารเคมีพวกสารประกอบไนเตรทไนไตรท ใชใสลง
59 ผลิตภัณฑ เพอื่ ใหเกิดกลิ่นและรสท่ีตองการ ทําลายจุลินทรียท่ีเปนพิษและทําใหเกิดโรค และเพ่ิม ลงไปเพื่อทําใหผ ลติ ภณั ฑม ีสดี ขี ึน้ 3. สวนผสมอน่ื ๆ เกลือ การเติมเกลือประมาณ 2 - 3 % ของน้ําหนักอาหาร จะชวยทําหนาที่ปองกัน ไมให จลุ ินทรียอนื่ ๆ เจรญิ ได และชว ยดึงน้าํ และน้ําตาลจากเน้ือ และยังสามารถทําหนาที่เปนสารกันบูดได วัตถปุ ระสงคของการใสเกลือในแหนม คือ ทําใหเ กดิ รสเคม็ และทาํ ใหแหนมเกบ็ ไวไ ดน าน ปรมิ าณ เกลือที่ใสถานอยเกินไป จะทําใหแหนมเนาเสียได และถาใสเกลือมากเกินไปแหนมท่ีไดจะมีรส เปรย้ี วนอยกวารสเค็ม ขา ว ขาวท่ีใสล งในแหนมเปน ขาวทผี่ านการหุงตมจนสุกแลวใชไ ดทงั้ ขา วเจา และขาวเหนียว การใสขาวลงไปก็เพื่อเปนแหลงคารโบไฮเดรตแกแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติก ซึ่งเปนตัวที่ ทําใหแหนมมีรสเปร้ียว กระเทียม ตามปกติมักจะบดกระเทียมใหละเอียดกอนแลวจึงใสลงในผลิตภัณฑ การใส กระเทยี มจะใหผ ลทง้ั ในแงเพิ่มกล่ินหอมและรสชาติของแหนม และยังชวยเปนสารกันบูดไดดวย โดยจะใสป ระมาณ 10 % ของนํ้าหนักอาหาร พรกิ ขห้ี นู การทําแหนมอาจจะมีการเติมพริกขี้หนูเปนเม็ด ๆ พริกข้ีหนูท่ีเติมน้ัน นอกจาก จะใหรสเผ็ดเมือ่ บริโภคแลว ยังชว ยเพ่ิมสสี นั ทส่ี วยงามใหก บั แหนมอีกดวย วสั ดอุ ุปกรณใ นการทาํ แหนม การทาํ แหนมบริโภคกนั เองภายในครวั เรือนไมจ ําเปน ตอ งใชว สั ดอุ ปุ กรณท่ียุงยาก แตถามี การผลิตเพ่ือจําหนายในปริมาณมาก ๆ จะมีอุปกรณชวยทุนแรงในการผลิต ซึ่งอุปกรณตาง ๆ ที่ เกยี่ วขอ งกับการทําแหนมมดี งั นี้ 1. เครอ่ื งบดเน้ือ 2. เครอ่ื งอดั ไส 3. เครื่องช่งั ชนดิ ละเอยี ดและชนดิ หยาบ 4. อุปกรณเ ครื่องครัวตาง ๆ ไดแก มีด เขยี ง ถาด กะละมัง หมอ เตา 4. การใชแ รงงาน แรงงาน หมายถึง บคุ คลที่ผูประกอบการจางมาใหปฏิบัติงานตามความเหมาะสมของงาน และความสามารถของแตละบุคคล ซึ่งมีท้ังแรงงานประเภทท่ีมีความชํานาญงานหรือแรงงานท่ีมี ฝมือ แรงงานประเภทไรฝมือที่ตองใชกําลังในการปฏิบัติงาน เชน คนงานแบกหาม และแรงงาน ประเภทวิชาการท่ีตองใชมันสมอง เพ่ือชวยใหการวางแผน การกําหนดนโยบาย และการ ประเมินผลใหธุรกิจดําเนินไปอยางราบรื่น และประสบความสําเร็จตามแผนท่ีกําหนดไว ดังนั้น เจา ของกจิ การหรือผูป ระกอบการจาํ เปน จะตอ งเลือกบคุ ลากรท่ีมีความรู ความสามารถมาทาํ งานตาม
60 ความถนัดของแตละบคุ คลเพอ่ื ประสทิ ธิภาพของงาน ทั้งน้ี นายจางจะตองจายเงินเดือน คาจาง คา คอมมิชช่ัน และสวัสดกิ ารอ่ืน ๆ ใหแกพ นักงานอยางเหมาะสม สรปุ ความสามารถของมนษุ ยท่ีถกู นาํ มาใชใ นการผลิต เพือ่ ทําใหเ กิดเปน สินคาหรือบริการ ข้ึนมา แรงงานนับเปนทรัพยากรท่ีสําคัญที่สุด ถาปราศจากแรงงานและทรัพยากรตาง ๆ ที่กลาว มาแลวทัง้ หมด ก็ไมสามารถนําออกมาใชประโยชนไดผลตอบแทนของแรงงานก็คือ คาจาง มาก หรือนอยขนึ้ อยูกับความสามารถและชนิดของงานนัน้ ๆ ประเภทของแรงงาน ตลาดแรงงานประเทศไทยไดแยกประเภทของแรงงาน ดงั นี้ 1. แรงงานประเภทปญญาชน แรงงานประเภทน้ี ไดแ ก ผูท่จี บการศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษา มีความรูและมีสติปญญาดีแตไมคอยมีฝมือในวิชาชีพ ในแตละปจะมีแรงงานประเภทน้ีเขาสู ตลาดแรงงานเพิม่ ข้ึน 2. แรงงานไรฝมือ แรงงานประเภทนี้ไมคอยมีปญหานักในอาชีพเกษตรกรรมแตกําลังมี ปญหาในดา นอุตสาหกรรม ทต่ี ลาดแรงงานไมตองการเทาทค่ี วร 3. แรงงานประเภทฝมือ แรงงานประเภทนี้ตองผานการฝกอบรมหรือมีประสบการณ ทาํ งานมากพอสมควร เชน ชา งยนต ชางไม ชา งปูน ชา งไฟฟา เปน ตน 4. แรงงานที่ใชค วามรูความชํานาญพิเศษ แรงงานประเภทน้ีจะตองฝกอบรมมาเปนระยะ เวลานานจดั เปนแรงงานท่ียังขาดแคลน ดังนั้น จึงไมมีปญหาการวางงานปจจุบันรัฐบาลกําลังเร่ิม ผลิตแรงงานประเภทน้ีใหเขาสูตลาดแรงงานมากข้ึน เพื่อใหเพียงพอกับความตองการของ ตลาดแรงงาน แรงงานประเภทนี้ ไดแก แพทย วศิ วกร สถาปนิก นกั วิทยาศาสตร เปนตน ตลาดแรงงาน ตลาดแรงงานในประเทศ แบง ไดเ ปน 4 ภาค คอื 1. ตลาดแรงงานภาครัฐ ไดแก แรงงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เชน กระทรวงตาง ๆ การไฟฟาสว นภูมภิ าค องคก ารโทรศัพทแ หงประเทศไทย เปนตน 2. ตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรม ไดแก แรงงานในเมืองท่ีประกอบธุรกิจ การผลิต การแปรรูปการผลติ เชน สถานประกอบการ โรงงานตา ง ๆ ธรุ กจิ กอ สราง เปน ตน 3. ตลาดแรงงานภาคเกษตรกรรม ไดแก แรงงานในชนบทที่มีอาชีพทําไร ทํานา ทําสวน และกิจการอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วกบั การเกษตร จดั เปนแรงงานท่ีทํางานไมสม่ําเสมอ อาจมีการวางงานตาม ฤดกู าล หรอื มกี ารทาํ งานตา่ํ กวาระดับท่คี วรจะเปน เชน ในฤดูฝนเกษตรกรจะทําไร ทํานา มีการใช แรงงานมาก แตพ อฤดแู ลง หรือหลงั เก็บเก่ียวพืชไรห รือขา วแลวกจ็ ะเกิดการวา งงานข้ึน 4. ตลาดแรงงานภาคพาณิชยกรรม ไดแก แรงงานท่ีประกอบการคา หรือการบริการ เชน การคา ขายปลกี -สง การโรงแรม ภตั ตาคาร การธนาคาร ธุรกิจทองเทยี่ ว ธุรกิจสง ออก เปนตน
61 5. การใชส ถานท่ี สถานท่ี หมายถงึ อาคาร บริเวณทป่ี ระกอบอาชพี ธรุ กิจของผูป ระกอบการ ดังกลา ว 6. การใชท ุน ทุน หมายถึง เงินทุนสวนตัวของเจาของ หรือ เงินจากหุนสวนธุรกิจท่ีตกลงปลงใจจะมา สรางธรุ กจิ ใหมร ว มกนั นาํ มากองกนั ไวกอ นเริม่ ตน ทาํ ธรุ กิจ ทนุ หมายถงึ ปจจัยในการผลิตทใี่ ชใ นการสรางสินคา หรอื บริการอ่ืน ๆ ที่มนุษยเปนผูผลิต และไมเ กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ สินคาและบริการน้ัน ๆ จะตองไมใชตวั ทนุ แมว า ทุนนัน้ สามารถที่ จะเสอ่ื มราคาลงได สินคาประเภททุนสามารถรับมาไดโดยใชเงินหรือเงินทุน ในการเงินและการ บัญชี คําวาทุนหมายถึงความมั่งคั่ง โดยเฉพาะความมั่งค่ังที่ใชในการเปดกิจการ ทุนเปนหนึ่งใน ปจ จยั ในการผลติ ปจ จยั อ่นื ๆ รวมไปถึงท่ดี ิน แรงงาน และองคกร ผูประกอบการ หรือการบริหาร จัดการ ซ่งึ คุณสมบัตดิ งั ตอไปน้ีจดั วาเปนทุน 1. สามารถนําไปผลิตสนิ คาอนื่ ๆ ได อยใู นรูปของปจ จยั ในการผลติ 2. ถูกสรางขึ้นมาอีกทีหน่ึงโดยแตกตางจาก \"ที่ดิน\" ท่ีซ่ึงหมายถึง ปจจัยในการผลิตท่ี เกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ เชน พื้นทท่ี างภมู ศิ าสตร และทรพั ยากรทางธรรมชาติ เชน แรธ าตุ 3. ไมไดถูกใชในการผลิตเปนหลักโดยสมบูรณซึ่งทําใหแตกตางจากสินคาก่ึงสําเร็จรูป (ยกเวนคาเสอื่ มราคา) การจดั การกบั การลงทนุ ในธรุ กจิ มีความเขาใจกันวาการจัดการกับการลงทุนในธุรกิจเปนสิ่งเดียวกัน เน่ืองจากในอดีต การจดั การกับการลงทุนในธุรกิจมีลักษณะท่กี ลมกลนื กนั ธรุ กิจแรกเริม่ ภายในประเทศมาจากธุรกิจ ในครัวเรือนและมีขนาดเล็ก เจาของกิจการตัดสินใจลงทุนประกอบธุรกิจและดําเนินธุรกิจดวย ตนเอง แมภายหลังธุรกิจมีขนาดเติบโตขึ้น เจาของยังคงดําเนินธุรกิจดวยตนเอง ความสัมพันธ ระหวางการจดั การกับการประกอบธุรกิจจึงกลมกลืนกันอยางแนบแนน จนกอใหเกิดความเขาใจ ดังกลาว หากไดมีการวิเคราะหในรายละเอียดอยางแทจริงแลว จะเห็นความแตกตางระหวาง การจัดการกบั การลงทนุ ในธุรกิจ โดยพิจารณาถึงหลักบุคคล หนาที่ และวตั ถปุ ระสงค ดังน้ี ลกั ษณะ บคุ คล หนาที่ วัตถุประสงค ตดั สนิ ใจลงทนุ ตองการผลกําไรจากการ 1. การลงทนุ ในธุรกจิ เจา ของ ลงทุนในธรุ กจิ ตัดสินใจจัดการทรพั ยากร เพอื่ ใชท รพั ยากรตา ง ๆ ไดมี 2. การจัดการ ผจู ดั การ ประสทิ ธภิ าพสงู สุด
62 ตดั สินใจ การจัดการ เจาของ ลงทนุ ในธุรกจิ ผจู ดั การ ตอ งการผลกาํ ไร ใชทรัพยากรอยางมี ประสทิ ธภิ าพ จากตารางและแผนภาพดังกลาว เจาของธุรกจิ ในฐานะผทู ตี่ ดั สินใจเลือกลงทนุ ในธุรกิจ ซึ่ง ตองลงทนุ ในทรพั ยากรตา ง ๆ เพ่อื มงุ หวงั ผลกําไรจากการลงทุน ผูทําหนาท่ีนําทรัพยากรตาง ๆ มา จัดการ คือ ผูจ ัดการ ซึ่งตองรับผิดชอบตอการนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ ธรุ กจิ ซึง่ จะทําใหธ รุ กิจไดร บั ผลกําไรตามทคี่ าดหวงั ของเจา ของ ในธรุ กิจขนาดใหญการแบงแยกหนาท่ีระหวางเจาของและผูจัดการจะมีความชัดเจน แต สําหรับธุรกิจขนาดยอม เจาของมักจะเขาจัดการธุรกิจดวยตนเอง กลาวคือ เปนทั้งผูลงทุนและ ผูจดั การทรพั ยากรดวยตนเอง 2. การจดั การการตลาด 2.1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด เปนการศึกษาตลาดจากปจ จยั ภายนอกและภายในทาํ ใหผปู ระกอบการวางแผนการตลาดได อยา งมน่ั ใจและสามารถบอกรายละเอียดในการดาํ เนินงานไดอ ยา งชดั เจน การวจิ ัยการตลาดและขอมลู การตลาด การวจิ ัยการตลาดหรือการศึกษาตลาดจะตอ งพิจารณาถึงพฤติกรรมผูบริโภค มีข้ันตอนใน การวจิ ยั ดงั น้ี 1. การศกึ ษาโอกาสหรอื การศกึ ษาตลาด ผปู ระกอบการจะตอ งศึกษาใน 2 เรอ่ื ง คือ การศึกษาโอกาสทางการตลาด เปน การศกึ ษาพฤตกิ รรม ผบู ริโภค และการศึกษาสถานการณทาง การตลาด เปนการศึกษาส่ิงแวดลอมภายในและภายนอกของกิจการ ประกอบดวย 1) การศึกษาจดุ แข็ง เปน การศกึ ษาถงึ ขอดีหรือจดุ แข็งของสินคาหรอื บรกิ าร 2) การศกึ ษาจดุ ออน เปนการศึกษาขอเสียหรือปญ หาทเ่ี กิดจากองคป ระกอบทาง การตลาด 3) การศึกษาโอกาส เปน การศกึ ษาขอ ไดเปรียบหรอื สง่ิ ทีเ่ อื้ออาํ นวยใหแกก จิ การ 4) การศึกษาอปุ สรรค เปน การศกึ ษาปญ หา อปุ สรรคทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ 2. การกาํ หนดวตั ถุประสงคทางการตลาด 3. การเลอื กตลาดเปา หมาย 4. การศกึ ษาพฤตกิ รรมผบู รโิ ภค
63 5. การศกึ ษาสวนประสมทางการตลาด ไดแ ก ดา นผลติ ภัณฑ ดา นการสง เสริมการตลาด ดา นแผนการจดั จําหนา ย ดา นแผนราคา 2.2 การหาความตองการของตลาด ความจาํ เปนและความตองการ ความจําเปน หมายถงึ ความตอ งการขัน้ พ้ืนฐาน เปน ตวั ผลักดันใหเกดิ พฤติกรรมเพื่อสนอง ความตองการน้ัน ความตองการในสิ่งจําเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต ไดแก ปจจัย 4 จะเปนส่ิงท่ี สําคัญตอชวี ติ ไมม ไี มไ ด ความตองการ หมายถึง ความตองการอยากได อยากมี อยากเปน แตไมมีก็ไมเดือดรอน แกช ีวิต เปน การแสดงออกหรอื พฤติกรรมท่ตี องการสนองความตองการขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงหลอหลอม จากสภาพแวดลอมและบุคลิกสวนตัว การตลาด หมายถึง กระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแนวคิด การกําหนดราคา การสงเสริมการตลาด และการจดั จาํ หนา ยสินคา และบริการ เพือ่ สรางใหเ กดิ การแลกเปลี่ยนท่ีทําให ผูบ รโิ ภคไดร ับความสขุ ความพอใจ และบรรลวุ ตั ถุประสงคข ององคกร จดุ สําคัญของการตลาด 1. ทําใหเกิดการเปลยี่ นแปลงที่ทําใหผ ูบ ริโภคไดรับความพงึ พอใจ 2. เปนการแลกเปลี่ยนความคดิ สนิ คา และบรกิ าร ความสําคัญของการตลาด ความสําคญั ตอ บคุ คล 1. สรา งอาชพี 2. อํานวยความสะดวกใหลูกคา ความสาํ คญั ตอ องคก รธรุ กจิ 1. สรา งรายไดใ หอ งคก ร 2. กอใหเ กดิ ธุรกจิ ใหมเ พ่ิมมากข้นึ ความสาํ คญั ตอ เศรษฐกจิ และสงั คม 1. สรา งรายไดใหป ระเทศ หนา ท่ที างการตลาด 1. หนา ที่ท่ีจะทําใหมกี ารโอนกรรมสิทธิ์ของสินคาจากผขู ายไปสผู ูซอื้ 1.1 การซือ้ - หาความตอ งการซื้อ - การเลือกแหลง ซื้อ - การพจิ ารณาความเหมาะสมของสินคา
64 1.2 การขาย เปน การสรางอุปสงค 2. หนา ท่เี กยี่ วกบั การจัดสงสินคา 2.1 การขนสง การขนสงทีต่ นทนุ ต่ํา รวดเรว็ และเหมาะสมกบั สนิ คา 2.2 การจดั เก็บสนิ คา 3. หนา ท่ีอํานวยความสะดวกตาง ๆ 3.1 การเงิน 3.2 ความเสย่ี ง 3.3 สารสนเทศทางการตลาด 3.4 การจัดมาตรฐานและแบงเกรดของสินคา 4. สารสนเทศทางการตลาดและการวิจัยตลาด - เกบ็ รวบรวมขอ มูลทางการตลาดมาใชในการวเิ คราะหและวจิ ัย 5. การเกบ็ รกั ษา - เก็บรกั ษาใหพอกบั ความตองการของลกู คา และไมน านเกนิ ไปจนลา สมยั 6. การจัดมาตรฐานและคณุ ภาพของสนิ คา - ไดม าตรฐานตรงความตอ งการลกู คา 7. การขาย - กระตุนลกู คา ใหซ ้ือสินคาไดมากและเร็วขึ้น ซ่ึงกจิ กรรมหลักไดแ ก 1. การโฆษณา - การใชพ นกั งานขาย 2. การสงเสริมการขาย - การประชาสมั พนั ธ 8. การเงิน - บริหารเงนิ ใหอ ยใู นงบที่ประมาณไว 9. การรับภาระเสยี่ งภยั - หาสาเหตุและหาทางปองกนั ปญ หาทีอ่ าจเกิดข้ึน กิจกรรม ใหผ ูเรยี นบอกหนาทีท่ างการตลาดมอี ะไรบาง อธบิ ายมาพอเขาใจ
65 2.3 การขนสง การขนสง หมายถึง การเคลื่อนยายบุคคล สิ่งมีชีวิตหรือสิ่งของจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยอปุ กรณใ นการขนสง ตามความตอ งการและเกดิ อรรถประโยชน ประเภทของการขนสง คือ การขนสงมีความเจริญกาวหนาและมีพัฒนาการมากยิ่งขึ้น มีวิธีการขนสงใหผูประกอบธุรกิจเลือกหลายวิธี ผูประกอบธุรกิจตองเลือกวิธีการขนสง ใหเหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง และสามารถจาํ แนกการขนสงได 5 ประเภท ดังน้ี 1. การขนสง ทางน้ํา คือ การขนสง ทางน้ํา เปน วธิ ีการขนสงเกาแกมีมาแตสมัยโบราณ โดย การใชแมน ํา้ ลําคลองเปนเสนทางลําเลยี งสินคา รวมถึงการขนสงทางทะเล ซ่ึงสวนใหญใชสําหรับ การขนสงสินคาระหวางประเทศ การขนสงทางน้ําน้ีเหมาะสมกับสินคาท่ีมีขนาดใหญขนสงได ปรมิ าณมากเปน สินคาทย่ี ากแกก ารเสยี หาย เชน ทราย แร ขาวเปลือก เครื่องจักร ยางพารา เปนตน สว นประกอบของการขนสงทางนํ้า 1.1 ผปู ระกอบการขนสงทางนา้ํ 1.2 อุปกรณการขนสง คือ เรือ ไดแ ก เรือโดยสาร เรือสินคา และเรอื เฉพาะกจิ เชน เรือลากจูง เรือประมง 1.3 ทาเรอื 1.4 เสน ทางเดินเรอื สามารถแบง ไดเปน 3 ประเภท คือ - เสน ทางเดนิ เรอื ภายในประเทศ - เสนทางเดินเรือชายฝง ทะเล - เสน ทางเดินเรอื ระหวา งประเทศ ขอดี ขอเสยี ของการขนสง ทางน้าํ มดี ังน้ี ขอ ดี 1. อตั ราคาขนสง ถูกกวา เม่อื เทยี บกับการขนสง ทางอ่นื 2. ขนสง ไดปริมาณมาก 3. มีความปลอดภยั 4. สามารถสง ไดร ะยะไกล ๆ ขอเสยี 1. มคี วามลาชา ในการขนสง มาก 2. ในฤดูนาํ้ ลดหรือฤดรู อ น นา้ํ อาจมีนอย ซ่งึ เปนอปุ สรรคตอการขนสง เพราะเรือเกยตืน้ ได 3. ไมส ามารถกําหนดเวลาทแี่ นน อนในการขนสงไดข นึ้ อยกู บั ภมู อิ ากาศ และ ภมู ปิ ระเทศ
66 2. การขนสง ทางบก จาํ แนกเปน 2 ประเภท ไดแก 2.1 การขนสงทางรถไฟ การขนสงทางรถไฟ เปนเสนทางการลําเลียงที่สําคัญที่สุดของ ประเทศไทย ดาํ เนินงานโดยการรถไฟแหง ประเทศไทย ซ่ึงถือวา เปนรัฐวสิ าหกจิ เหมาะสําหรับการ ขนสงสินคาหนกั ๆ ปรมิ าณมากและในระยะทางไกล อัตราคาบริการไมแพง การขนสงทางรถไฟจะ มีกําหนดเวลาออกและถึงจุดหมายปลายทางในระยะเวลาแนนอนและมีความปลอดภัยจาก การเสียหายของสินคา 1) รถปด คือ รถไฟทปี่ ดทกุ ดาน เหมาะสําหรบั การขนสงสนิ คา ท่ีเสียหายงา ยเม่ือถกู แดด ถกู ฝน 2) รถเปด คือ รถไฟที่ไมมีหลงั คา เหมาะสาํ หรับการขนสงสินคาที่ไมเ สียหายเม่อื ถูกแดด ถูกฝน 3) รถเฉพาะกิจ คือ รถไฟท่ีออกแบบสําหรับใชเฉพาะงาน เชน รถบรรทุกน้ํามัน รถบรรทุก ปนู ซเี มนต เปนตน ขอดี 1. ประหยดั ขนสงสินคาไดจาํ นวนมากหลายชนดิ 2. รวดเรว็ สามารถขนสงสินคา ไดทนั ตามกาํ หนดเวลาท่ีตอ งการ 3. สะดวก เพราะมีตูหลายชนิดใหเลือกเพ่ือความเหมาะสมกับสนิ คา 4. ปลอดภยั สงู เมอ่ื เทียบกับเสน ทางอน่ื 5. ขนสงไดท กุ สภาพดินฟา อากาศ ขอ เสยี 1. ไมสามารถขนสง สนิ คาใหถึงท่ีตองการขนถายได 2. ความยดื หยนุ มีนอย เพราะมีเสนทางตายตวั 3. มคี วามคลอ งตวั นอ ยกวา การขนสง แบบอื่น เพราะมีกฏระเบยี บมาก 4. ไมเ หมาะสมกบั ผูสงสนิ คา รายยอย ปรมิ าณนอ ย 2.2 การขนสง ทางรถยนต หรือรถบรรทกุ การขนสงทางรถยนตหรือทางรถบรรทุก ถือวา เปนหวั ใจของการขนสงทางบก ท้ังน้ีในปจ จุบันรฐั บาลไดม กี ารสรางถนน ขยายถนนเชื่อมโยงระหวาง จังหวัดตาง ๆ ไดอยางทั่วถึง โดยมีกรุงเทพมหานครเปนศูนยกลางการขนสง ซ่ึงการขนสงทาง รถยนตหรือทางรถบรรทุก สามารถแกปญหาในดานการจําหนายสินคาของพอคาไดเปนอันมาก เพราะการขนสง สนิ คาสะดวก รวดเร็ว สามารถสงสินคาไปถึงผูใชไดโดยตรง สวนประกอบของ การขนสงทางรถยนตห รือรถบรรทกุ (1) ผูประกอบการ อาจเปน รัฐหรอื เอกชนดําเนินงานก็ได หรือ เปนการดําเนินงานรวมกันก็ได เชน รถยนตรับจาง (2) อุปกรณในการขนสง ไดแก รถยนต และ รถบรรทกุ (3) ถนน หรอื เสนทางเดินรถ ขอดี 1. บรกิ ารไดถ ึงท่ีโดยไมต องมกี ารขนถา ย
67 2. ขนสงสินคาไดต ลอดเวลาตามความตอ งการของลูกคา 3. สะดวก รวดเรว็ 4. เหมาะกับการขนสงระยะสั้นและระยะกลาง 5. เปนตัวเช่ือมในการขนสงแบบอ่ืนท่ีไมสามารถไปถึงจุดหมาย ไดโ ดยตรง ขอ เสยี 1. คา ขนสงสงู เม่ือเทยี บกบั การขนสง ทางรถไฟ 2. มีความปลอดภัยตา่ํ เกิดอบุ ตั ิเหตุบอย 3. ขนสงสินคา ไดปรมิ าณและขนาดจํากัด 4. กําหนดเวลาแนน อนไมได ขึ้นอยกู ับสภาพการจราจรและดนิ ฟาอากาศ 3. การขนสงทางอากาศการขนสง ทางอากาศมคี วามสาํ คญั มากในปจจบุ ันโดยเฉพาะการขนสง ระหวางประเทศเพราะทําการขนสง ไดร วดเร็วกวา การขนสง ประเภทอ่นื ๆ ไมเสยี เวลาในการขนสงนาน สะดวกและปลอดภัย เหมาะกับการขนสงสินคาประเภทที่สูญเสียงาย เชน ผัก ผลไม ดอกไม เปนตน หรือสินคาตองการสั่งจองมาดวยความรวดเร็วแกการใชงาน ถาลาชาอาจเกิดความเสียหายไดไม เหมาะกับสนิ คา ที่มขี นาดใหญ น้ําหนักมากและสนิ คา ราคาถกู ๆ ไมรบี รอนในการขนสง ซ่ึงการขนสง ประเภทนี้ ทาํ ใหธรุ กิจสามารถขยายตัวไดร วดเรว็ ทัง้ ในและตา งประเทศแตคา ใชจา ยแพงกวาการขนสง ประเภทอนื่ สวนประกอบของการขนสงทางอากาศ 3.1 ผูประกอบการ ไดแ ก บรษิ ทั การบนิ ใหบรกิ ารขนสงทั้งผูโดยสารและสินคาท้ังภายใน และระหวา งประเทศ 3.2 อปุ กรณในการขนสง ไดแ ก เครื่องบิน แบง เปน 3 ประเภท คือ - เครอ่ื งบินโดยสาร ใหบรกิ ารขนสง ผโู ดยสาร - เครอ่ื งบินบรรทุกสินคา ใหบริการขนสง เฉพาะสินคา - เคร่อื งบนิ แบบผสม ใหบ ริการทั้งผูโดยสารและสินคาภายในลําเดยี วกัน 3.3 เสน ทางบิน คือ เสนทางที่กําหนดจากแหงหน่ึงไปยังอีกแหงหนึ่ง มี 2 ลักษณะ คือ เสนทาง ในอากาศ และเสนทางบนพืน้ ดนิ 3.4 สถานีในการขนสง หรือทาอากาศยาน เปนบรเิ วณทใ่ี ชส าํ หรับการขึ้นลงของเครื่องบิน ประกอบดวย อาคารสถานี ทางว่ิงและทางขับ และลานจอด ขอดี 1. สะดวก รวดเรว็ ทีส่ ุด 2. สามารถขนสงกระจายไปทวั่ ถงึ ไดอ ยา งกวางขวางทง้ั ในประเทศ และระหวา งประเทศ
68 3. สามารถขนสง ไปในทองถ่นิ ทก่ี ารขนสง ประเภทอืน่ ไปไมถ งึ หรือไปยากลาํ บาก 4. เหมาะกบั การขนสงระยะไกล ๆ 5. เหมาะกับการขนสงสินคา ทีเ่ สียงาย จาํ เปน ตอ งถงึ ปลายทางรวดเร็ว 6. ขนสง ไดหลายเทีย่ วในแตละวนั เพราะเครือ่ งบนิ ข้ึนลงไดร วดเรว็ ขอเสยี 1. คาใชจ า ยในการขนสงสงู กวา ประเภทอื่น 2. จาํ กัดขนาดและนํา้ หนักของสนิ คาท่ีบรรทกุ จะมีขนาดใหญและน้ําหนักมากไมได 3. บริการขนสง ไดเ ฉพาะเมอื งทมี่ ที าอากาศยานเทา นั้น 4. การขนสง ขนึ้ อยกู บั สภาพภมู ิอากาศ 5. การลงทนุ และคาใชจา ยในการบํารุงรกั ษาอุปกรณสูง 6. มีความเสี่ยงภัยอนั ตรายสูง 4. การขนสงทางทอ เปนการขนสงสิ่งของประเภทของเหลวและกาซผานสายทอ เชน น้าํ ประปา นาํ้ มัน กาซธรรมชาติ เปนตน ซึ่งการขนสงทางทอจะแตกตางกับการขนสงประเภทอ่ืน คอื อปุ กรณท่ีใชในการขนสง ไมตองเคล่อื นที่ โดยเสนทางขนสงทางทออาจจะอยูบนดิน ใตดิน หรือ ใตนาํ้ ขึน้ อยูกับสภาพภมู อิ ากาศ ประเทศแรกทีใ่ ชระบบการขนสงทางทอ คือ ประเทศสหรฐั อเมริกา ใชสําหรับขนสงสินคาประเภทเชื้อเพลิง ปจจุบันประเทศไทยใชระบบการขนสงทางทอสําหรับ สนิ คา ประเภทน้ํามนั เชื้อเพลิงและกา ซธรรมชาติ สวนประกอบของการขนสงทางทอ 4.1 ผูประกอบการ ซึง่ ผูประกอบการท่สี ําคญั ไดแก การปโ ตรเลียมแหง ประเทศไทย (ปตท.) 4.2 อุปกรณใ นการขนสง ไดแก ทอ หรอื สายทอ แบง เปน ทอ หลัก และทอ ยอย 4.3 สถานใี นการขนสง ไดแ ก สถานีตนทาง สถานีปลายทาง สถานีแยก สถานสี บู ดนั ขอดี 1. ประหยัดตน ทนุ เวลาในการขนยา ยสินคา 2. สามารถขนสง ไดท ุกสภาพภูมอิ ากาศ 3. สามารถขนสง ไดไ มจ าํ กัดเวลาและปรมิ าณ 4. มีความปลอดภยั สงู จากการสญู หายหรือลักขโมย 5. กําหนดเวลาการขนสงไดแนนอนชดั เจน 6. ประหยดั คา แรง เพราะใชก าํ ลงั คนนอย ขอ เสยี 1.ใชขนสงไดเ ฉพาะสินคาทเี่ ปนของเหลวหรือกา ซเทา นนั้ 2. คา ใชจา ยในการลงทนุ ครง้ั แรกสูง
69 3. ตรวจสอบหาจุดบกพรองทําไดยาก 4. ทอ หลักท่ใี ชข นสงเม่ือวางแลว เคลื่อนยา ยเปลีย่ นเสน ทางไมได 5. ไมเ หมาะกบั การขนสงในภมู ิประเทศท่มี ีแผนดนิ ไหวบอ ย 5. การขนสง ระบบคอนเทนเนอร การขนสงระบบคอนเทนเนอร เปนการพัฒนาการขนสง อกี ข้นั หนึ่ง โดยการบรรจุสนิ คา ท่ีจะขนสงลงในตหู รือกลองเหลก็ ขนาดใหญ ที่เรียกวา คอนเทนเนอร แลวทําการขนสงโดยรถบรรทกุ รถไฟ หรอื เครื่องบนิ ไปยังจดุ หมายปลายทางโดยไมมีการขนถาย สนิ คาออกจากตูร ะหวางทาํ การขนสงเทย่ี วน้นั ชนิดของตคู อนเทนเนอร ซึ่งสามารถแบง ได 3 ชนิด คือ 5.1 ตแู หงหรือตูสินคาทั่วไป เปนตูทึบไมมีแผนฉนวนอยูดานใน ไมมีเคร่ืองทําความเย็น ติดต้งั หนาตู ใชบรรทุกสินคา แหง หรือสินคาทว่ั ไป 5.2 ตูค วบคมุ อณุ หภูมิ แบง ได ดังน้ี - ตหู อ งเย็น จะมเี ครื่องทําความเยน็ ในตู ภายในบุฉนวนทุกดาน เพื่อปองกันความรอน จากภายนอกเขาสูดา นใน นยิ มเก็บผักสด ผลไม - ตูฉนวน ภายในจะบุฉนวนดวยโฟมทุกดานเพื่อปองกันความรอนแผเขาตู นิยม บรรทกุ ผกั - ตรู ะบายอากาศ เหมือนกับตูเย็นแตม พี ัดลมแทนเคร่ืองทําความเย็น พัดลมจะดูดกาซ อีเทอรล นี ที่ระเหยออกจากตวั สนิ คา 5.3 ตูพิเศษ ไดแ ก ตูแ ทง็ กเ กอรหรือตบู รรจุของเหลว ตเู ปด หลังคา ตูแพลตฟอรม ตูเปดขาง ตบู รรทกุ รถยนต ตูบรรทุกหนังเคม็ ตูส งู หรือจมั โบ ประโยชนของระบบตูคอนเทนเนอร 1. ทําใหขนถายสินคา ไดรวดเรว็ 2. ลดความเสียหายของสนิ คา ทข่ี นสง และปอ งกันการถูกโจรกรรมได 3. ประหยดั คา ใชจา ย 4. สามารถขนสง ไดป รมิ าณมาก 5. การส่ังจองเรอื ระวางเพือ่ ขนสงสนิ คา ทําไดส ะดวก 6. ตรวจนบั สนิ คา ไดง าย กจิ กรรม ใหผ ูเรียนอธิบายการขนสง ในทอ งถน่ิ มอี ะไรบา ง พรอ มอธบิ ายขอ ดแี ละขอ เสียมาพอเขา ใจ
70 2.4 การขาย ความสาํ คัญของการขาย ความสาํ คัญของการขายโดยใชพนักงาน เปนเร่ืองที่ผูบริหารธุรกิจจะตองใหความสําคัญ โดยเฉพาะการจดั ทีมหลังการขาย เปาหมายที่ธุรกิจต้ังไวในการเพิ่มกําไรจากการขายจะสําเร็จไป ไมไดเลยหากขาดซ่งึ การขาย การขายนีจ้ ะสนองตอบถงึ ความตองการของผบู รโิ ภคอยางใกลชดิ โดย อาศัยพนักงานขาย พนักงานขายจะตองรูจักวิธีการจูงใจลูกคาใหมีความสนใจที่จะซื้อสินคา โดยอาศัยการเขาพบเผชิญหนา กับลกู คา โดยตรง ซ่ึงงานการขายจดั เปนการตดิ ตอสือ่ สารสวนบุคคล โดยมีลกั ษณะของการส่ือสารสองทศิ ทาง ซงึ่ สามารถสงั เกตและรับรไู ดจ ากปฏิกิริยาตอบสนองของ ลูกคาได ซ่ึงจะแตกตางจากโฆษณาและการสงเสรมิ การขายซ่ึงจัดเปนการส่ือสารทิศทางเดียว โดย พนักงานขายสามารถทําใหธุรกิจบรรลุถึงเปาหมายของธุรกิจไดโดยการทาํ กิจกรรมการขายท่ี แตกตางจากการโฆษณา การโฆษณานั้นมักจะเปนการเรียกรองความสนใจ เสนอขอมูลทาง การตลาดตอกลุม เปาหมายไมไดก ระตนุ ใหเกดิ การขายโดยตรง ลักษณะท่ัวไปของการขาย หากวิเคราะหลกั ษณะทัว่ ไปของการขาย จะแบงออกได ดังน้ี 1. การขายมลี ักษณะเปนการติดตอ สอ่ื สาร ไมวา จะเปนการขาย โดยพนักงานขาย หรือการ โฆษณา การสงเสริมการขาย หรือการสง เสริมการตลาดอน่ื ๆ ก็จัดเปนกจิ กรรมทีม่ ลี ักษณะของการ สื่อสารทงั้ สน้ิ เพียงแตจ ะเปนทิศทางเดียว หรือสองทิศทางเทานั้น โดยผูรับสารคือ กลุมของลูกคา ซึ่งจะไดร บั ขอ มลู ขา วสารเกีย่ วกับสนิ คาหรอื บรกิ ารเพอ่ื ใชข อมลู ประกอบการตัดสินใจซื้อ 2. การขายมีลกั ษณะของการจูงใจไมใชก ารบังคบั พนกั งานขายจาํ เปน ตองเขา ใจในตัวของ ลูกคา รูจักจิตวิทยาการขาย ทฤษฎีการโนมนาวจิตใจ โดยเฉพาะสินคาท่ีมีราคาสูงมากก็จะยิ่ง ตัดสนิ ใจซื้อยาก ดังน้นั พนกั งานขายจะตอ งใชศ ลิ ปะในการขายเพอ่ื โนม นา วอยา งมีเหตผุ ล 3. การขายเปนงานที่ชวยแกปญหา พนักงานขายเปนบุคคลท่ีแนะนําใหลูกคาเห็นและ ตระหนักถึงปญหาที่กําลังเผชิญอยู และผลเสียที่อาจจะเกิดข้ึนไดหรือเม่ือลูกคามีปญหาพนักงาน ขายควรจะแนะนําวิธีการแกปญหา โดยใชสินคาที่มีคุณภาพเพียบพรอมในการแกปญหาของ ลูกคาคนน้ัน พนักงานขายจะตองเปนผูขจัดปญหาตาง ๆ ของลูกคาใหหมดไปเพ่ือใหลูกคาเกิด ความแนใจและยอมรบั ในสนิ คาทีถ่ กู แนะนาํ 4. การขายมีลักษณะของการใหความรู พนักงานขายเปรียบเสมือนผูใหความรู โดยการ อธบิ าย สาธติ เปรียบเทยี บ และใหความกระจางแกลูกคา ตอบหรือไขขอของใจใหลูกคาไดเขาใจ แจมแจง ไมวาลูกคา จะตดั สนิ ใจซ้อื หรือไม ดงั นน้ั การขายจึงเปนการใหความรูแ กล ูกคาอยา งหน่ึง 5. การขายเปน การใหส ่ิงตอบแทนแกทกุ ฝาย เม่ือเกิดการซ้ือขายสินคาข้ึนตัวพนักงานขาย ของจะไดรับยอดขาย ไดค า คอมมชิ ชนั่ ไดรายไดจาการขายสินคาน้ัน ธุรกิจเองก็ไดยอดขาย ไดผล
71 กําไรจากยอดขายสินคาน้นั ลูกคา กไ็ ดสนิ คา ที่มีคณุ ภาพไปสนองความตอ งการ รวมท้ังไดรบั ความรู แปลกใหมจากพนักงานขายดว ย ความสาํ คัญของการขาย การขายมคี วามสาํ คญั ดงั นี้ 1. ชวยใหเ กิดธรุ กิจอตุ สาหกรรมการผลิต ธรุ กิจอุตสาหกรรมการผลิตจะกอใหเกิดนวัตกรรม ใหม ๆ รวมถึงการพฒั นาสินคา เพอื่ ตอบสนองความตอ งการของลกู คาอยางแทจ ริง 2. ชว ยใหธรุ กจิ บรรลุผลสาํ เรจ็ คอื ไดยอดขาย ไดกาํ ไร สามารถขยายกิจกรรมใหเจริญเติบโต ตอ ไปได 3. ชว ยใหเกิดการจางงาน ในภาวะที่อัตราการวางงานสูง เชน ปจจุบันงานดานการขายมี บทบาทในการจา งงานอยา งตอเนอ่ื ง ทาํ ใหค นมรี ายไดแ ละความเปน อยูดขี น้ึ 4. ชว ยลดปญ หาของสังคม โดยเฉพาะปญ หาสังคมอ่ืน ๆ ที่เกิดจากปญหาการวางงาน เชน ปญหายาเสพติด ปญ หาสุขภาพจิต เปน ตน หากคนมีงานทํากจ็ ะสามารถแกปญหาดังกลาวได หนา ทีแ่ ละคณุ สมบัตขิ องพนกั งานขาย หนา ท่ขี องพนกั งานขาย พนกั งานขายมีหนาท่ที ตี่ องปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. พนักงานขายควรมีความรอบรูอยางดี เชน ผลิตภัณฑท่ีเสนอขาย นโยบายและระเบียบ ปฏิบตั ขิ องบรษิ ัท และแผนงานการขาย เปน ตน 2. เปนตวั แทนของบริษทั ในการพบปะกับลูกคา เพื่อรกั ษาความสมั พนั ธอันดีระหวางลูกคา และบริษัท บําเพ็ญตนเปนผูบริการท่ีดีตอลูกคา เพ่ือขจัดปญหาขอรองขอของลูกคาเก่ียวกับตัว ผลิตภัณฑแ ละบรกิ าร 3. ปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจ เพอ่ื เพ่ิมพนู การขาย หาลูกคาใหม ๆ เพ่ิมข้ึน รายงานความ เคลอื่ นไหว และสถิตกิ ารขายใหบ รษิ ทั ทราบ 4. ปฏิบตั ิตนเปนพนักงานทส่ี มบรู ณข องบริษัท เชน ชวยเหลือเกี่ยวกับการทวงถามหน้ีสิน รายงานภาวการณแขงขันของตลาดตอบริษทั และเสนอความคิดเหน็ ท่เี ปน ประโยชนต อ บรษิ ทั 5. ใหความรวมมือกับพนักงานทุกฝายของบริษัท เชน แสดงบทบาทในที่ประชุม เสนอ ความคดิ เห็น ใหคําแนะนาํ ทถ่ี ูกตองแกเจาหนาที่ฝายอ่ืน ๆ ของบริษัท และรวมงานขายของบริษัท ดว ยความจรงิ ใจ คุณสมบัติของพนกั งานขายทด่ี ี พนกั งานขายทดี่ ี ควรมคี ุณสมบัตทิ ่สี ําคญั ดงั น้ี 1. จะตองมีความตั้งใจ เอาใจใส มคี วามรับผดิ ชอบสูงตอ หนา ท่ีมากกวา เรื่องสวนตวั 2. จะตอ งมีมนษุ ยสมั พนั ธท ีด่ ี 3. จะตองเปน ผูท ่ีมคี วามสามารถอานเดาใจลกู คาไดถกู ตอ ง
72 4. จะตอ งมคี วามขยนั อดทน 5. จะตองควบคมุ อารมณไดอ ยางดีในทุกสถานการณ ประเภทของงานการขาย งานการขายแบง ออกได 4 ประเภท คอื 1. การขายโดยใชพนกั งานขาย การขายโดยใชพ นกั งานขาย หมายถึง งานขายทีใ่ ชพ นักงานตดิ ตอกับลูกคาโดยตรงและ พนกั งานขายจะเปนผูท าํ หนาทโี่ นม นาวชกั จงู กระตุนใหลูกคาเกดิ การตดั สนิ ใจซื้อสินคา ซ่ึงอาจทํา ไดโดยไปพบลกู คา ดวยตนเอง ใชโ ทรศพั ทพดู คยุ กับลูกคาโดยตรงดวยตนเองหรอื ใชจดหมายตดิ ตอ ในลกั ษณะเฉพาะเรอ่ื ง เฉพาะคนไป หากลกู คา สนใจกไ็ ปเขา พบดวยตนเองภายหลัง เชน พนักงาน ขายหนารา น พนักงานขายประกันชวี ติ พนกั งานขายเครอ่ื งสาํ อาง เปน ตน 2. การขายโดยไมใ ชพนกั งานขาย การขายโดยไมใชพนักงานขาย คือ การปฏิบัติการขายในปจจุบันท่ีหลีกเล่ียงการใช พนักงานขายโดยใชสื่อหรือเครื่องจักรทําหนาท่ีแทนพนักงานขาย เพราะสามารถทําใหเกิดการ โนม นาวชกั จงู และรับรไู ดใ นวงท่กี วางขวางครอบคลมุ พื้นท่ีที่ตอ งการได อีกทงั้ ยังรวดเรว็ ประหยัด เงินและเวลาอกี ดวยซงึ่ การขายโดยไมใชพนักงานขายมีหลายแบบ เชน 2.1 การขายโดยใหลูกคาบริการตนเอง การขายแบบนี้รานคาจะจัดวางสินคา บนช้ันในระดบั สายตาเพอ่ื ดงึ ดูดเม่อื ลูกคาเดินเขามาในราน โดยวางใหเปนระเบียบเพ่ือใหลูกคาได หยิบดูหยิบเลือกไดงาย ลูกคาก็จะไปหยิบสินคามาเองโดยไมตองมีพนักงานขายคอยชวยดูแล ชวยเหลือ เมอื่ เปรยี บเทียบและไดส ินคาตามทต่ี อ งการแลวก็จะตองนําสนิ คาไปชําระเงินท่เี คานเตอร พนกั งานเก็บเงิน ไดม กี ารนําระบบนไ้ี ปใชใ นรา นตาง ๆ เชน ซูเปอรม ารเกต็ เปน ตน 2.2 การขายโดยใชเคร่อื งจักรอัตโนมัติ ตองอาศัยตูหยอดเหรียญและกดปุม เพ่ือให ไดสนิ คาตามท่ตี อ งการ สินคาทจี่ าํ หนา ยมักเปนสนิ คา ที่ลูกคาใชบอยใชประจํา เชน บุหรี่ เคร่ืองด่ืม ขนมขบเคยี้ ว ถุงยางอนามยั เปนตน ดังนั้น จึงควรใหค วามสะดวกแกผซู ้อื ไดต ลอด 24 ช่ัวโมง ไมมี วนั หยดุ และไมจําเปน ตองใชพนักงานขาย ลูกคาคนใดตองการก็หยอดเหรียญตามราคาสินคาแลว กดปมุ สินคาก็จะออกมา สินคาทข่ี ายสวนใหญก็จะเนน สนิ คา ทใ่ี ชก นั บอย ๆ ในชีวติ ประจําวัน 3. การขายทางไปรษณยี ปจ จบุ ันรา นคาปลีกหลายแหงจะเปดแผนกขายปลีกตามคําสั่งซ้ือทางไปรษณีย ซ่ึงเปน แหลงระบายสินคาและเพิ่มปริมาณการขายไดดีวิธีหน่ึง การขายทางไปรษณียเปนการเสนอขาย บรกิ ารเปนสวนใหญ การขายสินคาในลักษณะน้ีมียอดขายท่ีสูงมาก เน่ืองจากขอบเขตการขายไม
73 จํากัด การโฆษณาสามารถเนนท่ีจุดเดนจึงทําใหมีโอกาสท่ีจะขายสินคาใหมากขึ้น และมีความ สะดวกในการสั่งซ้อื ตามใบสัง่ ซอ้ื ท่สี งไปให 4. การขายทางโทรทศั น เดมิ ทีธุรกิจการขายทางโทรทัศน ไมไ ดร บั ความสนใจเทาใดนักและยังถูกผูขายรายใหญ มองวาเปนเพียงส่ือกลางในการขายสินคาไมมีระดับใหแกบุคคลที่อยูหางไกล ซึ่งไมใช กลุมเปาหมายสําคัญซ่ึงเปนผูท่ีอยูตามเมืองใหญ ความรูสึกเชนน้ีเริ่มลดลง ผูคาปลีกทั่วไปตางก็ ทบทวนแผนการที่จะเปดธุรกิจเชนนี้ โดยผานเครือขายโฮมช็อปปงเน็ตเวิรค โดยลูกคาท่ีสนใจ สามารถส่ังซื้อไดโดยไมตองเสียเวลามาเลือกซื้อดวยตนเอง เพียงแตชมรายการเสนอขายทาง จอโทรทศั นกส็ ามารถสั่งซื้อโดยใชโทรศัพทได การชาํ ระเงนิ สว นใหญก็จะชําระโดยใชเ ครดติ การด ซึง่ จัดวา เปนระบบการจัดจาํ หนายที่ตน ทุนตา่ํ ผขู ายไมจําเปนตอ งเปด รา นหรือโชวร ูม ไมจ าํ เปนตอง ตกแตงสถานที่ ไมตองมีรายจายท่ีเกี่ยวกับคาเชา คาใชจายในการสงเสริมการขาย คาโฆษณา การขายทางจอโทรทัศน ผูขายสามารถบอกรายละเอียดสรรพคณุ สีสนั รปู แบบ ความกวางยาวของ สินคา ราคา อยางตรงไปตรงมา พรอมกับหมายเลขโทรศัพทท่ีจะติดตอเทากับผูขายไดทําการ โฆษณาและทาํ การขายสนิ คา ไปในเวลาเดยี วกนั 2.5 การกําหนดราคาขาย ราคา คือ จาํ นวนเงินที่ผูซื้อจาย เพื่อแลกเปลี่ยนกับสินคาหรือบริการที่ผูซื้อเต็มใจชวย ในดานผูขายราคา คือ มูลคาท่ีผูขายกาํ หนดไวสาํ หรับสิ่งที่ตนเสนอขาย พน้ื ฐานในการกาํ หนดราคาขน้ึ อยกู บั 1. ตนทนุ ตน ทุนในการผลิตสินคา เชน วตั ถดุ บิ คา แรงงานในการผลติ ตน ทนุ ทางการตลาด เชน คาโฆษณา คานายหนา 2. สภาพของตลาด 3. คแู ขงขนั 4. กฎหมาย หรือพระราชบัญญตั ิ 5. สภาพทางเศรษฐกจิ สาเหตทุ ่ีทาํ ใหราคาสนิ คา แตกตางกัน สินคาทม่ี ีชนดิ แบบ ขนาดเดยี วกนั ราคาแตกตา งกนั เน่ืองจาก 1. ปริมาณการซือ้ ถา มกี ารซอ้ื มากราคาจะตํา่ ถาซ้อื นอยราคาจะสูง 2. สภาพของผซู ้อื ถา ผูค า สง ผคู า ปลกี ซอ้ื ราคาจะตาํ่ ถา ผูบรโิ ภคซื้อราคาจะสูง 3. สภาพภูมศิ าสตร ถา ระยะทางใกลราคาตํา่ ระยะทางไกลราคาสงู เพราะตอ งเพ่ิมคา ใชจ าย ในการขนสง
74 กจิ กรรม ประเภทของการขายมกี ่วี ิธี พรอมอธบิ ายขอดี ขอ เสีย มาพอเขา ใจ นโยบายและกลยุทธก ารต้งั ราคา 1. แบบราคาเดยี่ ว เปน ราคาสินคาท่กี ําหนดราคาเดียวกัน ไมวาจะซื้อจํานวนมากหรือนอย ซ้ือประจําหรอื ไมก ข็ ายในราคาเดยี วกัน เชน ราคาสินคา ตามหางสรรพสินคา 2. ราคาลอใจ เปน การตง้ั ราคาสนิ คา ใหถ กู หรอื บางครงั้ อาจจะยอมขาดทุนเพ่ือจูงใจใหคน เขา รา น โดยจะมีสินคาที่ตั้งราคาประเภทน้ีเพียงไมก่ีรายการสวนมากเปนสินคาท่ีลูกคาใชประจํา และรจู ักโดยทั่วไป 3. การตั้งราคาตามหลักจติ วทิ ยา - การตงั้ ราคาที่แสดงถึงช่ือเสียง หรือสัญลักษณของสินคา คือ การตั้งราคาใหสูง เพอ่ื เปน การยกระดบั คณุ ภาพของสินคา - การตั้งราคาตามความเคยชินหรือตามประเพณีนิยม เชน ราคาที่ลูกคาเคยซื้อมา กอน - การตง้ั ราคาเลขค่ี เชน 29, 39, 49 และการต้งั ราคาราคาเลขคู เชน 24, 32, 50 4. การตัง้ ราคาระดบั สงู และการตั้งราคาระดับตา่ํ - การกาํ หนดราคาไวใหสูงในระยะเร่มิ แรกเพื่อจะสามารถลดราคาไดใ นระยะหลัง กาํ ไรสูง ทําใหส ินคาดมู ีคุณคา นยิ มใชก ับสินคาพวกแฟช่ัน เชน เสือ้ ผา - การต้งั ราคาต่าํ ไวใ นระยะเร่มิ แรก หรือการตัง้ ราคาแบบเจาะตลาด เพือ่ เขาสตู ลาด ไดง า ย ตัง้ ขายไดง า ย สามารถขึ้นราคาในระยะหลังได ถาผูซื้อติดใจ ยอดขายสูง นิยมใชกับสินคา เพอื่ การบรโิ ภค 5. สวนลด - สว นลดปริมาณ คือ การลดราคาใหใ นกรณีท่ซี อื้ ในปรมิ าณมากขึน้ - สว นลดการคา เชน การคา สงลดใหมากกวาการคา ปลีก - สวนลดเงนิ สด เปนการลดใหในกรณีทจี่ า ยเงินสดภายในเวลาท่กี ําหนด 6. การต้ังราคาตามภมู ศิ าสตร - F.O.B. คอื ราคาทรี่ วมคา ใชจ ายทง้ั ส้นิ จนสินคาไปอยบู นเรอื - C&F คอื ราคาสินคาทร่ี วมคาใชจ า ยท้ังสนิ้ ณ สินคาอยูบนเรือและรวมถงึ คา ระวางขนสงสนิ คา - C.I.F. คอื ราคาสินคาทรี่ วมคา ใชจา ยทงั้ สิน้ จนสินคาอยูบ นเรือรวมคาระวางและ คา ประกนั สินคา
75 2.6 การทําบญั ชปี ระเภทตาง ๆ บัญชีรายรบั - รายจาย คือ แบบบนั ทกึ รายการรับ หรอื จา ย ที่เกิดขน้ึ จรงิ โดยบัญชรี ายรบั - รายจา ย จะมสี วนประกอบ ดงั น้ี 1. ชื่อบัญชีรายรบั - รายจาย 2. วัน เดอื น ป ที่เกดิ รายรบั หรือรายจา ย 3. รายการรบั เงนิ หรอื จา ยเงนิ 4. จํานวนเงนิ ที่รับ หรือจายจรงิ 5. ยอดรวมรายรับ และรายจายท้งั หมด 6. ยอดรวมรายรับ และรายจา ยทัง้ หมด 7. ยอดเงนิ คงเหลอื เมือ่ รายรับสงู กวา รายจา ย ตัวอยา งการจัดทําบัญชรี ายรบั - รายจาย ประจําเดอื น มนี าคม 2553 วนั เดอื นป รายการ รายรบั รายจาย คงเหลอื 29 ก.พ. 53 1 ม.ี ค. 53 เงินเดือน 5,000.- 3,500 - 3,400 - 15 มี.ค. 53 คา เชาบา น 1,500 - 3,390 - 3,240 - 31 ม.ี ค. 53 คา อาหาร 100 - 3,000 - คารถ 2,950 - คา อาหาร 10 - 2,920 - คาเส้ือผา 150 - คา อาหาร 240 - คา รถ 50 - 30 - รวม 5,000.- 2,080 - 2,920 -
76 บัญชเี งินสดจัดประเภท คือ การบันทกึ รายการ ทง้ั รายรบั รายจายทเี่ กดิ ขนึ้ จริง โดยจะนาํ รายรับ-รายจาย ไปบนั ทกึ แยกประเภทไว วนั เดอื นป รายการ รายรับ รายจาย เครอื่ ง อาหาร นันทนา กจิ กรรม เบด็ แตงกาย กลางวัน การ โรงเรยี น เตล็ด 31 มี.ค. 53 เงินประจําสปั ดาห 100 - เงินรายไดพ เิ ศษ 100 - คาอาหาร 10 - 10 - คาสมดุ 5- 5- 1 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - คาเขม็ ลกู เสือ 5- 5- 3 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - คา บัตรดดู นตรี 50 - 50 - 4 เม.ย. 53 คา อาหาร 10 - 10 - คารถ 10 - 10 - 5 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - คาเขม็ ขดั 30 - 30 - 6 เม.ย. 53 คา อาหาร 10 - 10 - คา บรจิ าคทาํ บญุ 5- 5- คาปากกา 5- 5- 7 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - รวม 200 - 180 - 35 - 70 - 50 - 10 - 15 - ยอดเงินคงเหลือยกไป 20 - 200 - 200 - ประโยชนของการทาํ งบประมาณและการบนั ทึกบญั ชรี ายรบั - รายจาย 1. ทาํ ใหม ีแผนจัดการรายรบั - รายจายที่มีประโยชนแ ละตองการจําเปน 2. ทําใหม หี ลักฐานในการรบั และจา ยเงินอยา งเปนระบบระเบียบ 3. ชวยลดปญหาการใชจ า ยเงินมากกวารายรบั 4. ชว ยใหส ามารถจดั สรรเงนิ ออกไวใ ชในยามฉกุ เฉนิ ได 5. สามารถเปรียบเทียบงบประมาณกับบัญชรี ายรับ - รายจาย เพ่ือนาํ ผลไปปรับปรงุ เพ่ือ การวางแผนการใชจายเงินคร้ังตอไป 6. ชวยใหเ ปน คนมเี หตุผลและรูจักคาของเงนิ มากขนึ้
77 เร่อื งที่ 6 คุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ นับวามีผลตอความมั่นคงของอาชีพ ผูขายกับ ผูซ้ือจะตองมีคุณธรรม จริยธรรมตอกัน จึงจะคาขายรวมกันไดเปนเวลานาน คณุ ธรรม หมายถงึ สภาพคณุ งามความดี จรยิ ธรรม หมายถึง ธรรมทเ่ี ปน ขอ ประพฤตปิ ฏิบตั ศิ ลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ดี ที่ชอบ ท้ังกาย วาจา และใจ การประพฤติปฏิบตั ิเปนไปดวยความจรงิ ใจ ไมแสแสรง เปน ไปโดยธรรมชาติของแตล ะบคุ คล คณุ ธรรม จริยธรรม ท่ตี องการในการประกอบอาชีพที่คนสวนใหญยอมรับวาเปนความดี ไดแก พฤติกรรม ดงั นีค้ อื ความรับผดิ ชอบ ความรับผิดชอบ หมายถึง ความสาํ นกึ ในหนาที่ ไมทอ กับงาน สามารถปฏิบัติงานไดสําเร็จ ยอมรับผลแหงการกระทํา จะตองเปนคนท่ีเอาใจใสรอบคอบในการทํางาน มีความตั้งใจจริง มีพันธะผูกพันในการจะปฏิบัติหนาที่การงานของผูรวมงานใหเปนไปตามเปาหมายขององคกร เน่ืองจากบุคคลตองอยูรวมกันทํางานในองคกร จําเปนตอ งปรบั ลกั ษณะนิสัย เจตคติของบุคคลเพ่ือ เปนเครอ่ื งผลักดันใหปฏิบัติงานตามระเบียบ รูจักเคารพสิทธิของผูอื่น ปฏิบัติงานในหนาที่ท่ีตอง รับผดิ ชอบและมีความซอ่ื สตั ยสุจริต คนทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบ จะทําใหการปฏิบตั ิงานไปสูเ ปาหมายที่ วางไว และชวยใหก ารทํางานรวมกันเปน ไปดว ยความราบรื่น ความรบั ผดิ ชอบจึงเปน ภาระผูกพันท่ี ผนู ําตองสรางขึน้ เพ่ือใหองคก รสามารถบรรลุเปาหมายไดอยางดี ถาในองคกรใดมีบุคคลท่ีมีความ รับผดิ ชอบ จะทําใหเกดิ ผลดีตอ องคกรดงั น้ี คือ 1. องคกรจะไดรบั ความเชอื่ ถือและไวว างใจจากผรู ว มงานและผูอนื่ 2. การปฏิบัติงานจะพบความสําเร็จทันเวลาและทันตอเหตุการณ ภายใตสถานการณท่ี เปล่ยี นแปลงตลอดเวลา 3. ทาํ ใหเกดิ ความเช่อื ถอื ในตนเอง เพราะปฏบิ ัตหิ นาทไ่ี ดอยา งเรยี บรอย 4. องคก รเกดิ ความม่นั คงเปน ทยี่ อมรบั นับถอื จากผูอน่ื 5. องคกรประสบความสาํ เรจ็ สามารถพัฒนาไปสคู วามเปน ปก แผน และม่ันคง 6. สามารถปฏบิ ัตงิ านไดอยางราบรนื่ ทกุ คนใหค วามรวมมอื เปน อยา งดี จรรยาบรรณและคณุ สมบัติของผปู ระกอบธรุ กจิ แนวคิดสําคญั ธุรกจิ เปน กจิ กรรมทม่ี ีความสมั พันธกับหลายองคกรโดยเฉพาะผูบริโภค เพราะธุรกิจตอง อาศัยผูบรโิ ภคซอ้ื สินคาและบริการ ในขณะเดยี วกนั ผบู ริโภคตอ งอาศัยหนวยธุรกจิ ตา ง ๆ ผลิตสินคา
78 และบริการเพ่ือสนองความตองการของตน ผูประกอบธุรกิจจําเปนตองมีจรรยาบรรณ ซึ่งรวมถึง ความซ่ือสัตยสุจริต มีจิตสํานึก และมีความรับผิดชอบตอผูเกี่ยวของ หากนักธุรกิจมีจรรยาบรรณ และคุณสมบัติอืน่ ๆ ที่เหมาะกับลกั ษณะงานอาชพี ของตนในการดาํ เนินธุรกิจแลว เช่ือไดว าธุรกิจนน้ั ๆ จะประสบผลสําเร็จอยางแนนอน ความสาํ คญั ของจรรยาบรรณ ผปู ระกอบธุรกิจหรือนักธุรกจิ เปนผูประกอบอาชีพที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจ ดังน้นั นกั ธรุ กิจจงึ จําเปน ตอ งปฏบิ ัติตนใหเปนแบบอยางที่ดี เพื่อใหเกิดความศรัทธา และเกิดการยอมรับของสังคมตอวิชาชีพนี้ จรรยาบรรณของผูป ระกอบการ มดี งั น้ี 1. จรรยาบรรณตอลกู คา ลกู คา หรือผบู ริโภค เปน กลุมบุคคลท่ีสําคญั ท่ีสดุ ท่ีจะทําใหธ รุ กจิ สามารถดํารงอยูไดเพราะลูกคา เปนผูซ้ือสินคาหรือใชบริการที่ธุรกิจผลิตออกมา ทําใหธุรกิจมีรายได กอใหเกิดกําไรและทําให ธรุ กิจสามารถเจริญเติบโตได ดงั นัน้ ผปู ระกอบธุรกิจจงึ จะตอ งปฏบิ ตั ิตอลกู คาอยางซอ่ื สตั ยและเปนธรรม ผูป ระกอบธรุ กิจพึงปฏิบัตติ อลูกคา ดงั นี้ 1. ขายสนิ คาและบรกิ ารดว ยความยตุ ธิ รรม คอื ขายดวยราคาตามความเหมาะสมกับคุณภาพ ของสินคา และบรกิ ารใหแ กลูกคา และมคี วามรบั ผดิ ชอบตามภาระผูกพนั ท่ไี ดต กลงกนั ไว 2. ละเวนการกระทําใด ๆ ที่จะทําใหสินคามีราคาสูงข้ึนโดยไมมีเหตุผล เชน การกักตุน สินคาเพอ่ื ทําใหส นิ คา ขาดแคลน และมรี าคาสูงขนึ้ 3. ใหบ รกิ ารแกล กู คา ทกุ คนอยางเทา เทียมกนั ไมม กี ารเลือกปฏิบัติ โดยใหโ อกาสแกลูกคา ท่ี จะซือ้ สินคาหรือบริการไมว า จะในสภาวะใดกต็ าม เชน ในภาวะท่สี นิ คาขาดตลาด 2. จรรยาบรรณตอคแู ขง ขนั ในเชงิ ธรุ กจิ การประกอบธุรกิจทุกประเภท จะมีผูประกอบการมากกวาหนึ่งราย ดังน้ัน การประกอบ ธุรกจิ จงึ ตอ งมีการแขงขันกันเพื่อพยายามทําใหธุรกิจของตนเองเจริญกาวหนา การแขงขันจึงเปน การชว ยพัฒนาธรุ กจิ เปน ส่งิ ที่พสิ ูจนความสามารถของผูประกอบธุรกิจ ผปู ระกอบธรุ กิจพงึ ปฏบิ ัตติ อคแู ขงขันในเชงิ ธรุ กิจ ดงั น้ี 1. ไมก ลั่นแกลงคแู ขงขนั เชน ใหร ายคแู ขง ขนั เพ่อื ใหค ูแขง ขนั เสยี โอกาสในการดาํ เนนิ การ และตัดราคาเพือ่ แยงสนิ คา 2. ชวยกนั สรางสรรคส่ิงที่ดีงามใหเกิดแกสังคม เชน รวมกันปองกันทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ ม 3. ไมค น หาความลบั ของคแู ขง ขันในเชิงธรุ กจิ โดยใชวิธกี ารทม่ี ิชอบ 4. พึงหลกี เล่ยี งการกระทําใด ๆ ทจี่ ะบัน่ ทอนช่ือเสียงตอ สินคา หรือบรกิ ารของคแู ขง ขนั
79 3. จรรยาบรรณตอหนว ยราชการ ผปู ระกอบธุรกิจมคี วามจาํ เปน ตองตดิ ตอ กบั หนวยงานของราชการ ซึ่งเปนหนวยหนึ่งของ สังคม เชน การเสียภาษี การจดทะเบยี นธรุ กจิ ตาง ๆ ดงั นนั้ ควรเขา ใจในแนวทางปฏิบตั ิท่ถี ูกตองตอ หนว ยราชการ ผปู ระกอบธรุ กจิ พงึ ปฏบิ ตั ิตอ หนว ยราชการ ดงั น้ี 1. ปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ บังคบั ของหนวยราชการ 2. ใหค วามรวมมอื กับหนวยราชการ ตามหนาทีพ่ ลเมอื งดี 3. ละเวนจากการตดิ สนิ บนเจา หนาท่ี 4. มีทัศนคติที่ดแี ละถกู ตองตอ หนว ยงาน 4. จรรยาบรรณตอพนกั งาน พนักงานเปนทรัพยากรที่มีคาของผูประกอบธุรกิจ การท่ีผูประกอบธุรกิจมีพนักงานท่ี ขยันขันแขง็ มีความซอื่ สตั ย จะทาํ ใหธุรกิจดาํ เนนิ ไปไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ผูประกอบธรุ กจิ พึงปฏบิ ตั ติ อพนกั งาน ดังนี้ 1. ใหคาจางและผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถของพนักงานไมเอารัด เอาเปรียบพนักงาน 2. ใหก ารพฒั นาพนกั งาน โดยการจัดฝก อบรมเพ่อื ใหพ นักงานไดร ับความรูเทคโนโลยีใหม ๆ เปน การเพมิ่ ประสิทธิภาพของการทํางาน 3. จัดสภาพการทํางาน สถานที่ทํางานใหถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัยตอสุขภาพและ ชวี ิตของพนักงาน พรอ มท้ังจัดหาเคร่อื งปอ งกันภัยอนั จะเกดิ ขน้ึ ไดจ ากการปฏิบตั ิหนาทีเ่ พราะสภาพ การทํางานท่ีดจี ะเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการทํางาน และทําใหพนักงานมขี วัญกําลังใจในการทํางาน 4. ใหความเปนธรรมและเทาเทยี มกันแกพ นักงานทุกคนในการปกครองและการพิจารณา ความดีความชอบ 5. ใหโอกาสในการแสดงความสามารถของพนกั งานแตละคน 6. ใหค าํ แนะนาํ ใหค วามชวยเหลอื ท้ังในเร่อื งการทาํ งานและเร่อื งสวนตวั ตามความเหมาะสม 7. พึงปลกู ฝง แนวความคดิ วาการประพฤตติ นใหอ ยใู นระเบียบวินัยเปนส่ิงทดี่ ีงาม 5. จรรยาบรรณตอ สงั คมและสภาวะแวดลอ ม เน่ืองดวยสังคมประกอบดวยบุคคลตาง ๆ เปนจํานวนมากแตละคนก็มีความแตกตางท้ัง อุปนิสัย การศึกษา ศาสนา ดังน้ัน สังคมจะสงบสุขไดตองอาศัยความรวมมือรวมใจ ทุกคนตอง ชวยกันสรางสรรคสังคม ผูประกอบธุรกิจก็เปนสวนหน่ึงของสังคม ดังน้ัน จึงมีความจําเปนท่ี จะตองรับผดิ ชอบตอ สงั คมเพือ่ มีสวนรว มทาํ ใหสังคมกา วหนา ตอ ไป
80 ผูป ระกอบธรุ กจิ พึงปฏบิ ัติตอ สงั คมและสภาวะแวดลอ ม ดงั น้ี 1. ละเวน การประกอบธรุ กจิ ท่กี อใหเกดิ ความเสอื่ มเสยี ตอสังคมและสภาวะแวดลอมท้ังดา น ศลี ธรรม ความเปน อยู และจติ ใจ เชน การเปด บอ นการพนนั สถานเริงรมยที่มกี ารจําหนายยาเสพตดิ สถานเรงิ รมยท่ีมีการคา ประเวณี การรับซ้อื ของผดิ กฎหมาย 2. ละเวนการประกอบธุรกิจที่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสภาวะแวดลอม เชน การ ประกอบธรุ กจิ แลว ปลอ ยนํ้าเสียจากการผลิตลงในแมน้ําลําคลอง การประกอบธุรกิจท่ีมีการปลอย ควันหรอื ฝนุ ละอองฟงุ กระจายอยูใ นบรรยากาศ การตัดไมท าํ ลายปา การรกุ ล้าํ ที่สาธารณะ 3. ใหความรวมมือทุกฝายชวยสรางสรรคสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกสังคม เชน การสงเสริมการศึกษา ใหทนุ การศึกษา สงเสริมการวจิ ัย ใหบริการแกสงั คม 4. ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพที่สดุ ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ เชน ไม ประกอบการประมงในฤดแู ละเขตหา มทําการประมง 5. พยายามหาวิธีสรางสิง่ ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ นําสงิ่ ทใี่ ชแลว มาปรับปรุงใชอีก เชน การนาํ หนงั สือพมิ พหรือกระดาษท่ใี ชแลว มาทาํ เปนกระดาษใหม 6. พึงรักษาและปรับปรุงมาตรฐานในการประกอบการเพื่อขจัดอันตราย อันอาจสง ผลกระทบตอ สภาวะแวดลอม 7. พงึ ประกอบธรุ กจิ ผลติ สินคาหรอื บริการที่เหมาะสมกับสภาวะแวดลอมและเปนสิ่งที่มี ประโยชนตอ สงั คมและมนษุ ยชาติ กจิ กรรม ใหผูเ รยี นกาํ หนดคณุ ธรรม และจริยธรรมในการประกอบอาชพี ดา นเกษตรกรรม อธบิ าย พอเขา ใจ เรอ่ื งที่ 7 การอนุรักษพ ลงั งานและส่ิงแวดลอ มในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า แนวคดิ ทรัพยากรเปน ปจ จยั ที่สําคญั ในการประกอบอาชพี ทรพั ยากร แบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื ทรัพยากรธรรมชาติ และทรพั ยากรในการประกอบการ การใชทรัพยากรธรรมชาติ ตองคํานึงถึงความหมดเปลือง และการใชทรัพยากรทดแทน การอนรุ ักษพลังงานและส่ิงแวดลอ มในชมุ ชน สังคม ประเทศ และ ภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกา
81 “พลงั งาน หมายถึง ความสามารถในการทาํ งานซ่ึงมอี ยูในตวั ของสิง่ ทีอ่ าจใชงานไดโดยการ ทําใหว ัตถุหรือธาตุเกดิ ความเคลือ่ นท่หี รอื เปลย่ี นรูปแบบไปได การท่ีวัตถุเคล่ือนท่ีจากท่ีหน่ึงไปยัง อีกที่หน่ึงไดก็เพราะมีแรงหรือพลังงานเขาไปกระทําพลังงาน หรือความสามารถในการทํางาน นอกจากสง่ิ มีชีวติ จะใชพ ลงั งาน ซึง่ อยใู นรปู ของสารอาหารในการดํารงชีวิตโดยตรงแลว สิ่งมีชีวิต ยงั ตองใชพ ลงั งานในรูปแบบลักษณะอื่น ๆ ที่เก่ียวกับการดํารงชีวิตประจําวันอีกในหลายรูปแบบ เชน ทางดา นแสงสวาง ความรอน ไฟฟา เปนตน ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม เพื่อใหเ กดิ ความเขาใจที่ชัดเจน เราสามารถแยกการใหค ําจาํ กัดความได ดงั น้คี อื สิ่งแวดลอม หมายถึง ส่ิงตา ง ๆ ท่อี ยูรอบตัวเรา ทง้ั สิง่ ทีม่ ชี ีวติ สิ่งไมมชี ีวติ เห็นไดดวยตาเปลา และไมส ามารถเห็นไดดวยตาเปลา รวมท้งั ส่ิงทีเ่ กิดขน้ึ โดยธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษยเปนผูสรางข้ึน หรอื อาจจะกลาวไดวา ส่ิงแวดลอมจะประกอบดวยทรพั ยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น ในชวงเวลาหน่งึ เพอ่ื สนองความตอ งการของมนษุ ยนนั่ เอง - สงิ่ แวดลอมท่เี กิดขนึ้ โดยธรรมชาติ ไดแ ก บรรยากาศ นํา้ ดิน แรธ าตุ และสิง่ มีชีวิตท่ีอาศัย อยบู นโลก (พชื และสตั ว) ฯลฯ - สิง่ แวดลอมทม่ี นษุ ยสรา งขนึ้ ไดแก สาธารณูปการตาง ๆ เชน ถนน เข่อื นกัน้ นํา้ ฯลฯ หรือ ระบบของสถาบันสังคมมนษุ ยท ่ดี าํ เนินชวี ิตอยู ฯลฯ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ (ส่ิงแวดลอม) ท่ีปรากฎและเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาตแิ ละมนษุ ยสามารถนาํ มาใชป ระโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธ าตุ พลังงาน และกําลงั แรงงานมนุษย เปน ตน ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การแบง ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ มีการแบงกันหลายลักษณะแตในที่น้ีจะขอแบง ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยใชเ กณฑของการนาํ มาใช โดยแบง ออกเปน 4 ประเภท ดังน้ี 1. ทรัพยากรธรรมชาติทีใ่ ชแ ลวไมหมดส้นิ เปนทรพั ยากรธรรมชาติที่เกิดข้ึนมากอนท่ีจะมี มนุษย เมื่อมนุษยเ กิดข้นึ มาสิ่งเหลา นก้ี ม็ ีความจําเปน ตอ การดํารงชีวติ ของมนษุ ย 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวทดแทนได เปนทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชไปแลว สามารถ เกิดขึ้นทดแทนได ซึ่งอาจเร็วหรือชาขึ้นอยูกับชนิดของทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ัน ทรพั ยากรธรรมชาติทใี่ ชแ ลวทดแทนได เชน พืช ปาไม สัตวปา มนุษย ความอุดมสมบูรณของดิน คุณภาพของนาํ้ และทศั นียภาพท่ีสวยงาม เปน ตน 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนํามาใชใหมได เปนทรัพยากรธรรมชาติจําพวกแรธาตุ ชนิดตา ง ๆ ท่ีนํามาใชแ ลวสามารถนาํ ไปแปรรูปใหกลบั ไปสสู ภาพเดิมได แลวนํากลับมาใชใหมอีก เชน แรโลหะ แรอ โลหะ ไดแ ก เหลก็ ทองแดง อลูมิเนียม แกว ฯลฯ
82 4. ทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ชแ ลวหมดส้ินไป เปนทรพั ยากรธรรมชาติที่นํามาใชแลวจะหมด ไปจากโลกนี้ หรือสามารถเกิดข้ึนทดแทนได แตตองใชระยะยาวนานมาก ทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทนี้ ไดแก น้ํามันปโ ตรเลยี ม กาซธรรมชาติ และถานหิน เปนตน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การใชทรัพยากรธรรมชาติดวยวิธีการที่ฉลาด เหมาะสม โดยใชอ ยางประหยดั ใหเ กดิ ประโยชน และเกิดคณุ คา มากทีส่ ดุ รวมท้ังการปรับปรุงของ เสยี ใหนาํ กลับมาใชใหม เพอ่ื ใหเกดิ การสูญเสียนอ ยทส่ี ดุ การอนุรักษส่ิงแวดลอม หมายถึง การใชสิ่งแวดลอมอยางชาญฉลาดไมใหเกิดพิษภัยตอ สงั คมสว นรวม ดาํ รงไวซงึ่ สภาพเดมิ ของส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมท่ีมนุษยสรางขึ้น รวมทั้งหาทางกําจดั และปอ งกนั มลพษิ สิ่งแวดลอม การอนรุ ักษพ ลงั งาน หมายถงึ การใชพลงั งานใหเ กิดประสิทธิภาพสูงสุด มีการพัฒนาและ นําพลังงานจากแหลง ใหม ๆ มาใชเ พอ่ื ทดแทน และมีการปอ งกันการสูญเสยี พลังงาน วิธีการอนรุ กั ษพ ลังงาน พอสรปุ ไดดงั นี้ 1. หาแหลงพลงั งานทดแทน 2. การวจิ ัยและพฒั นาพลงั งาน 3. การเผยแพรค วามรูส ูส ังคม 4. การประหยดั พลงั งาน กจิ กรรม ใหผ ูเ รยี นสาํ รวจทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทองถิ่นมีอะไรบา ง
83 บทที่ 2 ชอ งทางการพัฒนาอาชีพ สาระสาํ คัญ การเปล่ยี นแปลงทางดา นสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสิ่งแวดลอม ความเจริญกาวหนา ทางเทคโนโลยีมีผลตอ ความเปนอยู และการประกอบอาชพี ดงั น้ัน จงึ จาํ เปน ตองศึกษาและวิเคราะห ความเปนไปไดใ นการพัฒนาอาชีพ เพื่อใหมองเห็นชองทางในการพัฒนาอาชีพไดอยางเหมาะสม กับตนเองโดยการกําหนดวิธีการและข้ันตอน ดวยการพิจารณาถึงความเปนไปได และจัดลําดับ พรอมท้งั ใหเ หตผุ ลในการพัฒนาอาชพี ได ตวั ช้วี ดั 1. อธบิ ายความจาํ เปนในการมองเหน็ ชอ งทางในการพฒั นาอาชีพไดอยา งเหมาะสมกบั ตนเอง 2. ศึกษาอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีป ออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า เพื่อวิเคราะหความเปนไปไดในการพัฒนา อาชีพ 3. กําหนดวิธีการและข้ันตอนการประกอบอาชีพโดยพิจารณาความเปนไปไดของการ พัฒนาอาชพี และจดั ลาํ ดับ พรอมทง้ั ใหเหตผุ ลในการจดั ลาํ ดบั การพัฒนาอาชีพทกี่ าํ หนด ขอบขายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 ความจาํ เปน ในการมองเห็นชองทางเพ่ือพัฒนาอาชีพ เรอ่ื งที่ 2 ความเปน ไปไดใ นการพัฒนาอาชพี เร่ืองที่ 3 การกําหนดวิธกี ารพัฒนาอาชพี พรอ มเหตผุ ล
84 เร่อื งท่ี 1 ความจาํ เปนในการมองเห็นชองทางเพื่อพฒั นาอาชีพ การท่ีคนเราจะประสบความสําเร็จในอาชีพไดน้ัน มิใชวาเปนส่ิงท่ีทํากันไดงาย ๆ แต จะตอ งมกี ารสาํ รวจขอเท็จจรงิ มีการวางแผน กาํ หนดเปา หมายที่ตอ งการ เขียนโครงการทจ่ี ะทําและ ปฏบิ ตั ติ าม ขณะทโ่ี ครงการกม็ กี ารพฒั นาปรบั ปรงุ แกไขไปดวย นอกจากจะเนนรายไดที่พึงจะไดแลว สง่ิ ท่ีสําคญั ท่ีจะขาดมิได ซ่ึงจะทําใหอาชีพมีความมั่นคงย่ิงข้ึนก็คือ การมีคุณธรรม จริยธรรมของ ผูประกอบการดว ย การประกอบอาชีพ หรือประกอบธุรกิจหรือดําเนินการส่ิงใด เชน การเดินทางไปที่ใดสัก แหงหนึ่ง การจัดเลย้ี งเหลา น้เี ปนตน จะตองมีการกาํ หนดแผนเสยี กอ น ถงึ แมว า บางคนอาจทาํ กิจการ โดยไมมีแผนงาน ซึ่งอาจประสบความสาํ เรจ็ ในชว งแรกๆ เทาน้นั แตร ะยะเวลาอาจมเี หตกุ ารณต า ง ๆ เกดิ ข้ึนสง ผลใหเกิดอุปสรรคการประกอบอาชีพ เชน การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง หรือแมกระทั่งความสลับซับซอนของงานที่มากขึ้น เพราะสิ่งเหลาน้ีไมไดผานการ คาดคะเนและการคิดอยางรอบคอบกอน การวางแผน เปนการคดิ ไวลวงหนาวาจะทาํ อะไร มีจุดมุงหมายอะไร มีวธิ ีการอยางไร เปน กระบวนการทม่ี รี ูปแบบอยางหนง่ึ มกี ารระบุเปาหมาย และแผนรายละเอียดตาง ๆ มีการประสาน กิจกรรมตาง ๆ ต้ังแตจุดเริ่มตนจนกระทั่งถึงจุดสิ้นสุด การประกอบอาชีพมีความยุงยาก สลับซับซอ น การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ จะตองมีความสอดคลองกันกับทรัพยากร และงบประมาณ ท่ีมีอยู เพ่ือใหมีความเปนไดมากที่สุด ดังน้ัน การวางแผนจึงมีความสําคัญตอการประกอบอาชีพ ดังน้ีคือ 1. ชวยทําใหก ารดาํ เนนิ งานบรรลผุ ลสาํ เรจ็ ตามเปา หมาย 2. ชว ยทาํ ใหก ารใชทรัพยากรเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ชวยทาํ ใหก ารดาํ เนนิ งานมคี วามเส่ียงนอ ยลง และมคี วามเชื่อมนั่ ในการบรหิ ารงานมากขนึ้ 4. ชวยปอ งกนั การขัดแยง ซ่งึ อาจจะเกิดขน้ึ ระหวางการดาํ เนนิ งานได 5. ชว ยปรบั วธิ ีการดาํ เนินงาน หรือเปลีย่ นแปลงกิจกรรมบางอยางไดอยางเหมาะสม
85 เรื่องท่ี 2 ความเปนไปไดในการพฒั นาอาชพี 1. การลงทนุ “การลงทุน” หมายถึง การออมเพ่ือใหไดรับผลตอบแทนท่ีมากข้ึน ซึ่งเราจะตองยอมรับ ความเสีย่ งที่เพม่ิ ขน้ึ เชนกนั การตดั สินใจนําเงนิ ออมมาลงทุนเราจึงตอ งพิจารณาอยางรอบคอบ และ ศึกษาหาขอมูลท่ีเก่ียวขอ งเปน อยา งดี เพอื่ ใหไ ดรับผลตอบแทนที่คาดหวังไว และเพื่อลดความเส่ียง ท่ีเกิดขนึ้ จากการลงทนุ วิเคราะหท างการเงนิ การลงทนุ เพือ่ เปรียบเทียบผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับ และคาใชจายท่ีตองเสียไปในการดําเนิน กิจกรรมตามโครงการ คาใชจายของโครงการ 1. คาลงทุน 2. คาใชจ ายในการดาํ เนินงาน และบาํ รงุ รักษา 3. คาทดแทน 4. เงนิ สํารองจาย การประมาณคา ใชจ ายโครงการ 1.ระบุรายการ และปรมิ าณคาใชจ า ย 2. การตีราคาคา ใชจา ย - ราคาตลาด - ราคาทางบญั ชี 3. รวมคาใชจ า ยเปนรายป ผลประโยชนตอบแทนของโครงการ กระแสเงินสด = ผลประโยชนต อบแทนตอป - คา ใชจ ายตอ ป 2. การตลาด การตลาด การตลาด เปนกิจกรรมทางธุรกิจที่มีความจําเปน และมีความสําคัญตอการอยูรอดของ องคกรธุรกิจ ในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมน้ัน ธุรกิจจําเปนจะตองอาศัยกลยุทธทางการตลาด ซ่ึงส่ิงน้ันก็คือการขาย การเรียนรูเพ่ือใหเขาใจถึงความแตกตางของการขาย และการตลาด อยางชัดเจนจะชวยใหธุรกิจพัฒนาตอไป รวมถึงหนาท่ีของการขายและการตลาดดวย ดังน้ัน เปาหมายของธุรกิจจะดําเนินไปในทิศทางที่มุงหวังได จึงจําเปนที่ตองศึกษาความสําคัญของ การตลาด และการขายอยางละเอยี ด
86 ความสําคัญของการตลาด ยคุ แรกของการตลาดจะเนน ที่การผลิต โดยจะทําการผลิตสินคาใหไดมากเพื่อสนองความ ตองการในตลาดในยุคแรกน้ันคูแขงหรือผูผลิตในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่งจะมีผูผลิต ไมม ากราย ดงั นนั้ การผลิตจึงเปน หนทางทํากําไร หากผูผลิตสามารถผลิตสินคาใหไดจํานวนมาก ในลักษณะของสินคา เพ่ือมวลชนในยุคที่ 2 การตลาดจะเนน ทก่ี ารขาย โดยจะเนน ที่กจิ กรรมการขาย ใหความสําคัญกับงานการขายเปนอยางมาก และกําไรของธุรกิจจะเกิดขึ้นมากนอยก็อยูท่ี ความสามารถและประสทิ ธิภาพของทีมการขาย ยุคถัดมาเปนยคุ ทก่ี ารตลาดเนนการใชเ ครอ่ื งมือทาง การตลาดทุกอยา ง โดยเฉพาะการสรา งความพึงพอใจใหเกิดกบั ลูกคา โดยใชส วนผสมทางการตลาด คอื ผลติ ภัณฑก ารกาํ หนดราคาของผลิตภณั ฑท่ีเหมาะสม ความหมายของการตลาดและการขาย การตลาด หมายถึง กจิ กรรมทางธุรกจิ ทจี่ ะทาํ ใหส ินคา จากผูผลิตไปสูมือผูบริโภค และทําให ผูบริโภคเกิดความพึงพอใจที่ไดบริโภคสินคาหรือบริการน้ัน อันเปนผลทําใหธุรกิจประสบ ความสาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงคข องธรุ กิจนนั้ ๆ อีกดว ย การขาย หมายถงึ กระบวนการในการชว ยเหลอื โนม นาว ชักจงู ใจ โดยใชบ คุ คลหรือไมใช บคุ คลก็ได เพอ่ื ใหล ูกคา คาดหวงั ตัดสินใจซือ้ สินคาหรอื บริการนัน้ ๆ ความแตกตา งระหวา งการตลาดและการขาย เมอ่ื ธุรกจิ ทําการผลติ สนิ คาหรอื บริการและพยายามจูงใจผูบริโภคใหซ้ือสินคาหรือบริการ นนั้ เราจะเรียกกิจกรรมน้วี า การขาย ซ่ึงจําเปนจะตองรูถึงความตองการของผูบริโภค เพ่ือที่ธุรกิจ หรือผูผลิตจะผลิตสินคาใหเหมาะสมสอดคลอง กับความตองการของผูบริโภค เมื่อผูผลิตคนหา ความตองการทแี่ ทจรงิ ของผบู ริโภค แลวนําขอมูลไปพัฒนาผลิตภัณฑของตน เพื่อทําใหผูบริโภค เกิดความพึงพอใจเม่ือไดใชผลิตภัณฑนั้นแลว ทายท่ีสุดธุรกิจก็จะไดกําไร ลักษณะนี้เรียกวา การตลาด ซ่งึ สามารถทจ่ี ะสรปุ ความแตกตางระหวางการขายและการตลาดได ดังน้ี การขาย การตลาด 1. เนน ทคี่ วามสาํ คญั ของผลิตภณั ฑ 1. เนน ความตองการของผบู ริโภค 2. ธุรกิจจะคนหาเทคนิควิธกี ารขายท่ีประสบ 2. ธรุ กิจจะคน หาวธิ กี ารสรางความพงึ พอใจตอ ความสําเร็จ ผูบ รโิ ภค 3. ธุรกจิ จะมุงเนน ท่ียอดขาย 3. ธรุ กจิ จะมุงเนน ทีผ่ ลกําไร 4. แผนการขายจะเปน แผนระยะสนั้ 4. แผนการตลาดจะเปนแผนระยะยาว สนองตอบความตอ งการของพนกั งานขาย สนองตอบความตอ งการของผซู อื้
87 แนวความคิดทางการตลาด นักธุรกิจใหความสําคัญกับการตลาด เพ่ือทําใหธุรกิจนั้นประสบความสําเร็จโดยมีการ พัฒนาแนวความคิด ปรัชญา และการดําเนินธุรกิจ การพัฒนา 3 ประการดังกลาวเรียกวาเปน แนวความคิดทางการตลาด แนวความคิดทางการตลาดในปจจุบันมุงเนนไปท่ีผูบริโภคและการ ผสมผสานของกิจกรรมทางการตลาด เพอ่ื ทําใหบรรลุถึงวตั ถปุ ระสงคข องธรุ กิจและใหผูบ ริโภคเกิด ความพงึ พอใจทีไ่ ดใชผลิตภัณฑน ้ัน ๆ แนวความคิดทางการตลาดอาจสรปุ ไดด ังแผนภมู ิ ตอ ไปน้ี การมงุ เนนผบู รโิ ภค การผสมผสาน การสรา งความ ธุรกิจ กิจกรรมทางการ พึงพอใจใหก บั ประสบ ผลสําเร็จ ตลาด ผูบริโภค การกําหนดวตั ถปุ ระสงค หรอื เปาหมายของธุรกจิ นอกจากแนวความคิดท่ีกลาวขางตน ยังมีการเสนอแนวความคิดใหมทางธุรกิจอันเปน แนวความคิดที่เปนไปตามกระแสของสังคมและของประเทศชาติ คือ แนวความคิดทางการตลาด เพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม โดยการตลาดในลักษณะนี้จะเนนในดานของการรักษาส่ิงแวดลอม ความปลอดภัยตอ ชวี ิตผูบริโภคและไมทํารายธรรมชาติ โอโซน อากาศ น้ํา เน่ืองมาจากระแสการ พิทักษโลก ดังน้ัน ธุรกิจจึงเสนอผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอธรรมชาติปลอดสารซีเอฟซี (CFCs) ซึ่ง ทําลายโอโซน มีกิจกรรมทางการตลาดในเร่ืองของรีไซเคิล รีฟล รียูส แนวความคิดที่กลาวถึงน้ี อาจเรียกไดวาเปน กรนี มาเก็ตต้งิ นน่ั เอง หนา ทที่ างการตลาดทส่ี าํ คญั หนา ท่ีของการตลาดทีม่ ผี ผู ลิตและผูบ รโิ ภคก็เพอื่ ชวยเหลือ และอํานวยความสะดวกใหกับ ผผู ลติ และผบู รโิ ภค สรปุ ได ดงั น้ี 1. การขาย ผูประกอบธุรกิจตองอาศัยนักการตลาด ดําเนินกิจกรรมในดานการขายเพื่อ เคลื่อนยายสินคาจากโรงงานผลิต และการทําการโอนกรรมสิทธ์ิเปลี่ยนมือความเปนเจาของใน สนิ คา น้นั ๆ ไปยังผูบ ริโภค ผูประกอบธุรกิจจําเปนตองศึกษาจุดประสงคของตลาด และตองสราง แรงจูงใจเพื่อทําใหลูกคาอยากไดสินคาโดยอาศัยการโฆษณา การสงเสริมการขาย และการใช พนักงานขายเพ่ือกระตุนใหลูกคาเปาหมายตัดสินใจท่ีจะซื้อ ในทางกลับกันผูประกอบธุรกิจก็ สามารถขายสินคา ได
88 2. การซื้อ ผูประกอบธุรกิจตองเปนนักซ้ือที่ฉลาดเพ่ือใหไดวัตถุดิบ อุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชในราคาท่ีเหมาะสมดวย เพ่ือเปนการลดตนทุนของธุรกิจเอง โดยยึดหลักตองซ้ือใหได ปริมาณในเวลาและราคาท่ีเหมาะสมดวย จะตองรูวัตถุประสงคดวยวาจะซื้อเพ่ืออะไร เชน ซ้ือไป เพ่อื ผลิต ซ้อื ไปเพอ่ื ขายตอ และตองรูจ กั เปรียบเทียบคุณภาพราคาของสินคาทีจ่ ะซื้อ รวมถึงขอ ตกลง ในเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล และตรวจสอบรับสินคาเขาเก็บไวในคลังสินคาหรือสตอก เพื่อรอ การจาํ หนายตอไป 3. การขนสง สนิ คา ตลาดตอ งจัดการขนสงท่เี หมาะสมกับสินคาโดยพิจารณาลักษณะสินคา หีบหอของสินคา เพ่ือเลือกพาหนะขนสงท่ีดีเหมาะกับสินคาประหยัดคาขนสงหรือคาระวาง การสงมอบสินคา ท่ตี รงตอ เวลา ลกู คาทกุ รายตองการรบั สนิ คา ตรงตอ เวลา โดยเฉพาะอยางย่ิงสินคา ท่มี ฤี ดกู าลในการขายย่ิงจําเปน อยางย่งิ ทต่ี อ งรักษาเวลาในการขนสงธุรกิจ จําเปน ตอ งเลอื กวธิ กี ารขนสง ท่เี หมาะสมไมวาจะเปนทางรถบรรทุก รถไฟ ทางเครือ่ งบนิ เรอื บรรทกุ สินคา หรอื การขนสง ทางทอ 4. การจัดมาตรฐานสินคา เพ่ือใหไดสินคาเปนท่ีพอใจงายตอการตัดสินใจซื้อ และสราง ความมั่นใจใหกับผูบริโภค จึงมีการจัดแบงระดับหรือมาตรฐานของสินคา เพื่อใหลูกคาไดเลือก สินคาที่เหมาะสม และตรงกับความตองการโดยเฉพาะอยางย่ิงการซื้อขายสินคาในตลาด ตางประเทศ การจัดอันดับและมาตรฐานสินคามีความสําคัญอยางย่ิง ในปจจุบันประเทศไทย สนบั สนุนการผลิตสินคาเพ่ือสงออกเพิ่มข้ึนสูง ดังนั้น การที่สินคาไดมาตรฐาน ISO จึงเปนส่ิงที่ สําคัญ โดยผูผลิตจําเปนตองศึกษาและพยายามผลิตใหไดมาตรฐานสากลที่กําหนด ไมวาจะเปน มาตรฐานคุณภาพ ISO 9000, ISO 9002 หรือ ISO 14000 ก็ตาม เพ่อื รักษาภาพพจน และการยอมรับ ในมาตรฐานสินคาไทย 5. หนาที่ในการเก็บรักษาสินคา การเก็บรักษาสินคาในคลังเก็บสินคา หรือสต็อกสินคา เพ่อื ตอบสนองความตองการของลกู คาใหตรงเวลา ไดทันทีที่มีคําส่ังซ้ือสินคาเขามา การเก็บรักษา สินคา เพือ่ วัตถปุ ระสงคหลายประการ เชน เหลา ไวน ย่ิงหมักบมนานปก็ยิ่งมีราคาแพง เพ่ือใหขาย นอกฤดูกาลได เชน การแชแข็ง การฉายแสงเก็บไว เพ่ือชะลอการสุกของผลไม เพื่อเก็งกําไรโดย รักษาระดบั อุปทานในตลาดเมอ่ื สินคาไดราคาดคี อยปลอยออกขาย 6. การประกันภัย สินคาที่ผลิตออกมาและรอการจําหนาย อาจเสี่ยงตอภัยตาง ๆ เชน ความลาสมัย การถูกลักขโมย ภัยธรรมชาติ ลักษณะการเส่ียงภัยอาจเกิดข้ึนไดทุกเวลา ดังนั้น การประกันภัยจึงเปนทางเลือกหนึ่งที่จะชวยแกปญหาดังกลาว โดยธุรกิจจะตองไมผลักภาระ การเสย่ี งภัยออกจากกิจการโดยส้ินเชงิ ปจจบุ ันไดมสี ถาบันรับประกันภัยตาง ๆ เขามาชวยแบงเบา ภาระการเสยี่ งภัย โดยใชหลักการกระจายการเสยี่ งภยั ใหก วา งออกไปถงึ ผูรับภาระหลาย ๆ ราย 7. การใหค วามชวยเหลือดานการเงิน การประกอบธุรกิจซื้อขายสินคาจะมีปญหาเก่ียวกับ การเงิน หน้ีสูญ หนเ้ี สีย การขาดสภาพคลอ งทางการเงนิ ขาดเงนิ สดหมุนเวยี นในธุรกจิ จนเปนผลให ไมมเี งนิ จายสินคา จายคาจางเงนิ เดือนพนักงาน ดงั นนั้ การจัดการเงนิ ที่ดีในฐานะการเงินของกิจการ
89 อยใู นภาวะสมดุลรายไดเ กดิ ข้ึนสอดคลอ งกบั ชําระหนสี้ นิ หากกจิ การธุรกิจจัดการดานการเงนิ ไมด ีก็ อาจนาํ ไปสกู ารขาดทุน จนถึงตองออกจากธรุ กิจนั้นไป การจัดหาเงินทุนจากแหลงตาง ๆ และการ จดั การนําเงินกาํ ไรไปลงทนุ ใหมใ นธุรกจิ ทมี่ ีความเส่ยี งต่ํา รวมถึงสถาบันทางการเงินทจี่ ะเขามาชวย ในเรื่องการกูยืมเงินเพ่ือการลงทุน เชน ธนาคารพาณิชย ทรัสต บรรษัทเงินทุน เปนการเขามามี บทบาทในการใหความชว ยเหลือ พฒั นาการลงทุนของธุรกิจ 8. การหาขอมูลทางการตลาด เพื่อประกอบการตัดสินใจของผูบริหารธุรกิจและ ประโยชนของธุรกิจ ใหมีผลเสียหายนอยที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งยุคของขอมูลขาวสาร เชน ในปจ จบุ นั ธรุ กจิ ใดไดขอ มลู ขา วสารกอนก็ยอ มจะไดเปรยี บในการตดั สนิ ใจไดรวดเร็ว ถูกตอง เชน ขอมูลในการลดคาเงินบาท การใหคาเงินบาทลอยตัว ผูรูกอนยอมปรับกลยุทธและตักตวง ผลประโยชนไ ดจ ากคาเงนิ ทเ่ี ปลี่ยนแปลง 3. กระบวนการผลติ กระบวนการผลติ หมายถงึ กระบวนการผลิตสินคา การใหบริการ ตามความตองการของ ผูบริโภค ซึ่งประกอบไปดวย ลูกคา ตลาดแรงงาน สังคม ประเทศชาติ และประชาคมโลก โดยมี วิธกี ารในการควบคมุ ดูแลการผลติ อยางมีคณุ ภาพทไี่ ดมาตรฐาน และการสรางคณุ ลักษณะทโี่ ดดเดน ของสนิ คา หรอื บริการ ไดแก 1. ความนาเชอ่ื ถือ ผใู หบริการจะตองแสดงถึงความนา เชื่อถอื และไวว างใจ 2. การตอบสนอง การตอบสนองที่มีความต้งั ใจและเต็มใจ 3. การสรางความมั่นใจ สามารถทีจ่ ะทําใหล ูกคาเกดิ ความเช่ือใจ 4. การดแู ลเอาใจใส 5. เครื่องมืออปุ กรณ 4. การขนสง สนิ คา การขนสง หมายถึง การเคล่ือนยายสินคาจากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง ซึ่งเปนหนาที่ของ ผูผ ลติ ทจ่ี ะใหอรรถประโยชนแกผูบริโภคในดานเวลา และสถานท่ี สงผลใหสินคามีมูลคาเพ่ิมขึ้น เพราะหลกั ในการจัดการขนสงมีอยูวา “มูลคาสินคาท่ีเพ่ิมข้ึนหลังจากขนสงไปแลวจะตองสูงกวา คาขนสง” ซ่ึงมีสินคาบางชนิดที่คาขนสงสูงกวาราคาตัวสินคาจริงมาก เชน การขนหินทราย ยิปซัม ถานหิน แตก็มีสินคาบางชนิดที่คาขนสงถูกกวาราคาสินคาจริง เชน การขนทองคํา เพชร พลอย และยา เปน ตน การขนสง มีสวนชวยลดคาตนทุนการผลิตได ในกรณีที่ตั้งโรงงานขนาดใหญท่ีตนทุน ตาํ่ สุดสถานที่หนึ่ง แตตองการกระจายสินคาไปทั่วประเทศ เชน โรงงานผลิตรถมอเตอรไซค ทตี่ ง้ั อยูชานเมืองกรุงเทพฯ แตส ามารถสง รถมอเตอรไซคไปขายท่วั ประเทศ หรือโรงงานผลิตเสอื้ ผา ต้ังอยูในประเทศไทย แตสามารถสงเส้ือผาไปขายไดท่ัวโลก เปนตน ซึ่งจะทําใหตนทุนการผลิต ตอ หนวยสนิ คา ลดลง
90 การขนสงทางธุรกิจมี 3 ทาง คือ 1. การขนสง ทางบก ปจจุบันมีทางรถไฟเช่ือมระหวางกรุงเทพฯ กับเมืองใหญ ๆ เกือบทั่ว ประเทศผา นจงั หวดั ใหญ ๆ ทั้งภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคตะวันออกเฉียงเหนอื สวนท่ผี า นภาคใต มกี ารเชอื่ มตอกับประเทศมาเลเซยี ทางปาดงั เบซาร และสุไหงโก-ลก จนถึงสิงคโปร นอกจากนั้นยัง มีทางรถไฟเชอ่ื มกับประเทศกมั พูชา แตข ณะนห้ี ยดุ กิจการ เพราะปญหาความปลอดภัยภายในของ ประเทศนั้น กจิ กรรมหลกั ของรถไฟ คือ การขนสงสนิ คา รอ ยละ 90 ของรถไฟเปนตูสินคา แตละป รถไฟทาํ การขนสงสินคา ประมาณ 8 ลา นตัน สวนใหญว ตั ถุดบิ เชน นาํ้ มัน และปนู ซเี มนต 2. การขนสงทางเรือ มีทาเรือใหญ ๆ ที่ใชขนสงสินคาท้ังภายในประเทศ และติดตอกับ ตางประเทศ เชน ทา เรือคลองเตย แหลมฉบัง มาบตาพุด ภูเก็ต สงขลา และสีชัง การขนสงทางเรือ มีคาใชจายต่ําแตลาชา ระบบบริหารและระบบศุลกากรยังลาสมัย มีชองวางใหเจาหนาท่ีทําการ ทจุ รติ ไดม าก สงผลใหมลู คาเพม่ิ ของสินคาและบริการ ขององคกรธุรกิจหายไปเปน จํานวนมาก 3. การขนสงทางอากาศ ประเทศไทยมีทาอากาศยานนานาชาติท่ีสุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชียงใหม อูตะเภา ภูเก็ต และหาดใหญ ซ่ึงทําใหการขนสงสินคาและบริการขาเขาและขาออกดี พอสมควร การขนสงทางอากาศมีความรวดเร็ว แตเสียคาใชจายสูงมาก เหมาะสําหรับการขนสง สนิ คาขนาดเลก็ นํ้าหนกั เบา นอกจากน้ียังมีการขนสงทางทอซึ่งใชขนสงเฉพาะกาซ นํ้า และน้ํามันเทาน้ัน ปจจุบัน การขนสงโดยบรรจุสินคาไวในตูคอนเทนเนอรเปนท่ีนิยมมากเพราะสามารถใชบรรจุสินคาได หลายอยาง โดยบรรจุสนิ คาในกลองกอนทรี่ วมไวใ นตูคอนเทนเนอรทาํ ใหส ะดวกในการขนถา ย ใน บางกรณที ี่ตอ งใชก ารขนสงหลายวธิ ี หรอื เปลย่ี นถายการขนสงหลายครง้ั กวาจะถึงจุดหมายปลายทาง ก็สามารถโยกยายไดดี เชน เคลอื่ นยายจากรถลงเรือหรือจากเรือขึน้ รถ ตคู อนเทนเนอรมหี ลายขนาด แลวแตก ารขนสง เชน การขนสงทางเรอื สวนใหญจะใชต ูม าตรฐานขนาด 21 ฟุต และ 40 ฟุต สวน ตคู อนเทนเนอรสําหรับสงของทางอากาศจะมีขนาดเล็กกวา การขนสง สินคา แตล ะวธิ ีมขี อดี ขอ เสียตางกัน นักการตลาดทดี่ ตี องรจู กั เลือกวิธกี ารขนสงที่ เหมาะสมกบั สินคา และบรกิ ารท่ีมปี ระสิทธภิ าพ ซึง่ ขึ้นอยกู ับวัตถุประสงคของตนเอง เชน ตองการ ความรวดเรว็ หรอื ตองการราคาถูก หรอื ตองการความสะดวก 5. การบรรจหุ ีบหอ การบรรจุหีบหอนั้น นอกจากใชป องกนั ผลิตภณั ฑแ ลว ยงั ใชใ นการสงเสริมการขายอีก ซึ่ง ถือวามีความสําคัญมากทั้งสําหรับผูขายและผูบริโภค การบรรจุหีบหอท่ีดีทําใหสามารถรักษางาย ประหยดั เนือ้ ที่ และทําใหผบู รโิ ภคมองเห็นความแตกตา งของผลติ ภณั ฑไ ดช ัดเจน ซ่ึงประโยชนของ การบรรจุหีบหอมีดงั นี้ 1. ผูบริโภคมักจะเลือกผลิตภัณฑท่ีมีการบรรจุหีบหอท่ีดีกวา เชน ผูบริโภคยอมซื้อ นํ้าทีบ่ รรจขุ วดพลาสตกิ ใสในราคาท่แี พงกวา นํ้าทบี่ รรจขุ วดขุน ทั้งท่ีเปน นา้ํ ด่ืมทีป่ ลอดภัยเหมือนกนั
91 หรือนิยมซ้ือบะหมี่ก่ึงสําเร็จรูปท่ีบรรจุในถวยพลาสติก ในอนาคตผูบริโภคอาจเลือกซื้อบะหมี่ท่ี บรรจใุ นถวยทสี่ ามารถใชกบั เตาไมโครเวฟได 2. การบรรจุหบี หอ เปนการสอ่ื สารระหวางผูผ ลิตและผูบริโภคอยางหน่ึง เพราะการบรรจุ หบี หอเปน ตัวกาํ หนดกลยุทธการตลาด เชน สุราทมี่ รี าคาแพงจะบรรจุขวดที่สวยงาม แมแตบ ริการก็ ใชการบรรจุหีบหอสําหรับผูบริโภค เชน ตั๋วเคร่ืองบิน จะตองมีซองท่ีสวยงาม หรือใบเสร็จของ โรงแรมก็ตอ งบรรจุซองท่ีมขี อ ความสวยงาม 3. การบรรจุหบี หอ จะชว ยใหการกระจายสนิ คางายขน้ึ และลดตนทุนลง เพราะวาการบรรจุ หบี หอ ท่ีดีจะทําใหก ารปองกันความเสยี หายของสนิ คา ดีขนึ้ ย่งิ กวา นนั้ เม่อื มกี ารเก็บรักษาสินคาก็จะ ทําใหมีความเสียหายนอยลงดวย บางคร้ังการบรรจุหีบหอที่ดีก็เปนการโฆษณาประชาสัมพันธได ดีกวาการโฆษณาดวยส่ือดวยซ้ําไป เพราะเมื่อวางผลิตภัณฑไวในรานคา ผูบริโภคอาจจะเห็น บอยกวาการโฆษณาในส่ือ เราจะเห็นวาบางคร้ังจะมีหีบหอวางแสดงตามตูกระจกใสในรานเปน จาํ นวนมาก สง่ิ ทนี่ ักการตลาดพึงระลกึ ไวเสมอคอื จะตองไมม ีการบรรจุหีบหอที่ทําใหผูบริโภคเขาใจผิด เชน กระปอ งทบ่ี รรจปุ ลาซาดนี ก็ไมควรปดสลากวา เปน ปลาทนู า หรือกําหนดบนหีบหอวา สินคา มีน้ําหนกั 0.8 กโิ ลกรัม แตก ลับปดสลากวา 1 กโิ ลกรมั หรือนํ้าสมธรรมชาติ 100% ทั้ง ๆ ที่จริงแลว มีเพียง 25% ผสมน้าํ อกี 75% หรือระบวุ าหบี หอ สามารถหมุนเวียนมาใชใหมไดท้ัง ๆ ที่นํามาใชอีก ไมได ในปจ จุบัน การบรรจุหีบหอสมัยใหม มักจะใชบารโคด ซึ่งสามารถอานไดดวยเคร่ืองมือ อิเล็กทรอนิกสไ ดสะดวก ในการชาํ ระเงิน และการจัดหมวดหมูส นิ คา ไดด ี 6. การแปรรปู การแปรรปู หมายถึง การนาํ ผลผลิตทางการเกษตรซ่ึงมีอยูในรูปวัตถุดิบมาผานขบวนการ ดา นวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยมี าใชใ นกรรมวธิ กี ารผลติ การแปรสภาพเพ่ือสามารถบริโภค มีอายุ ยนื ยาวข้นึ ตลอดทัง้ ความสะดวกสบายในรปู ผลติ ภัณฑก ง่ึ สําเร็จรูป 7. ผลกระทบตอชมุ ชนและสภาพแวดลอม ผลกระทบ หมายถงึ ผลที่ไดรบั หรอื เกิดจากการกระทําท่ีคาดวา จะกอ ใหเ กดิ ผลดีหรอื ผลเสยี ในระยะยาวอยา งไร โดยประโยชนท ลี่ งสูประชาชนนน้ั ประชาชนจะไดร บั ประโยชนอะไรบางจาก การดาํ เนนิ การของโครงการนที้ ีส่ ามารถแสดงผลประโยชนต อสังคม ระบบส่ิงแวดลอม นอกเหนือจากการเกษตรและอุตสาหกรรมที่คํานึงถึงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม ระบบสิ่งแวดลอมของชุมชนยังครอบคลุมถึงสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอวิถีชีวิต ระบบ สงิ่ แวดลอมจึงหมายรวมถงึ ดนิ นํา้ ปา อากาศ การจัดการทางกายภาพของชุมชน เชน ถนนหนทาง แหลง ศูนยก ลางชมุ ชน เปน ตน และสภาพแวดลอ มทางสงั คมท่เี อ้อื ตอการเจริญเติบโตของชีวติ ดวย
92 ปจจัยของผลกระทบสิง่ แวดลอมและขอบเขตของการพิจารณา 1. ผลกระทบสงิ่ แวดลอมทางกายภาพ 2. ผลกระทบสง่ิ แวดลอ มทางสงั คม 3. ผลกระทบสง่ิ แวดลอ มทางสนุ ทรียภาพ 4. ผลกระทบสงิ่ แวดลอมทางเศรษฐกจิ ลักษณะของผลกระทบสง่ิ แวดลอ มและขอสงั เกต 1. ลักษณะของผลกระทบส่ิงแวดลอม - เกิดขนึ้ บางที่ บางสว น - กระจายท่วั ไป 2. ขอสังเกตเกยี่ วกับผลกระทบส่ิงแวดลอม - อาจเกดิ ข้นึ โดยไมเรียงลาํ ดบั - สรางปญหาลูกโซไ ดเสมอ - แสดงผลใหเห็นไดท งั้ ระยะส้นั และระยะยาว - เปลยี่ นแปลงอยูเสมอ - สามารถวัดขนาดได 8. ความรู ความสามารถ ความรู ความสามารถ หมายถึง ทกั ษะทส่ี ําคัญหรอื ความจาํ เปนในการผลิต หรอื การปฏบิ ตั งิ าน ใหมปี ระสิทธภิ าพในความเปน ไปไดในการพัฒนาอาชีพ เรื่องท่ี 3 การกาํ หนดวิธกี ารพัฒนาอาชพี พรอ มเหตผุ ล 1. เทคนคิ วิธีการทาํ งานของอาชพี ท่ีเลอื กประกอบการ เปน เคลด็ วิชาในการประกอบอาชีพ แตละอาชีพใหป ระสบความสาํ เร็จ จงึ เปน ปจจยั สาํ คญั ที่ผูป ระกอบอาชีพจะตอ งเรียนรใู หเขา ใจอยา ง ถองแท 2. เทคนิควิธกี ารทาํ งาน ชว ยลดขั้นตอนการทํางานอาชีพบางอาชีพ ใหสําเร็จอยางรวดเร็ว ผปู ระกอบอาชีพจะนาํ เวลาทเี่ หลือ ไปดาํ เนินการในงานยอ ยอน่ื ๆ ใหมีประสิทธิภาพตอไป 3. เทคนคิ การทํางานชว ยใหการทํางานประหยัดขน้ึ เชน ใชวสั ดุบางอยา งทม่ี รี าคาถกู หางา ย ในทองถิ่น ทดแทนวัสดุที่มีราคาแพงหรือหายากมาใชในการผลิตแทน ผลผลิตที่ผลิตไดยังมี คุณภาพเหมอื นเดิม 4. เทคนิควธิ กี ารทาํ งานชวยใหผลติ ไดมากขน้ึ โดยการนาํ เครอื่ งมอื อุปกรณทดี่ ดั แปลงมาใช ในการเพม่ิ ปรมิ าณการผลติ ผูผลติ เสาะแสวงหาเทคโนโลยตี าง ๆ ทม่ี ีในทองถิ่นมาใชหรือดัดแปลง พฒั นาเทคโนโลยที ่ีมอี ยแู ลว ใหช ว ยเพ่ิมผลผลติ ใหมากข้ึน 5. เทคนคิ วธิ ีการทาํ งานชว ยใหง านอาชพี มีคณุ ภาพ มีมาตรฐานเปนสากลเปน ที่ยอมรับของตลาด
93 ประโยชนทไี่ ดรบั จากการกาํ หนดวิชาการพฒั นาอาชพี การจําแนกองคป ระกอบยอยของงานอาชีพท่ีเลอื กมปี ระโยชนทส่ี ําคัญ ๆ ดังตอ ไปนี้ คอื ชวยใหผ ปู ระกอบอาชีพไดเ ตรยี มความพรอ มดา นขอมูลอาชพี ทีต่ นเลือก เพราะผูประกอบอาชีพตองใช หลักวิชาในการเสาะแสวงหาขอ มูลสําคัญ ๆ ในงานอาชีพน้ัน ๆ และขอมูลดานอาชีพแตละอาชพี จะ เปลย่ี นแปลงอยูตลอดเวลา ตามระยะเวลา ตามกลไกแหงราคา ภาวะการณตลาด ฤดกู าล เปน ตน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121